หลักสตู รการปอ้ งกันการทจุ ริต ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน 2 หนว่ ยกติ ความนา ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 “สร้างสังคมทไ่ี ม่ทนตอ่ การทจุ รติ ” ไม่มุ่งเนน้ ให้ความสาคญั ในกระบวนการปรับสภาพสงั คมให้เกดิ ภาวะที่ “ไม่ทนต่อการทุจริต” เริ่มตั้งแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัย เพื่อสร้างวัฒนธรรม ต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต โดยยึดประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เป็นการดาเนินการผ่านสถาบันหรือกลุ่มตัวแทนท่ีทาหน้าท่ีในการกล่อมเกลาสังคม และได้กาหนดกลยุทธ์ในการ ดาเนินการ 4 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับฐานความคิดทุกช่วงวยั ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์สว่ น ตนและผลประโยชน์ส่วนรวม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพ่ือต้านทุจริต กลยุทธ์ท่ี 3 ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเคร่ืองมือต้านทุจริต และ กลยุทธ์ท่ี 4 เสริมพลังการมีส่วนร่วม ของชุมชน (Community) และบูรณาการทกุ ภาคส่วนเพื่อต่อตา้ นการทจุ รติ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีคาส่ังที่ 646/2560 ลงวันท่ี 26 เมษายน 2560 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ จัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ด้านการป้องกันการทุจริตซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญ จากหน่วยงานด้านการศึกษา เพื่อดาเนินการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต เพื่อใช้เป็นมาตรฐานกลางให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในด้านการจัดการศึกษา นาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน นักศึกษา ในทุกระดับชั้นเรียนเริ่มตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรสาหรับฝึกอบรมให้กับบุคลากร ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เช่น กลุ่มทหาร ตารวจ เป็นต้น เพ่ือให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาท้งั ระบบ รวมทัง้ บคุ ลากรภาครฐั และรฐั วสิ าหกจิ และภาคประชาชน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้จัดทาหลักสูตร “ต้านทุจริตศึกษา” (Anti – Corruption Education) และ นาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาสั่งการให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนาไปพิจารณาปรับใช้กับกลุ่มเป้าหมาย คณะรัฐมนตรีมีมติ ในการประชุมเม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม 2561 เห็นชอบหลักการเก่ียวกับหลักสูตร “ต้านทุจริตศึกษา” (Anti – Corruption Education) และให้หน่วยงานที่ต้องนาหลักสูตรไปดาเนินการรบั ความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการไป พิจารณาดาเนนิ การต่อไป ทัง้ นี้ จากการประชุมองคก์ รหลักของกระทรวงศึกษาธิการ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดม้ บี ัญชาใหท้ กุ หน่วยงานทางการศึกษานาหลักสตู ร “ตา้ นทุจริตศกึ ษา” ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมายของ แต่ละหน่วยงาน สานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานทางการมีหน้าท่ีให้ความรู้เพ่ือให้เกิดการพัฒนาจิตสานึก พัฒนาจิตใจให้ ผเู้ รียนเป็นไปในทิศทางท่ีดีต่อสงั คมและประเทศชาติ จึงได้ทาหลกั สูตร “การป้องกันการทุจริต” เพื่อให้สถานศึกษานาไป ปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือปลุกจิตสานึก และเสริมสร้างวัฒนธรรมป้องกันการทุจริตให้แก่ผู้เรียน และ ประชาชนทัว่ ไป อกี ท้ังเสริมสรา้ งความตระหนกั ใหก้ ับผเู้ รียนและประชาชนไดม้ องเห็นคุณค่าและยึดถือประโยชนส์ ่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน มีจิตพอเพียงป้องกันการทุจริต ละอายและเกรงกลัวที่จะไม่ทุจริตและไม่ทนต่อการทุจริตทุก รูปแบบ
จดุ หมายของหลักสตู ร หลกั สูตรน้ี เป็นหลักสูตรที่ม่งุ ปลูกฝงั ใหก้ ลุ่มเป้าหมายเกิดการพฒั นาจิตสานกึ พฒั นาจิตใจมีจติ พอเพยี ง ป้องกนั การทจุ ริต ละอายและเกรงกลัวที่จะไม่ทุจริตและไม่ทนตอ่ การทุจริตและยึดถือประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน ทั้งนี้เพอ่ื เป็นการสรา้ งพลเมืองดี มีความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ ให้แก่สงั คมและประเทศชาติ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือใหก้ ล่มุ เปา้ หมาย 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต 3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั STRONG/จิตพอเพียงตา้ นการทุจริต 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสงั คม 5. สามารถแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม 6. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ที่พลเมืองและมคี วามรับผิดชอบต่อสังคม 7. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นการป้องกันการทุจริต กลมุ่ เป้าหมาย ผู้เรยี น กศน. และประชาชนท่ัวไป ระยะเวลา จานวน 80 ช่ัวโมง โครงสรา้ งหลักสตู ร เน้ือหาของหลักสตู รครอบคลุมตามท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด ประกอบด้วย 4 เร่อื ง คอื 1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม จานวน 24 ชว่ั โมง 2. ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต จานวน 16 ชั่วโมง 3. STRONG/จติ พอเพียงตา้ นการทจุ รติ จานวน 20 ชว่ั โมง 4. พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสงั คม จานวน 20 ชั่วโมง การจดั กระบวนการเรียนรู้ การจดั กระบวนการเรยี นร้ดู ว้ ยวธิ กี ารบรรยาย การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การศึกษากรณีตัวอยา่ งการศึกษาจากคลปิ วดี ีโอและการฝึกปฏิบตั จิ รงิ สื่อการเรยี นรู้ 1. วดี ีโอ 2. ขา่ ว (วีดที ัศน)์ 3. สอื่ สงิ่ พิมพ์ 4. ใบความรู้ 5. ใบงาน
การวัด และการประเมนิ ผล 1. คะแนนระหว่างภาคเรียน : ปลายภาคเรยี น คือ 60 : 40 2. สถานศึกษาสามารถทาการวัด และประเมนิ ผลไดห้ ลากหลายวิธี เช่น การสงั เกต การทดสอบ การมสี ่วนรว่ มในการทากิจกรรม การตรวจผลงาน เป็นตน้ ทง้ั น้ี ต้องมีร่องรอยหลักฐานท่ตี รวจสอบได้ ………………………………….
คาอธบิ ายรายวิชา สค22022 การป้องกันการทุจริต จานวน 2 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชวี ติ ตามวิถีประชาธิปไตย กฎระเบียบของประเทศเพอ่ื นบ้าน 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพัฒนาชมุ ชน สงั คม สามารถวเิ คราะห์ขอ้ มูล และกาหนดแนวทางการ พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์ปจั จุบนั ศกึ ษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเร่ืองดงั ต่อไปนี้ 1. การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม 2. ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต 3. STRONG / จิตพอเพยี งตา้ นการทุจริต 4. พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 1. จัดใหม้ กี ารศึกษาจากส่อื การเรยี นรู้ 2. จดั ให้มีการศึกษารวบรวมข้อมลู โดยวิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น การศึกษาดูงาน การเก็บข้อมูล จัดกลมุ่ อภิปราย เสนอแนวคิด ทางเลือก 3. จดั กจิ กรรมการศกึ ษาจากสภาพจริง การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การอภปิ ราย การวิเคราะห์ สรุปผล การ เรียนรู้ และนาเสนอในรูปแบบท่หี ลากหลาย การวดั และประเมนิ ผล ประเมนิ จากการสังเกตพฤติกรรม การมีสว่ นร่วมในการทากิจกรรม การบันทึก และแบบทดสอบ
รายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวิชา สค22022 การปอ้ งกนั การทุจริต จานวน 2 หน่วยกิต ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ติ ตามวิถีประชาธิปไตย กฎระเบยี บของประเทศเพอ่ื นบ้าน 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจหลักการพัฒนาชุมชน สงั คม สามารถวิเคราะห์ขอ้ มลู และกาหนดแนวทางการ พัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม ใหส้ อดคล้องกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชีว้ ดั เนอ้ื หา จานวน (ชั่วโมง) 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ ง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ 24 ผลประโยชน์ส่วนตนกบั สว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์สว่ นรวม 1. การคดิ แยกแยะ 1. บอกความสาคญั ของการคิด - ความหมาย ความสาคญั ของการ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ คิดแยกแยะ ส่วนตนและผลประโยชน์ - ความหมายความสาคัญของ สว่ นรวม ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2.1 บอกความหมายความสาคญั 2. หลกั การคิดเป็น ของหลกั การคดิ เปน็ - ความหมาย ความสาคัญของ 2.2 นาหลกั การคิดเป็นมาใช้ หลกั การคดิ เป็น ในการป้องกนั การทุจริต 3.1 มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับ 3. ความแตกต่างระหวา่ งจริยธรรม ผลประโยชน์ส่วนตนและ และการทุจรติ ผลประโยชน์สว่ นรวม - ความหมายของการทุจริต 3.2 วเิ คราะห์การคดิ แยกแยะ - ประเภทของการทจุ รติ ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน - ความหมาย ความสาคญั กบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ของจริยธรรม - วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ ง จริยธรรมและการทจุ รติ 4. ตระหนกั และเหน็ ความสาคัญ 4. ความหมายของประโยชนส์ ว่ นตน ของการมีสว่ นรว่ มในการ และประโยชน์สว่ นรวม (ชุมชน ปอ้ งกันการทุจรติ สังคม) และการขัดกันระหวา่ ง ผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม (ชุมชน สังคม)
ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ช้ีวัด เน้ือหา จานวน (ช่วั โมง) 2 ความละอายและความ 5. ความหมายและรปู แบบของ ไม่ทนต่อการทุจรติ 16 ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (ชมุ ชน สงั คม) ความละอายและความไม่ทนต่อการ ทจุ รติ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจต่อการ 1.ความหมายความสาคัญและ การ ไมท่ นและละอายต่อการทจุ ริต ปฏิบัติตนในการทาการบ้าน / ในการทาการบ้าน / ชน้ิ งาน ชิ้นงาน การทาเวร / การทา การทาเวร / การทาความ ความสะอาด การสอบ สะอาดการสอบ การแต่งกาย การแตง่ กาย การเลือกต้งั การเลอื กตัง้ 2. อธบิ ายวธิ ีการปฏิบัติตนในการ 2. การรวมกลุ่มเพ่ือสร้างสรรค์ ทาการบ้าน / ชน้ิ งาน การทา ปอ้ งกันการทจุ ริต เวร / การทาความสะอาด การ 2.1 วิธีการรวมกลุม่ สอบการแตง่ กาย การเลือกตั้ง เพ่ือสรา้ งสรรคป์ ้องกนั 3. ปฏิบัตติ นเปน็ ผูไ้ ม่ทนและ การทุจริต ละอายต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ 2.2 ตวั อย่างการรวมกลุ่ม 4. มีจติ สานึกและตระหนักใน เพ่อื สร้างสรรค์และป้องกัน ความละอายและไม่ทนต่อ การทุจริต การทุจริต
ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวช้ีวดั เน้ือหา จานวน (ช่วั โมง) 3 STRONG / จติ พอเพยี ง STRONG / จิตพอเพียงต้านการ 20 ต้านการทุจรติ ทุจริต 20 1. เข้าใจ และบอกความหมาย 1. ความหมายและองค์ประกอบของ ของSTRONG (จิตพอเพยี ง STRONG ต้านการทุจรติ ) 2. การนาหลักการของจิตพอเพยี ง 2. อธิบายความหมายของความ ตา้ นการทจุ ริตมาใชใ้ นเรอื่ ง พอเพียงความโปร่งใส 2.1 ความพอเพียง ความต่ืนรู้ จิตพอเพยี งต้าน 2.2 ความโปร่งใส ทุจริต มงุ่ ไปขา้ งหน้า ความเอ้ือ 2.3 ความต่ืนรู้ อาทร 2.4 ความรู้ 3. วเิ คราะห์หลักการของจติ 2.5 จิตพอเพยี งต่อตา้ นทุจริต พอเพียงต้านทุจรติ 2.6 มงุ่ ไปข้างหนา้ 4. นาหลักการของจติ พอเพยี ง 2.7 ความเอื้ออาทร ตา้ นทุจริตไปใช้ในการดาเนิน ชีวติ 4 พลเมืองกับความ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม รับผดิ ชอบ ตอ่ สงั คม 1.1 เข้าใจและประพฤติตน 1. การเคารพสิทธหิ นา้ ทีต่ ่อตนเอง เก่ยี วกบั สทิ ธหิ นา้ ทีแ่ ละ และผู้อน่ื ท่ีมตี ่อประเทศชาติ เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ 1.1 ความหมายของสิทธิหน้าที่ ปัจจบุ ันของพลเมืองดี ต่อตนเองและผู้อื่นที่มตี ่อ 1.2 อธิบายบทบาทหน้าทีข่ อง ประเทศชาติ เยาวชนในการเปน็ พลเมืองดี 1.2 ความสาคญั ของการเคารพ 1.3 อธิบายความเป็นพลเมือง สิทธหิ นา้ ทต่ี ่อตนเองและผอู้ ่นื ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย 1.4 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตาม ระบอกประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็น ประมุข 1.5 ปฏบิ ตั หิ น้าทีท่ ีไ่ ด้รับ มอบหมายดว้ ยความซ่ือสตั ย์ สุจรติ
ท่ี หวั เร่อื ง ตัวช้ีวดั เนอ้ื หา จานวน (ช่ัวโมง) 2.1 เขา้ ใจเก่ียวกบั ระเบยี บ กฎ 2. ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย กบั กติกา กฎหมาย และปฏิบตั ิ การเปน็ พลเมืองทดี่ มี สี ว่ นรว่ มใน ตนเปน็ พลเมืองดมี ีส่วนรว่ ม การป้องกันและ ในการปอ้ งกันและ ปราบปรามการทจุ รติ ปราบปรามการทจุ รติ 2.1 ความหมายความสาคญั ของ 2.2 มีสว่ นร่วมในการปอ้ งกันและ ระเบียบ กฎ กติกา และ ปราบปรามการทุจริต กฎหมายกบั การเป็น คอรัปช่นั พลเมืองที่ดี 2.3 มีความรบั ผดิ ชอบในการ 2.2 กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับ ปฏิบัติหนา้ ท่ที ี่ได้รบั การเป็นพลเมืองท่ดี ี มอบหมายด้วยความซื่อสัตย์ มีสว่ นรว่ มในการป้องกนั และ สจุ รติ ปราบปรามการทจุ รติ 3.1 รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกับความ 3. ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและ รบั ผิดชอบเกี่ยวกับตนเอง ผอู้ น่ื และผ้อู ่ืน 3.1 ความหมายของคาวา่ 3.2 ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปน็ รับผดิ ชอบ แบบอย่างที่ดี ทั้งรับผิดชอบ 3.2 แนวทางการประยุกต์ ตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน ความรับผิดชอบมาใช้ 3.3 มีความรับผิดชอบในการ ในการดาเนนิ ชีวติ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ่ีได้รบั มอบหมายดว้ ยความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต 4.1 รู้ เข้าใจ บอกความหมายของ 4. ความเป็นพลเมือง ความเป็นพลเมือง 4.1 ความหมายของคาวา่ 4.2 ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามหลกั ความเปน็ พลเมือง ความเป็นพลเมืองในการ 4.2 แนวทางการประยุกต์ ดาเนินชีวิต ความเป็นพลเมืองมาใช้ในการ 4.3 มีความรับผิดชอบในการ ดาเนนิ ชีวิต ปฏบิ ตั ิหน้าที่ทไี่ ดร้ ับ มอบหมายด้วยความซื่อสตั ย์ สจุ ริต 5.1 รู้ เขา้ ใจ บอกความหมายของ 5. ความเป็นพลโลก
ท่ี หวั เรื่อง ตัวช้วี ดั เนอื้ หา จานวน (ชว่ั โมง) ความเป็นพลโลก 5.2 ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตามหลัก 5.1 ความหมายของคาว่า ความเปน็ พลโลกในการ ความเปน็ พลโลก ดาเนินชวี ิต 5.2 แนวทางการประยุกต์ความ 5.3 มคี วามรบั ผิดชอบในการ เป็นพลโลกมาใช้ในการดาเนนิ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทที่ ่ไี ด้รบั ชีวติ มอบหมายด้วยความซื่อสัตย์ สุจรติ
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: