Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Broadcast Media Announcing and performance

Broadcast Media Announcing and performance

Published by CCDKM, 2019-05-09 02:17:17

Description: Broadcast Media Announcing and performance
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

ผสู อน/ผเู ขียน คณะนเิ ทศศาสตร มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ 2561

เอกสารคาํ สอน การประกาศและการดาํ เนนิ รายการ Broadcast Media Announcing and Performance ผูเขยี น ผชู วยศาสตราจารย ดร. ณฐั นันท ศริ เิ จรญิ คณะนเิ ทศศาสตร มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ 18/18 ถนนบางนา-ตราด กม.18 ตาํ บลบางโฉลง อาํ เภอบางพลี จงั หวัดสมุทรปราการ 10540 พิมพครัง้ แรก 2554 จาํ นวน 35 เลม จํานวน 103 หนา พิมพค รง้ั ท่ีสอง 2558 จํานวน 35 เลม จํานวน 225 หนา พมิ พครง้ั ทส่ี าม 2561 จาํ นวน 40 เลม จํานวน 250 หนา ขอมูลบรรณานุกรม ณฐั นนั ท ศริ เิ จรญิ (2561) เอกสารคาํ สอน วิชาการประกาศและการดําเนินรายการ พมิ พค ร้ังที่ 3 นนทบรุ ี ศูนยว จิ ยั การจดั การความรกู ารส่อื สารและการพัฒนา มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช จัดพมิ พโ ดย ศนู ยว ิจยั การจดั การความรกู ารสอ่ื สารและการพัฒนา สถาบันวจิ ยั และพัฒนา มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช อาคารสมั มนา 1 ชั้น 4 ถ.แจง วฒั นะ ต.บางพูด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี 11120 โทรศพั ท : 0-2984-0025 โทรสาร : 0-2984-0026 Website : www.ccdkm.org e-mail : [email protected] เอกสารคําสอนเลม น้ี ไดร ับการตรวจสอบความถูกตองและเหมาะสมของเนอื้ หาจาก ศูนยว จิ ยั การจัดการความรูการส่ือสารและการพฒั นา มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช สงวนลขิ สิทธติ์ ามพระราชบญั ญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 หา มลอกเลียนไมวา สวนใดสว นหน่ึงของเอกสารคําสอนเลมนไี้ มวารปู แบบใดๆ เวน แตจะไดรบั อนญุ าตเปนลายลักษณอกั ษรเทา นั้น ก

คาํ นาํ (พมิ พครัง้ ท่ี 3) เน่ืองจากมีการปรับหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2559) ตามรอบปกติ ของคณะนิเทศศาสตร มฉก. จึงไดม ีการปรบั เปลย่ี นหมายเลขรหัสวชิ านี้ คอื วิชา การประกาศและการ ดําเนินรายการ จากหมายเลขรหัสวิชา RT4133 เปนหมายเลขรหัสวิชา CA3413 สวนช่ือวิชาและ เน้ือหาสาระคงเดิมทุกประการ โดยเริ่มตนใชหมายเลขรหัสวิชาใหม ในภาคการศึกษาท่ี 1 ป การศกึ ษา 2561 เปน ตน มา ดังน้ันผูเขียน จึงไดจัดพิมพเอกสารคําสอนเลมนี้อีกคร้ัง เพื่อใหหมายเลขรหัสวิชาตรงตาม ภารกิจการปรับหลักสูตรในรอบ 5 ป ซึ่งพิจารณาเนื้อหาท้ังหมดแลว ยังคงครอบคลุมและทันตอ สถานการณท นั ตอ ยุคสมยั สาํ หรบั ใชเ ปนแนวทางในการจัดเรยี นการสอน เพ่ือเตรียมความพรอมใหกับ นักศึกษา กอนเรียนจบออกไปประกอบวิชาชีพทางดานนี้ อันประกอบดวยความรูภาคทฤษฎีและ แนวทางฝก ฝนภาคปฏิบัตไิ ปพรอ มๆ กนั ผเู ขียนขอขอบพระคณุ ผใู หการสนับสนุนการเขียนเอกสารคําสอนเลม น้ี ไดแก รองศาสตราจารย ดร. อุไรพรรณ เจนวณิชยานนท อธิการบดี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ผูชวยศาสตราจารยรัตนา ทิมเมือง คณบดีคณะนิเทศศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร. วุฒิพงษ ทองกอน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาวิชาการและทีมงานทุกคน เพื่อนๆ คณาจารยทุกทานและทีม เลขานุการจากคณะนเิ ทศศาสตร มหาวทิ ยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ท่ีไดใหกําลังใจใหโอกาสให คําแนะนําตางๆ เสมอมา รวมท้ังขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน ผูอํานวยการศูนยวิจัยการจัดการความรูการสื่อสารและการพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ไดกรณุ าใหความอนุเคราะหสาํ หรับการตรวจสอบความถูกตอง และเหมาะสมของเน้ือหา พรอ มท้ังการจัดพิมพเพื่อนํามาใชประโยชนสําหรับการเรียนการสอนใหกับ นักศึกษาและผูที่สนใจใฝรูสาระท่ีเกี่ยวของกับเอกสารคําสอนเลมน้ี ไดนําไปประยุกตใชป ระโยชนได อยางเปน รปู ธรรม หมายเหต:ุ เอกสารคาํ สอนเลมนี้ ไดร ับการประเมินคุณภาพอยูเกณฑในระดบั ดี ตามเอกสารบันทึก ขอความจากสํานกั พัฒนาวิชาการ เลขท่ี 0203(4)/208 ลงวนั ท่ี 15 กันยายน 2559 ท้ังน้คี ณะนิเทศ ศาสตร ไดมีการปรับปรุงหลกั สูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2559 และไดมีการเปล่ียนรหัสวิชา จาก RT4133 มาเปน CA3413 แตเนื้อหาคงเดิม ซ่ึงขาพเจาไดจัดพิมพใหมเพื่อเปล่ียน “รหัสวิชา” ใหตรง กบั หมายเลขรหัสวชิ าจากการปรบั หลกั สตู รฯ คร้ังลา สุดเปน ท่ีเรยี บรอ ยแลว ณฐั นันท ศิรเิ จรญิ กรกฎาคม 2561 ข



คาํ นาํ (พมิ พครงั้ ที่ 2) ผูเขียนไดรับมอบหมายใหเปนผูสอนวิชา “การประกาศและการดําเนินรายการ” มาตั้งแต ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2553 จนถงึ ปจจุบนั จึงทําใหเ ห็นถึงเนือ้ หาวชิ าทสี่ ามารถปรับเปล่ียน รายละเอียดใหเขากับสถานการณปจจุบันของการประกาศและการดําเนินรายการของสื่อมวลชนที่ เปลีย่ นแปลงไป โดยคําสาํ คญั สําหรับรายวิชานี้ ประกอบดว ย Broadcast คอื การกระจายเสียง การกระจายขาว การเผยแพร การออกขาว การถายทอด การสงสญั ญาณ การสง ผา น การสงตอ เปนตน Media คือ สื่อ อปุ กรณ วิธกี าร เครื่องมอื เครอ่ื งอเิ ลก็ ทรอนิกส เปนตน Announcing คือ การประกาศ การแจง การแถลง การแสดง การทําใหรู การทําหนาท่ีเปน โฆษก การโฆษณา ซึ่งหมายรวมถึง การพูด การบอก การรายงาน การสงสาร สภาพทางอารมณ ลักษณะ อาการ สถานการณ สาธยาย สาธก การแสดงถึง การแสดงใหเห็น การกลาว เร่ืองที่ เปด เผย เปนตน Performance คือ การกระทํา การปฏิบัติ การดําเนินการ พฤติการณ พฤติกรรม สมรรถภาพ สมรรถนะ ซ่ึงหมายรวมถึง การฝกฝนปฏิบัติ การจัดการ การผลิตผลงาน การนําเสนอ ผลงาน การละเลน ทําใหป รากฏ เปด เผย เปนตน จากคาํ สําคัญของรายวชิ าและประมวลการสอนท้ังหมด ผูเขียนจึงปรบั ปรงุ เพ่ิมเติมเน้ือหาโดย พัฒนาใหมีความสมบูรณมากขึ้นกวาของเดิมที่เปนเอกสารประกอบการสอน เพื่อสะทอนใหเห็น เน้ือหาวิชาที่สอนและวิธีการสอนอยางเปนระบบครบสมบูรณ ประกอบดวยแผนการสอน หัวขอ บรรยาย ตัวอยางหรอื กรณศี กึ ษาทีใ่ ชป ระกอบการสอน แบบทดสอบ แบบฝกหดั ภาคปฏิบตั ิ เปนตน ผเู ขียนไดน าํ ความรูและทักษะจากประสบการณในการทํางานจริงทางดานการเปนผูประกาศ และผูดําเนินรายการทางส่ือวิทยุและโทรทัศน รวมทั้งการเปนโฆษก พิธีกรบนเวทีกิจกรรมตางๆ มา ตั้งแต ป 2531 จนถึงปจจุบันมารวบรวมถายทอดดวยการเขียนแบง ออกเปนแตละบทเอาไวเพื่อใช สาํ หรบั การสอนใหครบถว นรอบดาน โดยวางโครงสรา งและรายละเอียดเนอ้ื หาในการจัดการเรียนการ สอนใหส อดคลอ งเหมาะสมตอเน่อื งกันไปในแตล ะสัปดาห เพอ่ื ใหผูเรียนไดทั้งความรูในเชิงทฤษฎีและ ไดฝ กฝนทักษะภาคปฏิบัตคิ วบคูกนั ไป เอกสารคําสอนเลมนจี้ ึงรวบรวมเรียบเรียงและแตงข้ึนมาเพื่อใช เปนเครื่องมือสําคัญเพื่อใหนักศึกษาสามารถนําไปเรียนรูไดดวยตนเองหรือใชศึกษาเพิ่มเติมจากการ เรียนในช้นั เรยี นไดอ ยา งเตม็ ประสิทธิภาพและเขาใจไดอ ยางลึกซึ้งมากขึ้น สามารถนาํ ไปใชเ ปนพ้ืนฐาน สําคัญในการประกอบอาชีพเปนผูป ระกาศและผูดําเนนิ รายการทางสือ่ ตางๆ ไดอ ยา งมน่ั ใจ ผูเขียนใชเทคนิควิธีการสอนดวยการต้ังประเด็นที่เก่ียวของกับการทําหนาที่ผูประกาศและผู ดําเนินรายการซึ่งกําลังเกิดขึ้นในขณะนั้นๆ ชักชวนพูดคุยและกระตุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนความ คดิ เห็นซ่งึ กันและกนั กบั ผูเขียนและกบั เพื่อนนกั ศกึ ษาในหองเรยี น เพ่อื ใหเห็นถึงความสัมพันธระหวา ง ง

ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่สอดคลองเปนไปในแนวทางเดยี วกันสําหรับการทําหนาทเี่ ปนผูประกาศ และผูดําเนินรายการ อันจะทําใหผูเรยี นมีความความรูเขาใจท่ีชัดเจนและรแู จงแทงตลอดมากย่ิงข้ึน รวมท้ังการใชแบบทดสอบและแบบฝกหัดในการฝกปฏิบัติจากบทประกาศและบทผูดําเนินรายการ เพอื่ ใหเ กิดประโยชนในการฝก ฝนทกั ษะภาคปฏิบตั ิท่ีเสมือนจริงมากท่ีสดุ ผเู ขียนตองขอขอบพระคณุ แหลงขอ มลู ทุกแขนงและแรงบันดาลใจจากครอู าจารยน กั วชิ าชีพที่ เกี่ยวของในสาขาวิชาน้ี จึงทําใหเอกสารคําสอนเลมน้ีมีคุณคาและมีความสมบูรณมากยิ่งข้ึน ขอขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิ รองศาสตราจารย ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน ผูอํานวยการและ รองศาสตราจารย ดร.ปยฉัตร ลอ มชวการ รองผูอาํ นวยการจากศูนยวิจัยการจัดการความรกู ารสอ่ื สาร และการพฒั นา มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช ซ่ึงเปนผูเชี่ยวชาญในสาขานิเทศศาสตรท่ีไดใหความ กรุณาตอ ผเู ขียนในการตรวจสอบและใหคาํ ชีแ้ นะดา นการรวบรวมเนื้อหาสาระเพอ่ื เขียนเปนเอกสารคํา สอน ขอขอบพระคุณ นายไชยวัฒน รัตนประสิทธ์ิ ผูอํานวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศ ไทยเพ่ือการศึกษา (สวศ.) กรมประชาสัมพันธ ในฐานะเปนผูเช่ียวชาญดานสาขาอาชีพเพราะไดทํา หนาท่ีเปนผูประกาศและผูดําเนินรายการทางส่ือวิทยุและโทรทัศนมาเปนระยะเวลาหลายสิบป ทุก ทา นไดกรณุ าชวยตรวจสอบเนือ้ หาสาระของเอกสารคาํ สอนเลม นี้เพื่อใหมีความถูกตอง เหมาะสมตาม หลักวิชาการและหลกั การปฏบิ ตั ิทางวิชาชพี ใหไ ดม ากทีส่ ุด พรอมกันน้ีผูเขียนขอขอบพระคุณผูใหการสนับสนุนการเขียนเอกสารคําสอนเลมน้ี ไดแก รองศาสตราจารย ดร. ประจักษ พุมวิเศษ อธิการบดี ผูชวยศาสตราจารย ดร. อุไรพรรณ เจนวณิชยานนท รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ รองศาสตราจารยปยกุล เลาวัณยศิริ คณบดี ผูชวยศาสตราจารยรัตนา ทิมเมือง รองคณบดี คณะนิเทศศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร. วุฒิพงษ ทองกอน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาวิชาการ และทีมงานทุกคน รวมท้ังเพือ่ นๆ คณาจารยทุกทา นของคณะนเิ ทศศาสตร มหาวทิ ยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ ทีไ่ ดให กําลังใจใหโอกาสใหคําแนะนําตางๆ รวมทั้งคําปรึกษาและกําลังใจจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร. วรลกั ษณ วงศโ ดยหวัง ศิรเิ จริญ และบุตร หลาน นายชัชวาลย นายณภัทร เด็กหญิงเขมิกา เด็กหญิง จีรนันท และเด็กหญิงนัฐชานันท ศิริเจริญ รวมท้งั ญาติกาผูปรารถนาดีตอกันทุกคน ที่คอยเปนแรง หนุนใจใหผูเขียนอยูเสมอ ประโยชนทุกประการท่ีเกิดจากเอกสารคําสอนเลมน้ี ผูเขียนขอมอบบูชา พระคุณแดคุณแมทิพวรรณ คุณพอทวี ศิริเจริญ บิดามารดาและครูอาจารยทุกทาน ทายนี้ผูเขียน ขอขอบพระคุณ “พระเจา” สาํ หรบั พระพรที่มใี หผ เู ขยี นเสมอมา ณฐั นันท ศิริเจริญ ธันวาคม 2558 จ





รายละเอียดของรายวชิ า คณะ นเิ ทศศาสตร สาขาวิชา นเิ ทศศาสตร ภาคการศกึ ษาที่………. ปการศกึ ษา……….. มหาวิทยาลัยหัวเฉยี วเฉลิมพระเกียรติ หมวดท่ี 1 ขอมูลทัว่ ไป 1. รหสั และช่ือรายวชิ า CA3413 การประกาศและการดาํ เนินรายการ 2. จาํ นวนหนวยกติ 3(2/2-1/2-0) 3. หลักสตู ร และประเภทรายวชิ า นิเทศศาสตร /รายวชิ าพื้นฐาน 4. ระดบั การศกึ ษา / ชน้ั ปท ่เี รียน ปรญิ ญาตรี ชน้ั ปท่ี 3 5. รายวชิ าทต่ี อ งเรียนมากอน (Pre-requisite) (ไมม)ี 6. รายวิชาท่ีตอ งเรยี นพรอมกนั (Co-requisites) (ไมม )ี 7. ชอ่ื อาจารยผูร ับผดิ ชอบรายวิชา ผูช วยศาสตราจารย ดร.ณัฐนนั ท ศิริเจรญิ หมวดท่ี 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค จดุ มงุ หมายรายวชิ า -เพอ่ื ใหนักศึกษามีความรู ความเขา ใจถึงความหมายของการประกาศและการดําเนินรายการ อยางลกึ ซึ้งถูกตอ ง รวมทง้ั คณุ สมบัติในการเปนผปู ระกาศและผูด าํ เนินรายการทางส่อื ตางๆ โดยเฉพาะ สอื่ วิทยแุ ละส่ือโทรทัศน -เพือ่ ใหน ักศกึ ษามคี วามรู ความเขา ใจถึงหลกั การฝก ปฏิบตั ิในการอานหนังสือที่ถกู ตอ งตาม อักขรวิธี การพูด การออกเสียงและการใชนํ้าเสียงที่เหมาะสมกับเน้ือหาสาระในการประกาศตางๆ เชน ขา วหรือขอมลู อืน่ ๆ ที่จะนาํ เสนอตอ สาธารณชน -เพ่ือใหนกั ศกึ ษามีความรู ความเขา ใจถึงการฝกฝนภาคปฏบิ ตั ิ ฝกทักษะและเทคนคิ ในการ เปนผูประกาศ การเปนผูดาํ เนินรายการทางสื่อวิทยุและส่ือโทรทัศน รวมทงั้ การทําหนาท่ีบนเวทีงาน กิจกรรมตา งๆ เชน งานเสวนาวิชาการ งานประชมุ งานแถลงขา ว เปนตน -เพ่ือใหนักศึกษามีความรู ความเขาใจถึงฝกปฏิบัติในการใชไมโครโฟนท่ีถูกตองและมี ประสิทธภิ าพ -เพ่ือใหนักศกึ ษามีความรู ความเขาใจถึงหลกั การแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ การมคี ุณธรรม และจริยธรรมสําหรับการประกอบอาชพี เปน ผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการ ซ

วัตถุประสงคใ นการพฒั นา/ปรบั ปรุงรายวิชา เพอ่ื ใหน ักศกึ ษามคี วามรคู วามเขา ใจในหลักการสําคัญของวิชานแ้ี ละนําไปประยุกตใชไดอยาง เปนรปู ธรรม โดยเกิดการเรียนรูภาคทฤษฎีควบคูไปพรอมกับภาคปฏบิ ัติอยางสอดรับกัน เพราะจะทํา ใหนักศึกษาสามารถนําไปประยุกตใชเปนประโยชนในวิชาอื่นๆ ในสาขานิเทศศาสตรได รวมทั้งการ นําไปใชจริงเมื่อตองทําหนาท่ีเปนผูประกาศและผูดําเนินรายการ รวมท้ังผูอานขาว/ผูรายงานขาว ด.ี เจ./พธิ ีกรหรอื โฆษก หมวดท่ี 3 สวนประกอบของรายวิชา 1. คาํ อธิบายรายวิชา แนวคิด หลักการ วิธีการใชภ าษาและการออกเสียงใหถูกตองตามอักขรวิธี การอานรอยแกว การอา นรอยกรอง การอานบทความ การอานสารคดี การอานขาว วิธีนําเสนอขอมูลขาวสาร การอาน และการพูดออกเสยี ง การใชน้ําเสียง เทคนิคการใชไมโครโฟน การทําหนาที่เปนผูประกาศและผู ดําเนินรายการทางส่ือวทิ ยแุ ละส่อื โทรทัศน ฝก ปฏบิ ัตกิ ารประกาศและดาํ เนินรายการ 2. จํานวนชว่ั โมงทีใ่ ชในการเรียนการสอน/ภาคการศึกษา จํานวน 3 ช่ัวโมงตอสัปดาห/45 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษา (จํานวน 1 กลมุ เทากับ 45 ชั่วโมงตอ ภาคการศึกษา) 3. จาํ นวนชวั่ โมงตอสัปดาหท อ่ี าจารยใ หค าํ ปรกึ ษาและแนะนาํ ทางวิชาการเปน รายบคุ คล จํานวนอยา งนอย 8 ชั่วโมงตอสัปดาห ในวันและเวลาที่ไมตรงกับภาระงานสอน ทั้งในชวง เวลาทําการและนอกเวลาทําการ โดยแจงนักศกึ ษาทางกลุม Line / messages-facebook / email และโทรศัพทม อื ถือ สถานท่ตี ดิ ตอ หอ งพัก คณะนิเทศศาสตร ชั้น 3 อาคารอาํ นวยการ โทรศพั ทท ่ที าํ งาน 02- 3126300 ตอ 1498 โทรศพั ทมอื ถอื 097 – 0812130 Email : [email protected] หมวดท่ี 4 การพฒั นาการเรยี นรูของนักศกึ ษา 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม (1) คุณธรรม จริยธรรมท่ตี องพัฒนา 1.1 มีจติ สาํ นึกและตระหนักในการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวชิ าชพี 1.2 มีคณุ ธรรม 6 ประการ ไดแก ขยนั อดทน ประหยัด เมตตา ซื่อสตั ย กตัญูและดําเนนิ ชวี ิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 1.3 มวี นิ ัยและความรับผิดชอบ เสยี สละ และเปนแบบอยางที่ดีตอสงั คม ฌ

(2) วธิ กี ารสอน สอดแทรกสาระและสรางความตระหนักในทุกๆ ดาน ตามชวงเวลาที่เหมาะสมในชั้นเรียน ไดแก 2.1 บรรยาย 2.2 อภิปราย 2.3 ตวั อยา งประกอบเนอ้ื หาจากวีดิทศั น, Power point 2.4 เหตุการณจ าํ ลอง 2.5 บทบาทสมมติ (3) วิธกี ารประเมินผล จะดาํ เนินการสําหรบั ประเดน็ ตางๆ ในชวงเวลาที่เหมาะสม ไดแก 3.1 สอบถามแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น 3.2 ทดสอบภาคปฏิบัตดิ านทกั ษะในช้นั เรียนทงั้ เฉพาะบุคคลและกลมุ 3.3 ทาํ รายงานเฉพาะบคุ คลและรายงานกลุม 3.4 สอบกลางภาค/สอบปลายภาค 2. ความรู (1) ความรูท่ีตอ งไดรบั 2.1 มีความรูห ลกั การทฤษฎีในหลกั สูตรสาขาวิชาท่เี รียน 2.2 มีความรใู นสาขาวิชาที่เกยี่ วของกบั หลักสูตรสาขาทเี่ รียน (2) วิธีการสอน สอดแทรกสาระและสรางความตระหนักในทุกๆ ดาน ตามชวงเวลาที่เหมาะสมในชั้นเรียน ไดแ ก 2.1 บรรยาย 2.2 อภปิ ราย 2.3 ตวั อยางประกอบเน้ือหาจากวดี ิทศั น, Power point 2.4 เหตกุ ารณจ าํ ลอง 2.5 บทบาทสมมติ (3) วธิ ีการประเมินผล จะดําเนินการสําหรับประเดน็ ตา งๆ ในชวงเวลาที่เหมาะสม ไดแก 3.1 สอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3.2 ทดสอบภาคปฏิบัติดานทกั ษะในชัน้ เรียนท้งั เฉพาะบคุ คลและกลุม 3.3 ทํารายงานเฉพาะบคุ คลและรายงานกลุม ญ

3.4 สอบกลางภาค/สอบปลายภาค 3. ทักษะทางปญ ญา (1) ทกั ษะทางปญ ญาที่ตองพฒั นา 3.3 สามารถใชทักษะและความเขาใจในเนื้อหาทางวิชาการและวิชาชพี ในการปฏิบัติงานประจํา และหาแนวทางใหมในการแกปญ หาไดอ ยา งเหมาะสม (2) วธิ กี ารสอน สอดแทรกสาระและสรางความตระหนักในทุกๆ ดาน ตามชวงเวลาท่ีเหมาะสมในช้ันเรียน ไดแ ก 2.1 บรรยาย 2.2 อภปิ ราย 2.3 ตัวอยา งประกอบเน้ือหาจากวีดิทศั น, Power point 2.4 เหตุการณจ าํ ลอง 2.5 บทบาทสมมติ (3) วธิ กี ารประเมินผล จะดําเนินการสาํ หรบั ประเด็นตา งๆ ในชว งเวลาทีเ่ หมาะสม ไดแ ก 3.1 สอบถามแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ 3.2 ทดสอบภาคปฏบิ ัติดานทกั ษะในชน้ั เรยี นทั้งเฉพาะบุคคลและกลุม 3.3 ทํารายงานเฉพาะบุคคลและรายงานกลุม 3.4 สอบกลางภาค/สอบปลายภาค 4. ทักษะความสมั พันธร ะหวางบคุ คลและความรับผดิ ชอบ (1) ทกั ษะที่ตอ งพฒั นา 4.1 สามารถชว ยเหลือและแกป ญหากลมุ ไดอยา งสรางสรรค ท้ังในฐานะผูนาํ และผูตาม 4.2 สามารถปรบั ตัวเขาทาํ งานรวมกบั ผูอ่ืนท้ังในฐานะผูนําและสมาชิกกลุม 4.3 มคี วามริเริ่มสรางสรรค ในการวเิ คราะหแกไขปญหาบนพน้ื ฐานของตนเองและของกลุม (2) วิธกี ารสอน สอดแทรกสาระและสรางความตระหนักในทุกๆ ดาน ตามชวงเวลาที่เหมาะสมในชั้นเรียน ไดแก 2.1 บรรยาย 2.2 อภิปราย 2.3 ตวั อยางประกอบเนอ้ื หาจากวดี ทิ ศั น, Power point 2.4 เหตกุ ารณจ ําลอง ฎ

2.5 บทบาทสมมติ (3) วิธีการประเมนิ ผล จะดําเนินการสาํ หรับประเดน็ ตางๆ ในชวงเวลาทีเ่ หมาะสม ไดแ ก 3.1 สอบถามแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ 3.2 ทดสอบภาคปฏิบตั ิดา นทกั ษะในชน้ั เรยี นทง้ั เฉพาะบุคคลและกลุม 3.3 ทาํ รายงานเฉพาะบุคคลและรายงานกลมุ 3.4 สอบกลางภาค/สอบปลายภาค 5. ทกั ษะการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลข การสือ่ สารและการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ทักษะท่ีตองพัฒนา 5.2 สามารถสรุปประเดน็ และส่อื สาร ท้ังการพูดและการเขียนและเลือกใชร ูปแบบการนําเสนอ ไดถ ูกตองเหมาะสม 5.3 สามารถระบเุ ขาถึงและคดั เลอื กแหลง ขอมลู 5.4 สามารถใชภ าษาไทยอยางถูกตองและภาษาอังกฤษไดอยางเหมาะสม (2) วธิ ีการสอน สอดแทรกสาระและสรางความตระหนักในทุกๆ ดาน ตามชวงเวลาที่เหมาะสมในชั้นเรียน ไดแก 2.1 บรรยาย 2.2 อภปิ ราย 2.3 ตวั อยา งประกอบเนือ้ หาจากวดี ิทศั น, Power point 2.4 เหตุการณจ ําลอง 2.5 บทบาทสมมติ (3) วธิ กี ารประเมินผล จะดําเนนิ การสาํ หรับประเดน็ ตางๆ ในชวงเวลาทเี่ หมาะสม ไดแ ก 3.1 สอบถามแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ 3.2 ทดสอบเปนระยะๆ ในช้นั เรยี น 3.3 ทํารายงานเฉพาะบคุ คลและรายงานกลุม 3.4 สอบกลางภาค/สอบปลายภาค ฏ

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห หัวขอ /รายละเอียด จํานวนช่วั โมง กจิ กรรมการเรยี น ชื่อผสู อน ที่ (บรรยาย/ การสอน ผศ. ดร. ปฐมนเิ ทศ ณัฐนนั ท 1 -แนะนํารายวชิ า ปฏบิ ตั /ิ ฝก งาน) และสื่อทใ่ี ช (ถา ม)ี ศิรเิ จรญิ -หวั ใจของการเรียนวชิ าน้ี 3(2/2-1/2-0) กจิ กรรม 2 -กระบวนการเรียนการสอน 1. แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ผศ. ดร. -การประเมนิ ผลคะแนน 3(2/2-1/2-0) รายบุคคลและกลุม ณฐั นันท 3 -ความหมายของคําวา การประกาศ 2. กิจกรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบคุ คล ศิรเิ จรญิ -การฝก 10 ประเด็นเพ่ือเปน 3(2/2-1/2-0) สื่อทใี่ ช ผูป ระกาศทีม่ คี ณุ ภาพ 1. เอกสารคําสอน ผศ. ดร. -เคลด็ ลับการฝกเปนผูประกาศ 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย ณฐั นนั ท -ความหมายของคาํ วา การดําเนินรายการ ศิริเจริญ -การฝก 10 ประเดน็ กจิ กรรม เปนผดู ําเนนิ รายการที่มีคณุ ภาพ 1. แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น -เคล็ดลับการฝก เปนผดู าํ เนินรายการ รายบุคคลและกลุม -ความหมายของคาํ วา โฆษก 2. กิจกรรมกลมุ / -ความหมายของคําวาพธิ กี ร ฝกทักษะรายบคุ คล -หลักการใช “ต-ป-ศ-ก” สอ่ื ทใี่ ช ในการเปนโฆษก พธิ กี ร 1. เอกสารคําสอน -คณุ ลกั ษณะของโฆษก/พิธีกร 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย -ขอควรปฏบิ ัตแิ ละขอ ควรระวงั ในการทาํ หนา ทโ่ี ฆษก พิธกี ร กจิ กรรม -การใชภาษาเพ่อื การประกาศ 1. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการดําเนินรายการ รายบุคคลและกลมุ -การใชภาษาเปนเคร่อื งมือชวย 2. กจิ กรรมกลมุ / ในกระบวนการสื่อสาร ฝก ทักษะรายบคุ คล -เครอ่ื งมือชว ยในกระบวนการส่อื สารอยาง ส่อื ท่ีใช แรก คือ“วัจนภาษา” 1. เอกสารคําสอน อยางท่ีสอง คอื อวจั นภาษา 2.Power Point /VDO/ภาพถาย -การเตรยี มตัวของผปู ระกาศและ ผดู ําเนินรายการในการใชภ าษา ฐ

สปั ดาหท่ี หัวขอ/รายละเอยี ด จาํ นวนช่วั โมง กิจกรรมการเรียน ชื่อผสู อน (บรรยาย/ การสอน ผศ. ดร. 4 -การใชภาษาใหถูกตอ งเพื่อการประกาศ ณฐั นันท และการดาํ เนินรายการ ปฏบิ ตั /ิ ฝกงาน) และสือ่ ที่ใช (ถา ม)ี ศริ เิ จรญิ -ขอ ควรรูสาํ หรับการใชภ าษาใหถกู ตอง 3(2/2-1/2-0) กิจกรรม -การใชค าํ และสาํ นวนในการส่ือสารให 1. แลกเปลยี่ นความคิดเห็น ผศ. ดร. ถกู ตอง 3(2/2-1/2-0) รายบคุ คลและกลุม ณฐั นนั ท -การใชประโยคในการสือ่ สารใหถกู ตอ ง 2. กิจกรรมกลมุ /ฝก ทักษะรายบคุ คล ศริ ิเจรญิ 3(2/2-1/2-0) ส่อื ทใี่ ช -เทคนคิ การใชภาษา 1. เอกสารคาํ สอน ผศ. ดร. -การใชภาษาสละสลวย 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย ณัฐนนั ท ศิรเิ จรญิ 5 -การอานสาํ หรับผปู ระกาศ กจิ กรรม และผดู าํ เนนิ รายการ 1. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น -ความรูเรื่องการอา นที่ถกู ตอง รายบคุ คลและกลุม -กระบวนการอาน 4 ขั้นตอน 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝก ทกั ษะรายบคุ คล -การตั้งจดุ มุง หมายของการอาน สอื่ ทใ่ี ช -รปู แบบตางๆ ของวิธีการอา น 1. เอกสารคาํ สอน -เทคนคิ วธิ กี ารอา นแบบ “สามเอส (3S)” 2.Power Point /VDO /ภาพถาย -อตั ราความเร็วในการอา น -วธิ ีการอา นใหเ ร็วข้ึน กิจกรรม -การอานออกเสียงคาํ ใหถ ูกตอ ง 1. แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น รายบคุ คลและกลุม 6 -วธิ กี ารอา นรอ ยแกวสาํ หรับผูประกาศ 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝก ทกั ษะรายบคุ คล และผดู าํ เนนิ รายการ สอื่ ท่ีใช -ความหมายของรอยแกว 1. เอกสารคําสอน -ขอ พึงปฏบิ ตั ิในการอานรอยแกว 2.Power Point /VDO/ภาพถาย -อานรอยแกวอยางไรใหนา ฟง -การคาํ นึงถึงองคป ระกอบในการอานออก เสยี งรอ ยแกว -จุดมุง หมายของการฝก ฝนการอานออก เสียงรอ ยแกว -เทคนคิ ตา งๆ ในการฝกฝนทกั ษะการอาน ออกเสยี งรอ ยแกว -การใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนในการฝก อา นออกเสียงขอความรอ ยแกว ฑ

สปั ดาหที่ หวั ขอ/รายละเอยี ด จาํ นวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน ช่ือผสู อน 7 (บรรยาย/ การสอน ผศ. ดร. -วิธีการอานรอ ยกรองสําหรบั ผปู ระกาศ ณัฐนนั ท 8 และผดู ําเนินรายการ ปฏิบัต/ิ ฝกงาน) และสือ่ ทใ่ี ช (ถา ม)ี ศริ ิเจริญ -ความหมายของรอ ยกรอง 3(2/2-1/2-0) กจิ กรรม 9 -หลักเกณฑในการอานออกเสยี งรอ ยกรอง 1. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผศ. ดร. 10 -การเตรยี มการและขอควรปฏบิ ตั ใิ นการ 3(2/2-1/2-0) รายบุคคลและกลมุ ณฐั นนั ท อานบทรอยกรอง 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝก ทกั ษะรายบุคคล ศิรเิ จรญิ -เทคนคิ ในการอานออกเสยี งรอยกรอง 3 สื่อที่ใช -ปจ จยั ตางๆ เกีย่ วกับการอา นออกเสียง 3(2/2-1/2-0) 1. เอกสารคําสอน ผศ. ดร. รอ ยกรอง 2.Power Point /VDO/ภาพถาย ณัฐนนั ท -วิธกี ารอานทํานองเสนาะจากคาํ ประพนั ธ ศิริเจริญ -วิธกี ารอา นบทความสาํ หรับผปู ระกาศ กจิ กรรม และผดู าํ เนนิ รายการ 1. แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ -ความหมายของบทความ รายบุคคลและกลมุ -ประเภทของบทความ 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบุคคล -วิธกี ารอานบทความ สื่อทใ่ี ช -เทคนิคสําหรบั ฝก ฝนการอานบทความ 1. เอกสารคําสอน 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย สอบกลางภาค -วิธกี ารอา นสารคดสี าํ หรับผปู ระกาศและผู กจิ กรรม ดําเนนิ รายการ 1. แลกเปล่ียนความคดิ เห็น -ความหมายของสารคดี รายบุคคลและกลมุ -จุดมงุ หมายของเนอื้ หาสาระจากสารคดี 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบุคคล -ลกั ษณะของสารคดี สอ่ื ที่ใช -ประเภทของสารคดี 1. เอกสารคําสอน -องคป ระกอบของสารคดี 2.Power Point /VDO/ภาพถาย -การทําความเขาใจกอ นอานออกเสยี ง สารคดี -หลักการอานออกเสยี งสารคดี ฒ

สัปดาห หวั ขอ /รายละเอียด จํานวนชัว่ โมง กิจกรรมการเรยี น ที่ (บรรยาย/ การสอน ช่ือผสู อน ปฏิบตั /ิ ฝก งาน) และสื่อที่ใช (ถา ม)ี 11 -วิธกี ารอา นขาวสาํ หรับผูประกาศ 3(2/2-1/2-0) กจิ กรรม ผศ. ดร. และผดู าํ เนนิ รายการ -ความหมายของขาว 1. แลกเปล่ียนความคิดเห็น ณฐั นันท -การพจิ ารณาคุณคา ของขา วกอ นนาํ ไป อา นเผยแพร รายบคุ คลและกลมุ ศิริเจริญ -การปฏบิ ัตติ นในการอา นขาว -วธิ ีการอา นขาวอยางมีประสิทธภิ าพ 2. กิจกรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบคุ คล 12 -วิธีการอานออกเสยี งภาษาไทยใหถ กู ตอง สือ่ ท่ใี ช ตามอักขรวธิ ี -หลกั การอา นออกเสยี ง 1. เอกสารคําสอน -วิธกี ารอา นออกเสียงพยญั ชนะ คําควบกลํ้า ร ล ว เสยี งวรรณยุกต 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย คําพอ งรปู ตัวการนั ต การออกเสยี งพยางคห นกั พยางคเ บาการ 3(2/2-1/2-0) กิจกรรม ผศ. ดร. เวน วรรคตอน -ลักษณะภาษาไทย 1. แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น ณฐั นันท -การอานออกเสยี งทด่ี ี -ขอ ควรระวงั ในการออกเสียงภาษาไทย รายบคุ คลและกลุม ศิริเจรญิ -หลกั การอานคําในภาษาไทยสาํ หรับ ผู ประกาศและผูดําเนนิ รายการ 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝก ทักษะรายบคุ คล 13 -หลักการพดู เพื่อผูประกาศและผดู าํ เนนิ ส่ือทีใ่ ช รายการ -ปจจัยพ้ืนฐานสาํ คญั ของการพดู 1. เอกสารคาํ สอน -ประเภทของการพดู -รปู แบบของการพดู 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย -หลกั การพูด -วิธกี ารพูดสําหรบั ผปู ระกา 3(2/2-1/2-0) กจิ กรรม ผศ. ดร. และผดู ําเนินรายการ -การเตรยี มความพรอ มเมื่อเกดิ อาการ 1. แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ณฐั นันท ตนื่ เวที รายบคุ คลและกลมุ ศริ ิเจริญ 2. กิจกรรมกลมุ /ฝก ทกั ษะรายบคุ คล สื่อทใ่ี ช 1. เอกสารคาํ สอน 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย ณ

สัปดาห หวั ขอ/รายละเอียด จาํ นวนช่ัวโมง กจิ กรรมการเรยี น ชื่อผสู อน ที่ (บรรยาย/ การสอน ผศ. ดร. -วิธกี ารนาํ เสนอขอ มลู ขาวสาร ณัฐนนั ท 14 ในส่อื วทิ ยแุ ละส่อื โทรทศั น ปฏบิ ัต/ิ ฝก งาน) และสื่อท่ใี ช (ถา ม)ี ศริ ิเจรญิ -ขัน้ ตอนเพอื่ นาํ เสนอขอมูลขา วสาร 3(2/2-1/2-0) กจิ กรรม 15 -ขอควรปฏบิ ัติในการนําเสนอขอมลู 1. แลกเปลย่ี นความคิดเห็น ผศ. ดร. -ศลิ ปะการนําเสนอขอ มลู ขาวสารดว ยการ 3(2/2-1/2-0) รายบคุ คลและกลุม ณัฐนันท 16 อานและการพดู 2. กิจกรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบุคคล ศริ เิ จรญิ -วธิ กี ารสมั ภาษณ การจับประเด็นและการ 3(2/2-1/2-0) สือ่ ทใ่ี ช 17 สรุปปด ทา ย 1. เอกสารคําสอน ผศ. ดร. -วิธกี ารใชไมโครโฟนสําหรับผปู ระกาศ 3 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย ณฐั นันท และผดู าํ เนินรายการ ศริ เิ จริญ -การทําหนาท่ีผูประกาศและ กจิ กรรม ผูดาํ เนนิ รายการกับการใชไมโครโฟน 1. แลกเปล่ียนความคิดเหน็ -ชนิดของไมโครโฟน รายบคุ คลและกลุม -ขอควรระวังในการใชไ มโครโฟน 2. กจิ กรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบคุ คล ประเภทตางๆ สื่อทใ่ี ช -เทคนิควธิ กี ารใชไ มโครโฟน 1. เอกสารคําสอน -องคประกอบของกระบวนการส่ือสาร 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย สําหรับผูป ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการ -วัตถปุ ระสงคข องกระบวนการสือ่ สาร กจิ กรรม - ปจจัยสําคัญท่ีสงผลตอความสาํ เร็จของ 1. แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ การส่ือสาร รายบคุ คลและกลุม -แนวคิดและทฤษฎีที่สัมพันธกับ 2. กิจกรรมกลมุ /ฝกทกั ษะรายบุคคล ความสําเร็จของการส่ือสาร สอื่ ทีใ่ ช -อุปสรรคในกระบวนการสือ่ สาร 1. เอกสารคาํ สอน -คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสําหรบั การทํา 2.Power Point /VDO/ภาพถา ย หนา ทีผ่ ูประกาศและผดู าํ เนนิ รายการ -ความสาํ คญั ของคุณธรรมและจรยิ ธรรม -หลักคณุ ธรรมและหลักจรยิ ธรรม -ขอควรประพฤตปิ ฏบิ ัติสาํ หรบั ผปู ระกาศ และผดู ําเนนิ รายการ ทบทวนสรุปเนื้อหาทงั้ หมดทศี่ ึกษามา สอบปลายภาค ด

2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู ผลการเรยี นรู* กจิ กรรมการประเมนิ กาํ หนดการประเมิน รอยละของคา ผลการเรยี นรู น้าํ หนกั ในการ 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การทาํ รายงานและฝก สปั ดาหท ่ีกําหนดให ประเมนิ ผลการ 1.1 มจี ติ สํานึกและตระหนกั ในการปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณ ปฏบิ ัตเิ ฉพาะบคุ คล นําเสนอ เรยี นรู วิชาชีพ รอยละ 15 1.2 มีคณุ ธรรม 6 ประการ ไดแ ก ขยัน อดทน ประหยัด รอ ยละ 30 เมตตา ซ่ือสตั ย กตัญูและดําเนนิ ชวี ิตตามแนว รอ ยละ 30 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง รอ ยละ 15 1.3 มีวินยั และความรับผิดชอบ เสยี สละ และเปนแบบอยา ง ทด่ี ตี อสังคม 2. ความรู การทํารายงานและฝก สปั ดาหที่กาํ หนดให 2.1 มีความรหู ลกั การทฤษฎีในหลกั สูตรสาขาวชิ าทเ่ี รียน ปฏิบตั ิเฉพาะบุคคล นําเสนอ 2.2 มคี วามรูในสาขาวชิ าท่ีเกย่ี วขอ งกับหลกั สตู รสาขา รวมท้ังสอบกลางภาค ทเี่ รียน และสอบปลายภาค 3. ทกั ษะทางปญญา การใหโจทยปจ จบุ ันใน สัปดาหที่กาํ หนดให 3.3 สามารถใชท กั ษะและความเขา ใจในเนอื้ หาทางวิชาการ หอ งเรยี นเพื่อสรางการมี นําเสนอ และวชิ าชพี ในการปฏบิ ตั งิ านประจาํ และหาแนวทาง สวนรวม รวมทงั้ สอบ ใหมใ นการแกปญ หาไดอ ยา งเหมาะสม กลางภาคและสอบปลาย ภาค 4. ทักษะความสัมพันธระหวา งบคุ คลและความ การทํารายงานและฝก สัปดาหท่กี ําหนดให รับผิดชอบ ปฏบิ ัติเปน กลุม รวมทัง้ นําเสนอ 4.1 สามารถชว ยเหลอื และแกปญหากลุมไดอ ยางสรางสรรค จติ อาสา ทัง้ ในฐานะผูน ําและผตู าม 4.2 สามารถปรบั ตัวเขา ทํางานรว มกบั ผอู ่นื ทั้งในฐานะผูนาํ และสมาชิกกลมุ 4.3 มีความรเิ ริม่ สรางสรรค ในการวเิ คราะหแกไ ขปญหา บนพื้นฐานของตนเองและของกลมุ ต

ผลการเรยี นรู* กิจกรรมการประเมนิ กําหนดการประเมิน รอยละของคา ผลการเรียนรู น้ําหนกั ในการ 5. ทกั ษะการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลข การส่ือสารและการใช การมสี ว นรวมในช้ันเรยี น สัปดาหท ีก่ าํ หนดให ประเมินผลการ เรยี นรู รอ ยละ 10 เทคโนโลยสี ารสนเทศ และทดสอบยอยเฉพาะ นําเสนอ 5.2 สามารถสรปุ ประเด็น และสอื่ สาร ทง้ั การพดู และการ บุคคลในช้ันเรยี น เขียนและเลือกใชร ปู แบบการนาํ เสนอไดถ กู ตอ ง เหมาะสม 5.3 สามารถระบุเขา ถึงและคดั เลอื กแหลงขอ มูล 5.5 สามารถใชภ าษาไทยอยา งถูกตองและภาษาอังกฤษได อยา งเหมาะสม หมวดท่ี 6 ทรัพยากรประกอบการเรียน 1. ตําราและเอกสารหลกั ที่ใชในการเรียนการสอน ณฐั นนั ท ศิรเิ จริญ (2561) เอกสารคาํ สอน วิชาการประกาศและการดาํ เนนิ รายการ พมิ พค รงั้ ที่ 3 นนทบุรี ศูนยวิจัยการจดั การความรูการสือ่ สารและการพัฒนา มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช 2. เอกสารอา นประกอบ/สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส/แหลง อางองิ อน่ื ๆ ทน่ี ักศกึ ษาควรอานเพ่ิมเติม มาลี บญุ ศิรพิ นั ธ (2550) วารสารศาสตรเบื้องตน ปรัชญาและแนวคิด กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช สาขาวิชานเิ ทศศาสตร (2545) เอกสารการสอนชุดวิชาความรู เบอื้ งตนเก่ยี วกบั วิทยุและโทรทศั น หนว ยที่ 1-8 นนทบรุ ี : โรงพมิ พมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวชิ านิเทศศาสตร (2546) เอกสารการสอนชุดวชิ าความรู เบ้ืองตนเกี่ยวกบั วิทยุและโทรทศั น หนวยท่ี 9-15 นนทบุรี : โรงพมิ พมหาวิทยาลัยสโุ ขทัย ธรรมาธริ าช เวบ็ ไซด : http://vpt3radio.exteen.com/20110415/entry-3 เว็บไซด : http://human.tru.ac.th/elearning/thai_for_com/lesson1/content21.html ถ

3. เอกสารและขอ มูลแนะนาํ นักศึกษาออกไปชมบรรยากาศการบนั ทึกเทปรายการตางๆ โดยมีผปู ระกาศหรือผูดําเนิน รายการทําหนาทอ่ี ยดู วยทางสถานีโทรทัศนและรายการทางวิทยกุ ระจายเสียง ท่ตี นเองสนใจและ เกยี่ วของ เพ่อื นํามาเปน แนวทางในการฝก ปฏบิ ัติอยางถูกตองและเหมาะสมกับความถนัดของตนเอง ตอไป หมวดที่ 7 การประเมนิ รายวิชาและกระบวนการปรบั ปรุง 1) กลยทุ ธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศกึ ษา จากการประเมนิ ผลการสอนโดยนกั ศึกษาตามแบบประเมินทท่ี างมหาวิทยาลยั กาํ หนด ผา นชอ งทางอนิ เทอรเนต็ 2) กลยุทธก ารประเมินการสอน สรุปผลโดยพิจารณาจากเกรดระดับผลการเรียนของนักศึกษาท้ังชั้นเรียน และประเมินจาก คุณภาพของผลผลิตชนิ้ งานท่นี ักศึกษาผลิตไดในชว งภาคการศึกษาทีม่ พี ฒั นาการขึ้นมากนอ ยเพยี งใด 3) วิธกี ารปรับปรงุ การสอน การประชุม หารือและวิเคราะห สังเคราะห แลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือสรุปประเมินปรับปรุงโดย คณาจารยภายในคณะนิเทศศาสตร และคณะกรรมการวิชาการและคณะกรรมการสาขาที่เก่ียวของ เปน ตน 4) การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิรายวชิ าของนักศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู ใชวิธีการทางสถิติโดยพิจารณาจากสัดสวนเปอรเซ็นตของเกรดผลคะแนนจากนักศึกษาท้ังช้ัน เรียน วิเคราะหทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูของรายวิชา โดยตองใหสัดสวนของผลการศึกษาของนักศึกษาทั้งหมดอยูในระดับที่มีความถูกตองเหมาะสมตาม ความเปนจรงิ หรือใกลเคยี งความจรงิ แทท ส่ี ดุ 5) การดาํ เนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรงุ ประสทิ ธิผลของรายวิชา นําขอมลู จากขอ 1 – 4 มาสรปุ และวิเคราะหเพ่ือวางแผนดําเนินการปรบั ปรงุ พัฒนาการจัดการ เรียนการสอน ตามขนั้ ตอนตางๆ ดังนี้ คอื เก็บขอ มูลจากการเรยี น การสอน การสั่งรายงานและผลการ สอบ ระดับการพฒั นาในภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัตทิ ่ตี องมีแนวโนม พัฒนาท่ีดขี ึ้น นําขอเสนอแนะและ ความคิดเห็นของนักศึกษาจากแบบประเมินการสอนมาพิจารณาเพื่อปรับปรุงเนื้อหาสาระในเอกสาร ประกอบการสอนตอไปในอนาคต ดวยการวจิ ัยหรือเขียนเน้ือหาที่ยังขาดอยูใหครบถวนสมบูรณและ ทันสมัยเขา กบั สถานการณป จ จุบัน ท

คํานาํ (พิมพค รั้งท่ี 3) หนา รายละเอียดของรายวิชา ข สารบัญ ซ บทที่ 1 ความหมายของการประกาศและการดาํ เนินรายการ ธ 1 1.1 ความหมายของคําวาประกาศ 1 1.2 การฝก 10 ประเดน็ เพ่ือเปนผูประกาศที่มคี ณุ ภาพ 6 1.3 ความหมายของคําวา การดําเนนิ รายการ 11 1.4 การฝก 10 ประเด็นเปน ผดู ําเนนิ รายการทม่ี ีคุณภาพ 12 บทท่ี 2 การใชว ัจนภาษาและอวจั นภาษาในการส่อื สาร 28 2.1 การใชภ าษาเปน เครอื่ งมือชว ยใหก ระบวนการสื่อสาร 28 2.2 การใชวจั นภาษาในการสื่อสาร 30 2.3 การใชอ วัจนภาษาในการสอื่ สาร 32 2.4 การเตรยี มตวั ของผปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการในการใชภ าษา 34 บทท่ี 3 การใชภ าษาใหถูกตอ งเพอ่ื การประกาศและการดาํ เนนิ รายการ 41 3.1 ขอ ควรรสู าํ หรบั การใชภ าษาใหถกู ตอง 41 3.2 การใชคําและสํานวนในการสือ่ สารใหถ กู ตอง 42 3.3 การใชประโยคในการสื่อสารใหถกู ตอง 44 3.4 เทคนิคการใชภ าษา 50 บทที่ 4 การอานสําหรับผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการ 55 4.1 ความรเู ร่อื งการอานที่ถูกตอง 55 4.2 การตัง้ จุดมุงหมายของการอา น 56 4.3 เทคนคิ วธิ ีการอานแบบ “สามเอส (3S)” 58 4.4 การอานออกเสียงคาํ ใหถ กู ตอ ง 67 บทท่ี 5 วธิ ีการอา นออกเสียงภาษาไทยใหถูกตอ งตามอักขรวธิ ี 70 5.1 หลักการอานออกเสยี ง 70 5.2 วิธีการอานออกเสยี งพยญั ชนะ คาํ ควบกลา้ํ ร ล ว 72 เสยี งวรรณยุกต คําพอ งรปู ตัวการนั ต 75 การออกเสียงพยางคหนัก พยางคเบา การเวนวรรคตอน 78 5.3 การอานออกเสียงทด่ี ี 5.4 หลกั การอานคาํ ในภาษาไทยสําหรบั ผปู ระกาศและผูดาํ เนินรายการ ธ

สารบญั (ตอ ) หนา บทที่ 6 วธิ ีการอา นรอยแกวสาํ หรบั ผูป ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการ 82 6.1 ความหมายของรอยแกว 82 6.2 อา นรอยแกวอยางไรใหนาฟง 84 6.3 จุดมงุ หมายของการฝก ฝนการอา นออกเสียงรอยแกว 86 6.4 เทคนิคตา งๆ ในการฝกฝนทักษะการอา นออกเสียงรอ ยแกว 87 บทที่ 7 วิธกี ารอา นรอ ยกรองสาํ หรบั ผูประกาศและผดู ําเนนิ รายการ 95 95 7.1 ความหมายของรอยกรอง 97 7.2 หลกั เกณฑในการอานออกเสียงรอ ยกรอง 98 7.3 เทคนคิ ในการอา นออกเสยี งรอยกรอง 104 7.4 วธิ ีการอา นทาํ นองเสนาะจากคาํ ประพันธ 108 บทที่ 8 วิธกี ารอานบทความสําหรบั ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการ 108 8.1 ความหมายของบทความ 108 8.2 ประเภทของบทความ 110 8.3 วธิ ีการอา นบทความ 111 8.4 เทคนคิ สาํ หรบั ฝก ฝนการอานบทความ 118 บทที่ 9 วิธกี ารอา นสารคดสี ําหรบั ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการ 118 9.1 ความหมายของสารคดี 120 9.2 ลักษณะของสารคดี 121 9.3 องคป ระกอบของสารคดี 122 9.4 หลกั การอา นออกเสียงสารคดี 128 บทท่ี 10 วธิ ีการอา นขา วสําหรบั ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการ 128 10.1 ความหมายของขา ว 130 10.2 การพิจารณาคุณคาของขา วกอ นนําไปอานเผยแพร 132 10.3 การปฏบิ ัตติ นในการอานขาว 134 10.4 วธิ ีการอา นขา วอยา งมปี ระสิทธิภาพ น

สารบัญ (ตอ ) หนา 140 บทที่ 11 หลกั การพูดเพ่อื การประกาศและการดาํ เนินรายการ 140 11.1 ปจ จัยพนื้ ฐานสําคัญของการพดู 143 11.2 ประเภทของการพดู 144 11.3 หลักการพดู 155 11.4 วธิ ีการพูดสําหรับผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการ 160 160 บทท่ี 12 วธิ กี ารนาํ เสนอขอ มูลขา วสารในสือ่ วิทยแุ ละสอ่ื โทรทศั น 163 12.1 ข้ันตอนเพ่ือนําเสนอขอ มูลขา วสารในสอ่ื วิทยแุ ละส่อื โทรทัศน 167 12.2 ขอ ควรปฏบิ ตั ิในการนาํ เสนอขอมลู ขา วสารผา นสอื่ วทิ ยุและส่อื โทรทัศน 173 12.3 ศิลปะการนําเสนอขอมูลขาวสารของผูประกาศและผดู าํ เนินรายการ 177 12.4 วธิ กี ารสัมภาษณ การจับประเด็นและการสรุปปดทาย 177 178 บทที่ 13 วิธีการใชไมโครโฟนสําหรับผูป ระกาศและผดู าํ เนินรายการ 180 13.1 การทาํ หนา ทผ่ี ปู ระกาศและผูด าํ เนินรายการกับการใชไ มโครโฟน 185 13.2 ชนดิ ของไมโครโฟน 189 13.3 ขอควรระวงั ในการใชไมโครโฟนประเภทตา งๆ 189 13.4 เทคนคิ วธิ กี ารใชไมโครโฟน 191 193 บทท่ี 14 องคป ระกอบของกระบวนการสอื่ สารสาํ หรบั ผปู ระกาศและผูดําเนนิ รายการ……. 196 14.1 องคประกอบของกระบวนการส่ือสารโดยท่ัวไป 201 14.2 วตั ถุประสงคข องกระบวนการสือ่ สารโดยทวั่ ไป 201 14.3 ปจจัยสําคัญท่ีสงผลตอความสําเร็จของการส่ือสาร 14.4 แนวคิดและทฤษฎีที่สัมพันธกับความสําเร็จของการสื่อสาร 204 205 บทที่ 15 คณุ ธรรมและจริยธรรมสําหรบั การทําหนา ทผ่ี ปู ระกาศและผูดาํ เนินรายการ 208 15.1 ความสาํ คญั ของคณุ ธรรมและจริยธรรม สาํ หรบั การเปนผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการ 216 15.2 หลักคุณธรรม 224 15.3 หลกั จรยิ ธรรม 231 15.4 ขอ ควรปฏิบตั ิสาํ หรบั ผปู ระกาศและผูดาํ เนินรายการอยางมคี ณุ ธรรม 247 และจริยธรรม บรรณานุกรม ดัชนี ภาคผนวก ประวตั ิผเู ขียน/ผูสอน บ

สารบญั ตาราง หนา ตารางที่ 1.1 แสดงรายละเอยี ดหลกั การใช “ต-ป-ศ-ก”. 18 ตารางท่ี 1.2 แสดง แบบทดสอบเพ่ือฝก ทกั ษะการอา นออกเสียง ร เรือ 26 ตารางท่ี 1.3 แสดง แบบทดสอบเพื่อฝกทักษะการอานออกเสยี ง ล ลงิ 26 ตารางท่ี 2.1 แสดงลกั ษณะสาํ คัญของภาษา 29 ตารางที่ 3.1 แสดงศักดข์ิ องคาํ ในภาษาไทย 42 ตารางท่ี 3.2 แสดงความหมายนยั ตรงและความหมายนัยประหวัด 42 ตารางที่ 3.3 แสดงความหมายเทียบเคยี งกับคาํ อื่นและความหมายกวางความหมายแคบ 43 ตารางท่ี 3.4 แสดงความหมายเทียบเคยี งกบั คําอื่นและความหมายรวมกันหรอื ใกลเคยี งกนั 43 ตารางท่ี 3.5 แสดงความหมายตรงขามกัน 43 ตารางที่ 3.6 แสดงความหมายเหมอื นกัน 44 ตารางที่ 4.1 แสดงเทคนิควิธกี ารอา นแบบ “สามเอส (3S)” 58 ตารางท่ี 4.2 แสดงอตั ราความเรว็ ในการอา น 59 ตารางท่ี 4.3 แสดงการอา นอกั ษรนําโดยพยญั ชนะตน ตวั แรกเปน อักษรสูง 67 ตารางท่ี 4.4 แสดงการอา นอักษรนําโดยพยัญชนะตน ตัวแรกเปนอกั ษรต่ํา 67 ตารางท่ี 6.1 แสดงการกําหนดภารกจิ ตัวผปู ระเมิน 90 ตารางที่ 6.2 แสดงรายละเอยี ดหัวขอ การประเมนิ คุณภาพของการอานออกเสยี งรอยแกว 90 ตารางที่ 6.3 แสดงเกณฑก ารใหคะแนน 90 ตารางท่ี 6.4 แสดงเกณฑการตัดสนิ คุณภาพ 91 ตารางที่ 6.5 แสดงสรุปผลการประเมินคณุ ภาพของการอา นออกเสียงรอ ยแกว 91 ตารางท่ี 11.1 แสดงหลักการออกเสยี งคําบางคําออกเสยี งแบบอักษรนํา 149 ตารางที่ 11.2 แสดงตวั อยา งบางคาํ ไมใช คําสมาส แตพ ดู ออกเสยี งตอเนอ่ื งแบบคาํ สมาส 149 ตารางท่ี 11.3 แสดงตัวอยางคาํ บางคาํ ไมน ิยมพูดออกเสยี งใหมเี สียงตอ เนื่อง 149 ตารางท่ี 11.4 แสดงตัวอยางการพูดออกเสียงใหถกู ตองตามความนยิ ม 150 ตารางท่ี 11.5 แสดงตวั อยา งการพูดออกเสียงคําควบกลํ้า ร, ล, ว 150 หรือเปน อักษรนําใหชัดเจนถูกตอ ง 150 ตารางที่ 11.6 แสดงตัวอยา งการพดู ออกเสียงแบบควบแทท้ังหมด 150 ตารางท่ี 11.7 แสดงตวั อยา งการพูดคําบางคาํ เปน คําเรียงพยางคก นั ไมพ ูดออกเสียงแบบควบกลํ้า ป

สารบัญภาพ หนา ภาพท่ี 1.1 แสดงความเกี่ยวขอ งหรือสมั พันธกัน (overlap) ของชอื่ เรียกผูประกาศ 3 กบั ชอื่ เรยี กอ่นื ๆท่ีแตกตา งกนั แตม ภี าระหนาทค่ี ลา ยกนั และ/หรอื เหมอื นกัน 5 10 ภาพท่ี 1.2 แสดงการทาํ หนาทเ่ี ปน ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการของผูเขียนในงานแถลงขา ว 10 ความรว มมอื ของเครอื ขายมหาวทิ ยาลยั ทเ่ี ปด ทําการเรยี นการสอนนิเทศศาสตร 12 ภาพท่ี 1.3 บตั รผานการทดสอบเปน เจา หนา ที่ผปู ระกาศ จากกรมประชาสมั พันธ พ.ศ. 2531 16 ภาพท่ี 1.4 บัตรแสดงการไดร ับประกาศนยี บตั รการจดั รายการวทิ ยุ จากกรมประชาสมั พันธ 23 พ.ศ. 2534 24 ภาพท่ี 1.5 แสดงการทําหนาทีเ่ ปน ผูดาํ เนินรายการของผเู ขยี นในงาน HCU Fair 2015 25 181 โดยตอ งเชญิ ชวนผูดผู ฟู ง ใหสนใจกจิ กรรมบนเวทีและสัมภาษณแขกรับเชิญ 182 บนเวทสี ดดวย 182 ภาพท่ี 1.6 แสดงการทําหนาที่เปน โฆษก/พิธกี รของผเู ขียนในงานคนื สเู หยา 184 คูกับโฆษก/พธิ กี รหญิงอกี 1 คน โดยตอ งทําหนา ทใ่ี หข อมลู รายละเอยี ด 185 ของกจิ กรรมตางๆ ที่จะเกดิ ข้ึนบนเวที รวมทัง้ เชญิ ชวนผูด ผู ูชมใหเ กดิ ความรสู ึก 190 เพลดิ เพลินและไดประโยชนจ ากขอมูลที่นําเสนอ 241 ภาพท่ี 1.7 แสดงใหเหน็ ถงึ บรรยากาศการทําหนา ทีค่ วามเก่ยี วขอ งหรอื สมั พันธกัน 242 ของผปู ระกาศ/ผูดาํ เนนิ รายการรวมทง้ั การเปนโฆษก/พิธีกร 243 ภาพที่ 1.8 แสดงใหเ หน็ ถงึ บรรยากาศการทําหนา ท่ีความเกี่ยวของหรอื สัมพนั ธก ัน 244 ของผูประกาศ/ผดู าํ เนนิ รายการรวมท้ังการเปนโฆษก/พิธกี ร 245 ภาพท่ี 1.9 แสดงใหเ หน็ ถงึ บรรยากาศการทาํ หนาที่ความเกยี่ วขอ งหรือสมั พันธกัน 246 ของผูประกาศ/ผดู ําเนินรายการรวมทัง้ การเปนโฆษก/พิธกี ร ภาพที่ 13.1 แสดงการใชไ มโครโฟนแบบมือถือหลายตวั ภาพท่ี 13.2 แสดงการใชไมโครโฟนแบบยนื พดู ภาพที่ 13.3 แสดงการใชไมโครโฟนแบบตั้งโตะ ภาพท่ี 13.4 แสดงการใชไ มโครโฟนแบบไรส าย ภาพท่ี 13.5 แสดงการยืนทาํ หนาท่ปี ระกาศและดาํ เนนิ รายการหลังโพเดยี ม แสตน. ภาพท่ี 14.1 องคประกอบของกระบวนการสื่อสาร หรือ S-M-C-R ภาคผนวก ภาพบรรยากาศการเรียนการสอน (1) ภาพบรรยากาศการเรียนการสอน (2) ภาพบรรยากาศการเรยี นการสอน (3) ภาพบรรยากาศการทําหนา ท่กี จิ กรรมตางๆ ที่แตกตางกัน (4) ภาพบรรยากาศการทาํ หนาที่หลากหลาย (5) ภาพบรรยากาศการจัดโครงการเสริมหลกั สตู ร (6) ผ

จดุ ประสงคข องการเรยี นรูในบทนี้ 1. นกั ศกึ ษาไดเรยี นรแู ละเขา ใจถึงความหมายของการประกาศและการดาํ เนนิ รายการ 2. นักศกึ ษาไดทราบและเขาใจถึงความหมายและภาระหนา ท่ขี องผปู ระกาศและผดู าํ เนิน รายการ 3. นกั ศึกษาไดเ รียนรูและเขา ใจถึงความเกย่ี วของสมั พนั ธก นั ระหวา งผูป ระกาศ ผูดําเนนิ รายการ โฆษกและพิธีกรทงั้ ในดา นภาระหนาทแี่ ละวิธีการฝกฝนภาคปฏิบัติ 4. นักศึกษาไดทราบเคลด็ ลับและวิธีการฝกทักษะเพื่อเปน ผูประกาศและผดู ําเนินรายการ ทีม่ คี ุณภาพ โดยสามารถนําไปประยกุ ตใชไดจ รงิ ในการประกอบอาชีพ 1.1 ความหมายของคําวา “ประกาศ” ความหมายของคําวา “ประกาศ” จาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน (2558) คือ ปาวรอ ง แจงใหทราบ เชน ประกาศงานบญุ งานกุศล หรือขอความ ท่ีแจงใหทราบท่ัวกนั เชน ประกาศของวดั ประกาศของบริษทั หรือขอความท่ีทางราชการแจงให ประชาชนทราบหรือวางแนวทางใหปฏิบัติ เชน ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศกระทรวง ประกาศ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนตน ความหมายของคําวา “ประกาศ” จากพจนานุกรมเลมอ่ืนๆ เชน พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร (2558) ประกาศ คอื แจง ความ บอก ปา วรอง ความหมายจากพจนานุกรมแปล ไทย-อังกฤษ NECTEC's Lexitron Dictionary (2558) ประกาศ คอื แจงปาวรอ ง แจงใหทราบ ประชาสัมพันธ เผยแพร บอกกลาว พูด แถลง ตัวอยาง 1

ประโยค อาทิ รฐั บาลปด ประกาศใหป ระชาชนไปเสียภาษี ประกาศจึงเปนขอความที่แจงใหท ราบ ทว่ั กัน สว นคาํ วา “ผูประกาศ” นนั้ คํานไี้ มมีในพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน แตผูคนมักใช เรียกผทู าํ หนา ที่อานขาวของสถานวี ทิ ยุหรอื โทรทัศน เชน เขาไปสมคั รงานในตําแหนงผปู ระกาศขาว ชายหรือบางครัง้ กเ็ รียกส้ันๆ วา “ผูประกาศ” ซ่งึ ก็หมายถงึ “ผปู ระกาศขาว” นัน่ เอง ดังนั้นเมื่อพิจารณาความหมายจากรากศัพทของคําวา “ประกาศ” ทําใหสามารถ เช่ือมโยงความหมายไปถงึ คําวา “ผูประกาศ” หรือ Announcer จากการศึกษาตามรายวิชาน้ีได วา หมายถึง “ผทู ําหนา ทใ่ี นการนาํ เสนอขอ มลู ขาวสารไปยงั ประชาชนหรอื สาธารณชนไดทราบขา วใน เรื่องเดียวกันอยางแพรหลาย โดยมีวัตถุประสงคท่ีแตกตางกันออกไป ไดแก เพื่อแจงใหทราบ เพือ่ ใหผูเก่ียวของปฏิบัติ เพ่อื เตือนภัย เพื่อชี้แจงความเปนจริง เพ่ือรณรงคกิจกรรมใดกิจกรรม หน่ึงทม่ี ปี ระโยชนต อ สงั คม เพอื่ โนม นา วจิตใจประชาชน เปน ตน ทัง้ นกี้ ารประกาศโดยผูประกาศน้ัน จะอาศัยชองทางการสื่อสารทีเ่ ปน ส่ือสาธารณะชนิดใด ชนิดหนึ่ง ซึ่งในเอกสารคําสอนฉบับนี้จะมุงเนนเฉพาะไปท่ีส่ือวิทยุและสื่อโทรทัศนเปนหลัก รวมท้ังการทาํ หนาท่ีบนเวทกี จิ กรรมตางๆ เชน เวทงี านสัมมนาวิชาการ การจัดประชุม การแถลง ขาว เปนตน ผูประกาศหรือผูทําหนาที่อานหรือพูดทางวิทยุและโทรทัศนน้ัน จึงถือเปนผูท่ีมี บทบาทสําคญั ในฐานะผูเ สนอรายการใหเ ปนที่นาสนใจและจดจําของผูช มผฟู ง เปนจาํ นวนมาก” คารล และคณะ (Carl Hausman, Lewis B. O'Donnell, Philip Benoit., 2000) จาก มหาวิทยาลัยลุยสวิลลเ คนตั๊กกี้ (The University of Louisville in Kentucky) ไดเขียนตําราสําหรับ สอนนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีดานสาขาการสื่อสาร โดยครอบคลุมเน้ือหาเกี่ยวกับการเปนผูประกาศ ในสถานีและในสนามหรือพื้นท่ีบริเวณแหลงขาวที่จัดกิจกรรม รวมถึงเนื้อหาเก่ียวกับหลักการและ วิธีการปรับปรุงเสียงพูดขาววิทยแุ ละโทรทัศน วธิ ีการประกาศ วิธีการสัมภาษณ วิธีการพูดโฆษณา และความกาวหนาในอาชพี ทางดา นน้ี ไดอธบิ ายถึงความหมายของคําวา “ผูประกาศ” ไวดังนคี้ ือ “ผูประกาศเปนคําเรียกโดยรวม หมายถึง ผูที่ทําหนาท่ีสื่อสารกับผูฟงผูชมผานส่ือวิทยุ โทรทัศน นอกจากคําเรียกโดยรวมแลวยังมีคําเรียกที่ชี้เฉพาะเจาะจงใหเห็นบทบาทหนาที่การ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน เชน ผูดําเนินรายการ (Moderator) โฆษก พิธีกร (Master of ceremonies) ดเี จ (DJ หรอื Disc Jockey) ผอู านขาวหรอื ผูรายงานขาว (Reporter)” จากความหมายดังกลาวนี้ จะเห็นไดถึงความครอบคลุมของภาระหนาที่และช่ือเรียกใน ทางการประกอบวิชาชีพท่ีผสมผสานกลมกลืนกันจนแทบจะแยกไมออกหรือทับซอนกันสอดคลองกัน และคาบเก่ียวกัน (overlap) โดยมชี อื่ เรยี กที่แตกตางหลากหลายแตมีภาระหนาท่ีซ่ึงใกลเคียงกันหรือ เหมือนๆ กนั ดังภาพที่ 1.1 2

ผรู ายงานขาว ดเี จ โฆษก ผูป ระกาศ ผดู าํ เนินรายการ (Announcer) (Moderator) พิธกี ร ผูอานขา ว ภาพท่ี 1.1 แสดงความเกย่ี วของหรือสัมพนั ธก นั (overlap) ของชอื่ เรยี กผปู ระกาศกบั ช่ือเรียกอื่นๆ ที่แตกตา งกนั แตมภี าระหนา ทค่ี ลา ยกนั และ/หรอื เหมือนกัน ที่มา: ณัฐนนั ท ศิริเจรญิ (2558) ผูปฏิบัติงานในสาขาอาชีพ“ผูประกาศ” ในประเทศไทยมีมานาน ต้ังแตกอนสงครามโลก ครั้งที่ 2 โดยเร่ิมตนพรอมๆ กับการจัดต้ังสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีโทรทัศน ในอดีตผู ประกาศรนุ แรกท่มี ชี ่อื เสียงเปนท่นี ิยมและรูจักกันอยางกวางขวาง ไดแก นวลละออ ทองเน้ือดี อารีย นักดนตรี ดาเรศ ศาตะจันทร และเย็นจิตร สัมมาพันธ เปนตน รายนามเหลานีค้ ือ ผูประกาศทาง สถานวี ทิ ยุ ท.ท.ท. และ สถานีโทรทัศนชอง 4 บางขุนพรหม ปจจุบัน คอื ชอง 9 อสมท. หรือโมเดิรน ไนทท ีวี งานผปู ระกาศในยคุ สมยั นนั้ ตอ งรบั ผิดชอบท้ังงานผูประกาศทางส่ือวิทยุส่ือโทรทัศนและเปน ผูแสดงควบคูไ ปดวย เม่ือมาถึงโลกยุคขอมูลขาวสารอยางปจจุบันนี้สงผลใหผูประกาศเปนอีกอาชีพที่มีความ จําเปนในการขับเคลื่อนระบบตางๆ ของประเทศ เชน ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการทหาร ในสวนของกองทัพที่มีหนาท่ีหลักในการปกปองอธิปไตยของชาติ มีความจําเปน อยางย่ิงท่ีตองมี “ผู ประกาศมืออาชีพ” มาทาํ หนา ท่ีประกาศขาวสารตางๆ สูประชาชน เพราะผูประกาศขาวเปนบุคคลที่ ทาํ หนา ที่ประกาศขา วสารสูประชาชนผูร ับสาร ผา นส่ือมวลชนประเภทตาง ๆ คอื วิทยุ โทรทศั น เคเบิล ทีวี ทีวีดาวเทียม ทีวีดิจิทัลและส่ือออนไลนผานอินเทอรเน็ต เพราะในยคุ น้ีผูประกาศยังหมายรวมถึง “ผูดาํ เนินรายการประเภทขาวและสถานการณป จจบุ ันดว ย” 3

ในดา นความยากงายของการปฏิบัตหิ นาที่ในฐานะของการเปนผูประกาศ โดยเฉพาะการเปน ผปู ระกาศทางสอ่ื วทิ ยนุ น้ั จะมีความยากตรงจุดทก่ี ารรับขอมูลขาวสารของผูรับสารจากสื่อวิทยุจะเปน การสอื่ ความหมายฝายเดยี ว จากผูพดู ถึงผูฟงที่มิไดเ หน็ หนา และกิรยิ าทา ทางของกันและกัน ไมเหมอื น ส่ือโทรทัศนท ี่ยงั สามารถดูกริ ยิ าทาทาง สีหนา หรือภาษารา งกายตางๆ ของผูประกาศประกอบไปดว ย ได เพ่อื ชวยแปลความหมายที่ผูประกาศส่ือสารออกมาไดอ ีกทางหนึ่ง แตส่ือวิทยนุ ัน้ เปนการนําเสนอ ดวยการใชค าํ พูดหรือการอานบทวิทยใุ หผูฟงไดร ับฟงเพียงอยา งเดยี ว ดังน้ันผูประกาศจึงตองคาํ นึงถึง วิธีการอาน การประกาศเผยแพรออกไปยังกลุมผูรับสารวาจะอานอยางไร จะพูดอยางไร จึงจะ สามารถส่ือความหมายใหผูฟงสนใจติดตามรับฟงใหตลอดจนจบ แลวเขาใจในเรื่องราวตางๆ ท่ี นําเสนอนั้นดวย เพราะการอานเรื่องราวขอมูลขาวสารใหคนฟงทางวิทยุนั้นมิใชการอานหนังสือ ตามปกติธรรมดาทค่ี นเคยเรียนหนงั สือมาทุกคนกส็ ามารถทําได แตการอานขอมลู ขาวสารทางส่ือวิทยุ น้ันเปนการอานในฐานะผูประกาศท่ีจะตองมีศิลปะ มีหลักและวิธีการ มีความชํานาญในการอาน หนงั สือใหคนฟงผานทางส่ือกระจายเสียงใหไดเน้ือหาสาระตามที่ไดตงั้ เปาหมายไว ตองใหผูฟงเขา ใจ และมองเหน็ ภาพอยา งชัดเจน จงึ จะถอื วา เปนการประกาศท่ีมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ดังน้ันการจะประกาศขอมูลขาวสารใดออกมา จึงควรตองรางบทหรือตรวจสอบขอความ ตางๆ ในบทประกาศใหมีความชัดเจน มีจุดประสงคทแี่ นชัด มรี ายละเอียดเพียงพอใหผูรับสารเขาใจ จุดประสงคของประกาศไดอยางแจมแจง การใชคําและเรียบเรียงประโยคตางๆ ในการประกาศตอง กระชับและส่ือความหมายไดตรงตามประเด็นทต่ี องการประกาศใหประชาชนกลุมเปาหมายรับทราบ ขอมูลน้ันๆ รวมไปถึงการใชวิธีการอานท่ีนาสนใจ การใชนํ้าเสียงท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาสาระท่ีจะ ประกาศ โดยตองใหมีบรรยากาศของน้ําเสียงที่ชวนใหตองการติดตามขาวสารนั้นๆ ตอไปจนจบขาว จึงจะถอื ไดวา เปนการประกาศทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลตามเปา หมายทตี่ ้งั ใจไว ทั้งน้ีเพราะ “ผูประกาศ” คือ ผูที่สามารถทําหนาที่ประกาศขาวสารและขอมูลตางๆ ไดทั้ง ทางสื่อวิทยุและส่ือโทรทัศน ดวยการแยกประสาทสัมผัสในขณะท่ีใชสายตามองบท สมองนึกถึง ความหมายและแปลความหมายของบทไดท ันที พรอมท้งั ขยับริมฝปากเพือ่ ออกเสียงตามความหมายที่ ไดประมวลมาเรยี บรอยในสมองแลว ดว ยการประกาศขอมูลขาวสารตางๆ ออกไปอยางนาฟง นาชม ใชน้ําเสียงท่ีไพเราะ นุมนวลหรือเขมแข็งใหเขากับเรื่องราวของบทท่ีอาน สามารถอานบทและออก เสียงไดชัดเจน ถูกตอง ถายทอดอารมณของเน้ือหาสาระท่ีประกาศไดอยางลงตัว โดยตองปฏิบัติ หนา ท่ีของตนเองภายใตจรรยาบรรณทางวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมและถูกตองตามกฎหมาย ดวย เหตุนผ้ี ทู จี่ ะทาํ หนาที่ผูประกาศไดจงึ ตอ งมคี วามรมู ีทกั ษะความสามารถในการอาน การพูดมากกวาคน ธรรมดาโดยทว่ั ไป นอกจากน้ันวรรณภา วรรณศรี (2552) ยังไดระบุไววา “ผูประกาศ” หมายถึง“โฆษก” อีก ดวย จึงมีผูนําคําวา “ผปู ระกาศ” มาใชแ ทนคําวา “โฆษก” ตามลักษณะงานทที่ ํา “โฆษก” เปนคํา 4

ที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ซ่งึ ในภาษาอังกฤษใชคําวา “Announcer” หรือ “Spoke man” แต เดิมในประเทศไทย จะใชคําวา “โฆษก” อยางเดียว คือ ผูประกาศหรือผูโฆษณาในสถานีวิทยุ- โทรทัศน จะเรียกวา โฆษกวิทยุ โฆษกโทรทัศน ผูประกาศในการแขงขันชกมวย ก็จะเรียกวา โฆษก สนามมวย ผูประกาศตามงานวดั กจ็ ะเรียกวา โฆษกงานวัด ผปู ระกาศในงานแตงงาน ก็เรียกวา โฆษก งานแตงงาน สรุปไดวาเม่ือตองประกาศหรือบรรยายในงานใดๆ ก็จะเรียกวา “โฆษก” ตามลักษณะ ของงานน้ันๆ ผูทําหนาท่ีโฆษกบางครั้งก็จะปรากฏตัวใหผูมารวมงานเห็น บางครั้งก็จะสงแตเสียง ออกมาอยา งเดียว โฆษกจะพดู ไปไดเ รอ่ื ยๆ เทาท่มี ีเวลา และอาจจะแทรกความคดิ เห็นของตนเพิ่มเติม ในการพูดได การพูดของโฆษกคอนขางอิสระ ยกเวนโฆษกรัฐบาล หรือโฆษกพรรคการเมือง หรือ โฆษกตามตําแหนงที่หนวยงานแตงต้ังข้ึน เพราะการพูดจะคอ นขางเปนทางการและตอ งปรากฏตัวให ผูฟงเหน็ ในขณะพูด ในขณะท่ผี ปู ระกาศจะทําหนาที่บอกเร่ืองราวเหตุการณที่กําหนดจัดเรียงขอความตามลําดับ มาแลวเพื่อนําเสนอใหผูฟงผูชมรับทราบ แตจะไมสามารถแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมได เชน การ ประกาศรายงานสภาพอากาศ การประกาศรายงานสภาพการจราจร การประกาศขาวของทาง ราชการ เปนตน ผูประกาศจะแสดงตัวใหผูฟงผูชมเห็นตัวหรือไมนั้น ข้ึนอยูกับสถานการณหรือ ลักษณะงานทีแ่ ตกตางกนั ไป ผูประกาศ จึงถอื เปนคาํ เรียกโดยรวม อนั หมายถึง ผูที่ทําหนา ที่สอื่ สารกับผูฟงผชู มผานสือ่ วทิ ยุ ส่อื โทรทศั น นอกจากนั้นยังมีคาํ เรยี กท่ชี ี้เฉพาะเจาะจง อาทิ ผดู าํ เนินรายการ โฆษก พธิ ีกร ผูร ายงานขา ว ดเี จ เปน ตน เพราะมีบทบาทหนา ที่การปฏบิ ัตงิ านที่คาบเก่ียวกันดงั ที่กลา วมาขางตน ภาพที่ 1.2 แสดงการทาํ หนา ทเี่ ปน ผปู ระกาศและผูด าํ เนินรายการของผเู ขียนในงานแถลงขา ว ความรวมมอื ของเครือขายมหาวทิ ยาลยั ทเ่ี ปด ทาํ การเรียนการสอนนิเทศศาสตร ทมี่ า: ณัฐนันท ศิรเิ จริญ (2558) 5

1.2 การฝก 10 ประเด็นเพือ่ เปน ผปู ระกาศที่มคี ุณภาพ แนวทางเพ่ือใชใ นการพฒั นาวิธกี ารสื่อสารของผูประกาศอยางมปี ระสทิ ธภิ าพใหก ับกลมุ ผูรับ สารตางๆ ทางสื่อวิทยแุ ละส่ือโทรทศั นรวมทัง้ ส่ืออนื่ ๆ (Alan R. Stephenson , David E. Reese, Mary E. Beadle., 2009) ไดนําเสนอแนวทางเอาไวด งั นี้ 1. การฝกบรหิ ารจัดการอารมณของตนเอง ใหม ีความแจมใสอยเู สมอ เพราะถา อารมณไ ม ดีหรือเปนคนชอบหงุดหงิดกับทุกเรื่องอยูเสมอ จะไมสามารถทําหนาที่ผูประกาศไดเปนอยางดี เพราะอารมณท่ีขุนมัวนั้น จะทําใหการประกาศหรือการพูดนําเสนอรายการเปนไปอยางไมรื่นรมย เพราะอารมณของผูประกาศไมดีอยูเสมอๆ ดังนั้นจึงควรตองรูจักฝกการบริหารจัดการอารมณของ ตนเองอยูเสมอ นอกจากการฝกฝนอารมณดีแลว ยังตองฝกฝนใหอารมณในการทํางานมีความ สอดคลองกับเน้ือหาสาระท่ีนําเสนอ เชน สาระท่ีนําเสนอเปนเรื่องราวสนุกสนาน อารมณของผู ประกาศตองรูสึกสนุกสนานไปกับเนื้อหาท่ีกําลังนําเสนอดวย หรือถาเปนเนื้อหาท่ีสะเทือนใจผูคน ทว่ั ไป ผูประกาศควรตอ งทําอารมณในการนําเสนอสาระใหคลอยตามกับเนือ้ หาทนี่ ําเสนอ เพ่ือใหการ ประกาศหรอื พดู นําเสนอเขากบั บรรยากาศตา งๆ ทแี่ ตกตางกัน เปนตน 2. การฝกความรับผดิ ชอบ ในการทาํ หนา ท่ีเปน ผใู หข อมูลขาวสารกบั ประชาชนอยางเตม็ กําลงั ความสามารถ ตองสังเกตวาผูรับสารชอบหรือไมชอบอะไร เพ่ือจะไดนําเสนอใหถกู จังหวะและ เหมาะสมอยางรบั ผิดชอบทุกเรื่องราวอยางสมํ่าเสมอ จะนาํ เสนอส่ิงใดเร่ืองใดตองคิดพิจารณามาเปน อยา งดแี ลววาเปน ส่ิงทม่ี ีประโยชนถ กู ตองเหมาะสม นอกจากนั้นยังตองมีความรับผิดชอบตอองคก รท่ี ตนเองทาํ งานและสถานวี ทิ ยหุ รอื โทรทัศนท ่ไี ปทําหนา ทผ่ี ูประกาศไมใหเกิดความเส่อื มเสยี หรือตองเกิด ปญหาจากการทาํ หนาที่เปน ผูประกาศของตนเอง 3. การฝกฝนความสามารถและอปุ นสิ ัยกิรยิ ามารยาท รวมทั้งพฤติกรรมตา งๆ ใหม ี บุคลิกภาพที่มีความเปนตนเองอยางนาชื่นชมและสามารถเปนตนแบบที่ดีใหกับผูฟงไดอยางนา ภาคภูมิใจ โดยตองทํางานอยางมีประสิทธิภาพและใหความเคารพตอกลุมผูรับสารของตนเอง ตลอดเวลาเพราะเปนผทู ใี่ หก ารสนับสนนุ และติดตามผลงานการประกาศของเราเปน อยา งดี 4. ฝก พฒั นาปรับปรุงเสยี งพดู ดว ยการออกกาํ ลงั เสียง ดวยการฝกพดู ใหเตม็ เสยี งเพ่ือใหได เสียงท่ีชัดเจน แตตองระวังไมใหเปนการออกเสียงดังเกินไปจนกลายเปนการตะโกน รวมท้ังฝกการใช ระดับเสียงที่เหมาะสม โดยตองระลึกไวเสมอวาเรากําลังพูดผานไมโครโฟน ระดับเสียงท่ีเหมาะสม คือ เสียงที่ไมดงั เกินไปหรือเบาเกินไป ระยะหางจากปากถึงไมโครโฟนควรจะประมาณ 3 – 5 นิ้ว หรือตอ งพจิ ารณาตามความเหมาะสมของคณุ ภาพการรับเสยี งของไมโครโฟน 5. ฝกการนําเสนอท่มี ีความถูกตองตามหลักการใชภ าษา โดยการรกั ษาคาํ และความใน บท ไมอ านผดิ อานถูก ตูคําตูความหรอื เตมิ คาํ เติมความ ทําใหความหมายผดิ เพ้ียนไป เชน 6

ตวั อยางลกั ษณะการตูคาํ จากขอ ความวา “…..จากการสบื สวนสอบสวนมขี อมลู ที่เชือ่ ไดว า นางฝนตกแลว …” แตผปู ระกาศอานวา “…จากการสบื สวนสอบสวนมีขอ มูลทเี่ ชอ่ื ไดวา นาง ฝนตายแลว ..….” ลกั ษณะเชน นเ้ี ปน การตูค าํ จากตกกลายเปน ตาย ซง่ึ ผดิ ความหมายไปเลย ตัวอยา งลักษณะการเติมคํา จากขอ ความวา “….โรงพยาบาลหู ตา คอ จมูก ตัง้ อยูที่ ถนน…” แตผปู ระกาศไปอานเติมคาํ กลายเปน “….โรงพยาบาลหู ตา คอ จมูก ปาก ตั้งอยูที่ ถนน…” ทาํ ใหผูฟง เขาใจผดิ วา โรงพยาบาลน้รี ับรักษาผทู มี่ ีปญหาทางปากดวย ลกั ษณะเชนน้ีตอง มสี ติและสมาธใิ นการอา นและประกาศเพ่อื จะไดไ มพลัง้ ปากเผลออา นออกไป 6. ฝกการออกเสียงควบกลา้ํ มคี วามสาํ คญั และจาํ เปน ในการทาํ หนาที่เปนผูป ระกาศ และผูดาํ เนนิ รายการมาก มฉิ ะนนั้ จะเสยี ความในการส่ือสารเชน “....ขณะน้ีทางหางของลาว กําลงั ปบปงุ เปยนแปงและมีลุน รางวลั ทุกลาน……” ผูฟง ไดฟงแลวอาจสบั สน….ท่ีถูกตอ ง คอื “....ขณะนี้ ทางหางของเรา กําลงั ปรับปรงุ เปลย่ี นแปลง และมีลุน รางวัลทกุ รา น…….” เปนตน 7. ฝก การออกเสียงที่ชัดเจน ไมเพย้ี นแปรง เชน เพ้ียนพยญั ชนะ “คว” ออกเสยี งเปน “ฟ” ตวั อยางเชน “......วนั นคี้ ณุ ผูฟงของเราบอกมาวามีฟามสขุ มาก ที่ไดรับฟง ฟามจริงเก่ยี วกับพิษ ภัยของฟามโลภ ฟามหลง…..” (อันทจ่ี รงิ ตอ งอออกเสยี งวา ความสขุ /ความจริง/ ความโลภ/ความ หลง แตผปู ระกาศออกเสยี งผิดเพี้ยน) หรอื การเพยี้ นสระ เชน สระ“แอ” ออกเสียงเปน สระ “เอ” ตัวอยางเชน “....เราชอบกินเตงโม เปลือกแข็งตกไมเ ตก...” ทถี่ ูกตองคือ แตงโม ตกไมแตก 8. ฝกการนําเสนอที่ราบรื่น ชวนฟง ไดแก การไมอ านแลว ตะกุก ตะกกั ตองอานไปพลาง หยุดสะกดคําไปพลาง ที่เรียกวา”อา นหนงั สอื ยังไมแ ตก” เพราะฟง แลวจะทาํ ใหรสู ึกนาราํ คาญ 9. ฝกการอา นทมี่ จี ังหวะจะโคน มีการใหนาํ้ หนกั คาํ และขอ ความท่ฟี งแลว ไมย านไมยดื ไม เออ่ื ย ที่ทาํ ใหฟง แลว ชวนงว งนอน 10. ฝกการอานท่ีแบง วรรคตอนไดเ หมาะสม แมวาแตละคนอาจไมจําเปนตอ งแบงวรรคท่ี เทากับคนอ่ืน แตสิ่งท่ีตองคํานึงถึงเสมอในการแบงวรรค คือ เม่ือหยุดแบงวรรคแลวจะตองไมเสีย ความหรอื ความหมาย เชน ผูประกาศอา นแบง วรรคตอนเปน “เพื่อความเปนระเบยี บเรียบรอ ย……….หา มพนกั งานหญงิ นุง กางเกงใน……เวลาทาํ งาน” แตค วามหมายทต่ี องการส่ือสารจรงิ ๆ คือ “เพ่ือความเปน ระเบียบเรยี บรอย………หา มพนักงานหญิงนงุ กางเกง….ในเวลาทํางาน” การแบงวรรคท่ีดี ไมค วรวรรคมากจนเกนิ ไป จะทาํ ใหเสียงเปน หว งๆ ฟงแลวไมร ่ืนหู เชน นายก-รฐั มนตร-ี มกี ําหนด-จะเดนิ -ทางไป-ประชมุ -สัญจร-ทจ่ี งั หวดั -อุบล-ราชธานี เปน ตน 7

เคลด็ ลับการฝกเปน ผปู ระกาศท่ีสําคญั ผูเขียนขอนําแนวคิดของศาสนาจารยทนนท ชาญชิตโสภณ (2557) ท่ีไดกลาวถึงการฝกฝน ตนเองดวย “กฎหน่ึงหมื่นชั่วโมง” ซึ่งผูเขียนมีความคิดวาสามารถนํามาประยุกตใชเปน แนวทางสําหรับการฝกฝนทักษะในการเปนผูประกาศและผดู ําเนินรายการที่มีคณุ ภาพได โดยเห็นได จากผูท่ีประสบความสําเร็จมาแลวมากมายในการประกอบวิชาชีพน้ีจากกฎหนึ่งหมื่นชั่วโมง ซ่ึงหลาย คนเคยพูดไวในลักษณะท่ีวา กวาตนเองจะทําหนาท่ีเปนผูประกาศและผูดาํ เนินรายการทม่ี ีชื่อเสียงได อยางทุกวันน้ี เปนเพราะตนเองฝกฝนทักษะมาอยางยาวนาน ตรงกับหลักการของแนวคิด “กฎหน่ึง หมื่นชั่วโมง” ท่ีเช่ือวา…… “ย่ิงคนเราฝกฝนทักษะในเร่ืองหนึ่งเร่ืองใดอยางมุงมั่นหม่ันเพียรใน จํานวนชว่ั โมงทีม่ ากย่ิงขึน้ จะยง่ิ ทําใหเกดิ ความรูความชํานาญมากย่ิงๆ ขึ้นไปอยางแนนอน” เชน ถาฝก อานออกเสียงจากบทความตา งๆ ในหนังสือพิมพสัปดาหละ 1 - 2 ชวั่ โมง ยอ มทําใหเกิดความ คลองตัวมากกวาการฝกอานออกเสยี งเพียงเดือนละ 1 ช่ัวโมง และถาฝกฝนถงึ สัปดาหละ 5 ช่ัวโมง ก็จะยิ่งทําใหมีความชํานาญมากย่ิงข้ึนไปอีก ดังนั้นถามนุษยเราตองการมีความเกง คลองแคลว ชํานาญการในเร่อื งหนง่ึ เรอ่ื งใดเปน พิเศษ จึงมีความจําเปน ที่คนๆ นั้นจะตอ งใชกฎหน่ึงหม่ืนช่ัวโมงเขา ไปชว ยสรางกาํ ลังใจในการฝก ฝนทักษะเฉพาะเหลานั้นใหก ับตนเองอยา งตอ เนือ่ งและสมา่ํ เสมอ เคล็ดลับอ่ืนๆ ของผูเขียนเอง ซ่ึงเก็บสะสมความรูมาจากประสบการณจริงในการ ทํางานดานผูประกาศ ผูดําเนินรายการ โฆษก พิธีกร ดีเจ ผูอานขาว ผูรายงานขาว ซ่ึงเปนวิธีการ เพม่ิ เตมิ ในการฝกฝนเพ่อื ใหเกิดการพัฒนาสําหรับผเู รียนที่ตองการประกอบอาชีพทางดา นน้ี โดยเปน องคค วามรูท ี่ผูเขียนคน พบมาจากการทาํ งานดานน้ีตงั้ แตป  2531 จนถงึ ปจ จบุ นั ไดแ ก 1) เคลด็ ลบั การฝก ใชสายตาในการอา นหนงั สือ คอื ปกติเราจะอา นไลเ รยี งไปตามตัวอกั ษร ตางๆ จากดานซายไปยังดานขวา ดังน้นั เราตองฝกใหสายตาของเราสามารถอานหนังสือแลวเห็นทั้ง ตัวอักษรทกี่ ําลงั อานอยแู ละปลายตาสามารถเห็นตัวอักษรที่จะตองอานถัดไปทางดา นขวามือดว ย เพื่อ เปนการเตรยี มพรอมสาํ หรบั การอา นและออกเสียงใหมีความตอ เนอื่ งและไมส ะดุด 2) เคล็ดลบั การฝกออกเสยี งอา นไปพรอมๆ กับการอา น ดวยวิธกี ารใชส ายตาจอ งอา น หนังสอื และพยายามฝก ใหสมองไดคนุ เคยกบั การใชสายตาอานและปากออกเสียงไปพรอมๆ กันอยาง ทันทวงทีและสอดคลอ งกันซ่ึงจะสงผลให “จังหวะในการออกเสียง” เพ่ือนําเสนอขอมลู ขาวสารจาก การอานประกาศตา งๆ มีความราบร่ืน พลิ้วไหวไมส ะดุดและนาติดตามฟง 3) เคลด็ ลับการฝกใหส ามารถอา นออกเสยี งมาแลว มีจงั หวะทว งทาํ นองที่ทําใหน า ฟง ทงั้ จาก การอานประกาศ การพูดอธิบาย การบรรยาย ดวยวิธีการวิเคราะหถึงจังหวะการหยุดประโยค การ ทอดเสียงในชวงทายประโยคท่ีเหมาะสมซึ่งจะแตกตางกันในแตล ะประโยคและเนื้อหา บางประโยค 8

ตองใชระดับเสียงโทนตํ่า บางประโยคตองใชระดับเสียงโทนสูงเพ่ือกระตุนความรูสึก สรางความ ตนื่ เตนเราใจผูฟงใหสนใจตดิ ตามฟง ประโยคตอ ไป 4) เคล็ดลับการฝกใชนํา้ เสยี งในการอา นออกเสียงของแตล ะเรื่องราวท่นี ําเสนอใหมคี วาม แตกตางกัน เพราะเน้ือหาท่ีนําเสนออาจเปนเร่ืองท่ีตองใชวิธีการอานประกาศท่ีไมเหมือนกัน เชน เนื้อหาของขาวที่ตองแสดงความหวงใยตองการความรูสึกรวมในการชวยเหลือผูกําลังประสบภัยกับ เนอ้ื หาของขา วท่ีตองการบรรยากาศความรสู ึกแหงความสนุกสนานฮึกเหิมร่นื เริง ดังนั้นผูประกาศจึง จําเปน ตอ งใชก ารคดิ วเิ คราะหเ พอื่ “ตีโจทยใ หแตก” วาควรตองใชน ้ําเสียงในการอานประกาศอยา งไร ใหผ ูฟ งรูสึกมีอารมณรว มไปกับเหตุการณน้ันๆ ทต่ี นเองกาํ ลังรบั ฟง จากผูประกาศ 5) เคลด็ ลับการฝกหา “คลงั คาํ เชอื่ มตา งๆ” ในการอา นขอความแตละยอหนา ใหต อเน่อื ง และเช่ือมโยงกนั อยางนุมนวล แมอาจจะเปล่ียนหัวขอเรื่องก็ตอ งใชค ําเช่ือมประโยคของเราเองดวย ท้ังน้ีเพราะในการอานประกาศจริงน้ัน ในบทอาจจะไมมีคําเชื่อมตอของแตละยอหนาหรือแตละ ประโยคมาใหผ ูประกาศ ซึง่ บางครงั้ ทําใหฟ ง แลว หวนเกินไป ฟง แลว ขัดหูขดั ความรสู กึ เปรยี บเสมือน คนพูดในลักษณะ “ขวานฝา ซาก” ดังน้ันผูประกาศจึงตองฝกฝนดวยตนเองในการใชคําเชื่อมของแต ละยอหนา เชน เมื่ออานเนื้อหาในยอหนาท่ีหนึ่งจบแลว พอจะเริ่มยอหนาที่สองถัดไป ผูประกาศ อาจตองใชคําเช่ือมดวยตนเอง เชน “ตอไปเปนเร่ืองราวของ……….” หรือ “เรื่องตอไปเปนเร่ืองที่ นา สนใจเกย่ี วกบั …………..” เปนตน 6) เคล็ดลบั การฝกใหม ีความฉบั ไวในการแกไ ขปญหาเฉพาะหนา เมอื่ มเี หตุการณท ไี่ มคาดคดิ เกิดขึ้น ซึ่งจะแตกตางกันออกไปในแตละกรณี ดังน้ันผูประกาศจําเปนตองเรียนรูและจดจําเทคนิค วธิ กี ารแกไขปญ หาเหลา น้ีจากผเู ชย่ี วชาญตา งๆ โดยวธิ กี ารตา งๆ ไดแ ก 1.1 ศกึ ษาจากเกร็ดประวตั ิการทาํ งานของผเู ชี่ยวชาญคนนั้นๆ วาทา นไดเคยเลา ชีวประวัติประสบการณการทํางานอะไรบาง ซึ่งอาจเผยแพรผานทางหนังสือหรือเว็บไซตตางๆ และ อะไรท่ีเราสามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชใ หเ กดิ ประโยชนไดถา เหตุการณค ลายๆ กันเกดิ ขึน้ กับตวั เรา 1.2 ศึกษาจากวิธีการ “ครลู กั พกั จํา” คือ การดูจากของจรงิ และหมน่ั สงั เกตวามี อะไรเกิดขึ้นและผูเชี่ยวชาญแกไขปญหาอยางไรทีเ่ ราสามารถนําไปใชได โดยทกุ อยางควรตองบันทึก เปนลายลกั ษณอ ักษรเอาไวป องกันการลมื 1.3 ศกึ ษาและจดจาํ จากเรอ่ื งเลาของครู อาจารย เพือ่ นๆ รนุ พ่ี เพราะทุกสิง่ ทุกคน ลวนเปนแหลงเรียนรูท่ีดีสําหรับการพัฒนาตนเองใหมีความชํานาญและเช่ียวชาญไดมากย่ิงๆ ข้ึนไป อยาละเลยการฝกฝนตนเองและหาความรูใหกับตนเองทุกวัน โดยใชหลักการ “……สุ จิ ปุ ลิ…….ฟง คิด ถาม เขียน…….ตาดู หฟู ง จดจําไว เพือ่ นาํ มาใชประโยชนต อ ไป” เคล็ดลับเหลาน้ีผูเขียนไดนํามาจากประสบการณของตนเองท่ีพบเจอกับสถานการณในการ ปฏบิ ัตหิ นา ทท่ี งั้ การเปนผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการมาพอสมควร โดยในสมยั กอนน้ัน ผูท่ีจะไปทํา 9

หนาท่ีอานและพูด รวมท้ังจัดรายการทางสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศนไดน้ันตองผานการทดสอบเปน เจาหนาท่ผี ูประกาศจากกรมประชาสัมพนั ธแ ละตอ งเขาอบรมซึ่งใชระยะเวลาเปนเดอื นเพ่ือใหไดร บั ใบ ประกาศนยี บัตรการจดั รายการวิทยุ จึงจะมสี ิทธ์ใิ นการเขาไปปฏบิ ตั หิ นาทใี่ นการออกอากาศทางสถานี วทิ ยหุ รอื โทรทัศนได นบั เปน การกล่ันกรองคุณสมบัติและทดสอบทักษะสําหรับการจะประกอบอาชีพ เปน ผูประกาศและ/หรือเปน ผูดําเนินรายการทม่ี มี าตรฐานไดในระดบั หนง่ึ ภาพท่ี 1.3 บัตรผา นการทดสอบเปน เจาหนา ทผี่ ปู ระกาศ จาก กรมประชาสัมพันธ พ.ศ. 2531 ทม่ี า: ณฐั นันท ศริ ิเจริญ (2531) ภาพที่ 1.4 บตั รแสดงการไดร บั ประกาศนยี บัตรการจัดรายการวทิ ยุ จาก กรมประชาสมั พันธ พ.ศ. 2534 ทมี่ า: ณฐั นนั ท ศิริเจริญ (2534) 10

1.3 ความหมายของคําวา “การดาํ เนนิ รายการ” ความหมายของ “การดําเนินรายการ” ในการศึกษาตามรายวิชานี้ คือ “การทําหนาท่ีนําเสนอขอ มูลขาวสารในกิจกรรมตางๆ ดวยวิธีการพูด การอานและการอธิบาย อยางชัดเจน จนสามารถทําใหผรู ับสารทกุ คนเขาใจเนอ้ื หาสาระทงั้ หมดไดอยา งถูกตองตรงกนั ” ดงั นน้ั เม่อื พจิ ารณาจากรากศพั ทของคําวา “การดาํ เนินรายการ” ทําใหสามารถเช่ือมโยง ความหมายไปถึงคําวา “ผูดําเนินรายการ” หรือ Moderator โดยอัญธิกา พังงา (2558) ไดให ความหมายไววา “เปนผูดาํ เนินการในพิธี ผูดาํ เนินรายการ เปนปากเสียงแทน ผูประกาศโฆษณาทาง วิทยุกระจายเสียง ผปู ระกาศโฆษณา ผปู า วรอง ผทู าํ เสียงกกึ กอ ง ผูพูดดงั ” โดยผูเขียนไดสรปุ ความหมายและขอบเขตของ “ผูดาํ เนินรายการ” จากการศึกษาตาม รายวิชานวี้ า หมายถึง “ผูที่สามารถทําหนาที่ดาํ เนินรายการท้ังทางส่ือวิทยุและสื่อโทรทัศนเพอ่ื ให ความรู สาระและความบันเทิงแกผูฟงผูชมกลุมตางๆ สามารถนําเสนอเน้ือหารายการไดตาม รูปแบบและวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว มีทักษะในการอานและการพูดนําเสนอขอมูลขาวสาร เรื่องราวตางๆ ในรายการไดดี เชน การพูดนําเขาชวงสาระตา งๆ การโฆษณาสินคาหรอื บริการ ภายในรายการ รวมทั้งการสัมภาษณบุคคล การตอบปญหาหรือขอมูลอื่นๆ ท่ีจําเปนแทรกใน รายการ ในกรณฉี ุกเฉนิ ก็สามารถใชป ฏภิ าณไหวพรบิ แกไขปญ หาเฉพาะหนา ใหผา นพนไปไดอยาง ราบร่นื ไมสะดุด คือ สามารถทําใหบ รรยากาศและขัน้ ตอนตา งๆ ของงานยังคงเปน ไปตามปกต”ิ “นอกจากนั้นยังตองเปนผูทําหนาที่ในหลายลักษณะ คือ การเปนทั้งผูประกาศ ผูจัด รายการ โฆษก พิธีกร ฯลฯ ซึ่งภาระงานตางๆ มีความสัมพนั ธและเชื่อมโยงกันอยางเปนหน่ึง เดียวกัน ดังน้ันผูดําเนินรายการจึงตองมีทั้งความรูและทักษะที่ประกอบไปดวยศาสตรและศิลป เปนอยางมากในการทําหนาท่ี เพราะทุกขั้นตอนของกิจกรรมในงานน้ันๆ จะขึ้นอยูกับการพูด นาํ เสนอในแตล ะหัวขอ อยา งระมดั ระวงั จากการคิดไตรตรองเอาไวเ ปน อยา งดแี ลว” 11

ภาพที่ 1.5 แสดงการทําหนา ทเ่ี ปน ผดู าํ เนินรายการของผเู ขียนในงาน HCU Fair 2015 โดยตอ งเชญิ ชวนผูดูผฟู งใหสนใจกจิ กรรมบนเวทแี ละสมั ภาษณแขกรับเชิญบนเวทสี ดดว ย ที่มา: ณฐั นันท ศริ ิเจริญ (2558) 1.4 การฝก 10 ประเด็นเปน ผดู าํ เนนิ รายการท่ีมีคณุ ภาพ การฝก เพื่อใหเกิดความชาํ นาญสาํ หรับการทําหนาที่ผูดําเนินรายการน้ันเปนส่ิงจําเปน เพราะ ตอ งมีพื้นฐานความรูความเขาใจ ตองมีทักษะและปฏิภาณไหวพริบหลายอยางประกอบกัน เพ่ือทําให รายการดําเนนิ ไปสูจุดหมายปลายที่ไดวางเอาไว ดังน้ันผูท่ีจะมาทาํ หนาท่ีน้ีจึงควรตองฝก ฝนเพ่ือใหรู เทคนิคของการเปนผูดําเนินรายการที่มีคุณภาพ ประกอบดวยประเด็นตางๆ (นฤมล วันทนีย 2558) ดงั นี้ 12

1) ตองฝก ใหม คี วามรับผดิ ชอบในฐานะผสู งสาร คอื การฝก ใหร จู กั ผูรับสารวาเปนใคร ชอบ หรอื ไมชอบอะไร โดยตองมีความเขาใจในสาร พยายามสื่อสารแนวคดิ หลักไปยังผูชม-ผูฟง ฝกคิดใหถี่ ถวนรอบคอบกอ นพดู อะไรออกไป เพราะตอ งรับผดิ ชอบในส่ิงทพ่ี ดู อา นออกอากาศไปยังประชาชน 2) ตองฝกใหมีความรับผิดชอบตอสถานี/หนวยงาน เพราะผูดําเนินรายการเปน ภาพลักษณข องสถานี จึงควรประพฤติตัวในทางทีถ่ ูกตอ งเหมาะสมเปนคนดีของสังคม ไมมเี รอื่ งเสื่อม เสียจนสง ผลกระทบมาถงึ สถาน/ี หนวยงาน และผูด ําเนินรายการยังตอ งฝกความคิดในการรับผิดชอบ ตอการประกอบธรุ กิจ รวมท้ังความตระหนกั ในการรบั ผิดชอบตออปุ กรณต า งๆ ของสถานี 3) ตองฝกใหมีความรับผิดชอบตอสังคม เพราะผูดําเนินรายการมีอิทธิพลตอผูชม ผูฟง ดังนั้นจึงควรใชอิทธิพลไปในทางช้นี ําใหเกิดสิ่งท่ีดีทัง้ ในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน เชน เปนตัวแทน การรณรงคเ พื่อสังคมเขา รวมกจิ กรรมสาธารณะ บาํ เพ็ญประโยชน หรือการเปน ตวั อยางใหผูฟงทําตาม ในส่งิ ทเี่ หมาะสมตอ สถานการณข องบา นเมืองทีก่ าํ ลงั ขัดแยง และไมพ ดู ยัว่ ยุใหเ กดิ ความแตกแยก 4) ตองฝกใหมีพน้ื ฐานสําคัญสําหรับการเปนผูดําเนินรายการ ไดแก ตองมคี วามรู เพราะ ความรูเปนส่ิงจําเปนมากสําหรับผูดําเนินรายการ ดังนั้นจึงควรหม่ันศึกษาหาความรู ติดตามขอมูล ขาวสารเปนประจําอยางตอ เนอื่ งสมํา่ เสมอและตอ งมีความรูรอบตัวท่ีจะดําเนนิ รายการตางๆ ไดอ ยา ง ทันยคุ ทันสมยั ตอ งมลี ักษณะทางกายภาพ (Physical) ทีด่ ี เชน มีน้ําเสียงนาฟงและฟงไดชัดเจน ฟง สบาย ไมแหบแหงหรือแผวเบาจนฟงจับใจความลําบาก ตองใสใจบุคลิกภาพ หนาตา ทาทางใหดูดี เสื้อผา หนา -ผมตองสะอาดสะอาน ดเู ปนระเบียบเรียบรอยหรอื มีรูปแบบของตนเองท่ีนาชื่นชม ตองมี ความอดทน อดกล้นั กบั ทุกสถานการณใ นขณะปฏิบัติงาน ควรมสี ีหนาทาทางที่สดชนื่ ตลอดเวลา ตอง ดูแลสุขภาพรางกายใหแข็งแรงอยูเสมอในกรณีท่ีตองทํางานทุกวัน ตองสามารถควบคุมอารมณ ภายใตภาวะกดดัน ตงึ เครียดเพราะส่ือวิทยุและส่ือโทรทัศน เปน งานทีต่ องเกี่ยวพันกับเวลาที่กําหนด ไวแนน อน ดังนั้นบางคร้ังจึงมีเวลาจาํ กัดและถูกคาดหวังจากผูชมผูฟงเสมอ ตองหาประสบการณให ตนเองอยูตลอดเวลาทม่ี ีโอกาสเพ่ือใหเกิดความชํานาญมากย่ิงๆ ข้ึนไป เพราะจะสงผลตอความช่ืนชม และยอมรบั ในคณุ ภาพของการทาํ หนา ที่เปน ผดู าํ เนินรายการท่มี คี ุณภาพอยางสมา่ํ เสมอ 5) ตองฝก การใชภ าษาพูดใหถูกตองเหมาะสมและสละสลวย ดวยวิธีการทดลองทําทดลอง ใชท ดลองปฏิบัติใหบอยครงั้ และสังเกตปฏิกิริยาสะทอนกลับจากผูชมผูฟงวามคี วามพึงพอใจมากนอย หรือไม แคไหนอยางไร กอ นทจ่ี ะนํามาปรบั ปรุงการใชภาษาใหดียง่ิ ๆ ขึ้นไป 6) ตองฝกใหมีความสามารถในการส่ือสารเรื่องยากใหเปนเร่ืองงาย เพ่ือใหผูชมผูฟง สามารถเขาใจไดทันที เพราะขอมูลในบางเหตกุ ารณอาจเปนเร่ืองทเี่ ขาใจยาก มคี วามซบั ซอน ดังน้ัน ผูดําเนินรายการตองทําความเขาใจมาเปนอยางดีและตองฝกใหตนเองสามารถถายทอดใหผูอ่ืนฟงได อยา งงา ยดาย เชน อาจใชว ิธีการการอุปมาอปุ มัย อาจใชการเปรียบเทยี บกับตวั ละครหรือเรอื่ งราวใน ละครที่กําลงั ไดรับความนยิ มอยใู นขณะนัน้ เปน ตน 13

7) ตอ งฝก ความสามารถในการอานจิตใจของผูคน และสามารถเขาใจสภาพจิตใจของผูคน ทแี่ ตกตา งกนั ได เพราะถา สามารถทําไดอ ยางคํากลา วที่วา “รูเขารูเรา รบรอยครั้งชนะรอยคร้ัง” ก็จะ ทาํ ใหก ารทํางานของผดู ําเนนิ รายการเปน ไปไดอยางราบรื่นและนาสนใจ เกิดความพึงพอใจตอทุกฝาย แมบ างคร้ังอาจมกี ลุม คนทแ่ี ตกตา งกนั ตอ งเขามาอยูรว มในรายการเดยี วกนั กจ็ ะไมมปี ญหา 8) ตองฝกใหมีความใสใจและสนใจที่จะใหความชว ยเหลือผูรวมรายการในทุกกรณีอยาง เปนธรรมชาติเพอื่ แกปญหาหรือความคับของใจทีเ่ กิดข้ึนอยางกะทันหัน โดยตองเปนจิตสํานึกท่ีถูกฝก มาจนติดตัวอยูเสมอ และไมจําเปนตองรอคําสั่งจากผูบังคับบัญชาหรือเจานายท่ีตองคอยส่ังให ดําเนินการเพอื่ ชวยเหลือผรู วมรายการกอนจึงคอ ยมาทํา ซง่ึ บางกรณีอาจจะสายเกนิ ไป 9) ตองฝก ใหเปน คนท่ีมีอารมณดอี ยูเสมอ ยิ้มแยมแจมใสเพราะจะทําใหการทํางานเปนไป ดวยความสุข เน่ืองจากบางครั้งผูดําเนินรายการอาจมีปญหาที่ทําใหไมส บายใจมาจากท่ีอื่น จนจิตใจ วาวุน กระสับกระสาย ดังน้นั การฝกใหสามารถทําใจสงบและมีอารมณผ อ งใสอยูเ สมอได จะเปนการ ตัดปญหาที่ตนทางไปไดกอน สงผลใหการทํางานเปนไปอยางราบร่ืน สวนปญหาสวนตัวของผูดาํ เนิน รายการน้ันคอ ยมาหาทางแกไขหลงั จากเสรจ็ งานไปแลว 10) ตองฝก ใหมีศิลปะของการเปนผูดาํ เนินรายการที่มีอตั ลักษณ คือ สามารถนําเสนอรูปแบบ การทาํ งานทรี่ ูว าตนเองมพี รสวรรคใ นดา นนั้นๆ ในแนวทางนน้ั ๆ เชน สนุกสนานเฮฮาหรือเครงขรึมนาเกรง ขาม โดยตอ งสามารถนําออกมาใชงานใหถกู จงั หวะและเหมาะสมอีกดวย เพราะการฝกฝนหรือพรแสวง (Practice) เปนสิ่งจําเปนทจ่ี ะทําใหผูท่ีตองการเขามาทํางานใน ตําแหนง นกี้ ลายเปน คนมีคุณภาพได จึงตองไมล ะเลยทีจ่ ะทําการฝกฝนอยูตลอดเวลาเม่อื มีโอกาสในการไข วาควาหาความรูและทักษะใหกับตนเองอยูเสมอ เนื่องจากผูดําเนินรายการเปรียบเสมือนยี่หอหรือตรา สัญลักษณข องสถานี (Brand of station) จึงตองพัฒนาตนเองเพื่อใหเปนที่ช่ืนชมและยอมรับของผูชมผูฟง มี ความสัมพันธอันดีกับผูชมผูฟง เพราะยิ่งไดรับการยอมรับมากเทาไร ก็จะยิ่งทําใหเกิดความมั่นคงในการ ประกอบอาชีพ โดยเฉพาะควรประพฤติตัวดีในทุก ๆ ดาน รวมทงั้ สามารถทาํ งานเปนทีมได เขาใจบทบาท ของตวั เองกับการประสานงานกับทมี งานเปน อยางดี 14

เคลด็ ลับการฝกเปน ผดู ําเนนิ รายการท่ีสําคญั 1) ควรคดิ ใครค รวญ สงั เกตอยางตั้งใจจริงเพอ่ื คน หารูปแบบของการเปนผดู าํ เนิน รายการทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองหรือเหมาะกบั ประเภทรายการท่ีตอ งรบั ผดิ ชอบ 2) คนหารปู แบบเสียงของตวั เองหรอื การตองใชเ สยี งเพ่ือสวมบทบาทของผูอืน่ 3) ตองอานบทเพ่ือการเตรียมตัวมากอน ตองทําความเขาใจเนื้อหาในบทและทํา เครือ่ งหมายเพื่อชวยในการอานบทใหถ กู ตอง เชน การเวนวรรคตอน การสะกดคํายากตา งๆ เปน ตน 4) ถาตองมีการพูดหรอื บรรยายโดยไมม บี ทที่เขยี นลวงหนาเอาไวใ ห ตอ งเลือกใชคาํ ใหเ หมาะกบั ผูรับสารและประเภทรายการทแี่ ตกตางกนั ไป เชน รายการสาํ หรับเดก็ วัยรุน รายการ สาํ หรับผใู หญวยั ทาํ งาน เปนตน 5) ควรเขา ใจและใชภ าษาใหเ หมาะสมกบั เนอื้ หาถูกตอ งเหมาะสมกบั ยคุ สมยั เพราะภาษา มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังน้ันบางคาํ สะกดอาจมีการปรับแกไขการออกเสียง หรือ มีคาํ ใหมที่ นยิ มใชก นั โดยท่ัวไปในปจจุบนั ซง่ึ ผูดาํ เนนิ รายการควรทราบและนํามาใชใหเขากับสถานการณเพื่อทํา ใหผ ฟู ง เกดิ ความสนใจและรสู ึกไดว าผูดําเนนิ รายการเปน คนทันยุคสมยั 6) อยา ทํางานเหมือนกับเปนมอื สมคั รเลน เพราะจะสงผลทําใหผ รู บั สารรสู กึ ไมม ่ันใจ ในขอ มลู ขาวสารทผี่ ดู ําเนินรายการนาํ เสนอ ดงั นั้นทกุ คร้ังที่ปฏิบัติหนา ทีต่ องเตรียมพรอมใหมากทสี่ ุด สิง่ ทค่ี วรหลกี เล่ียงคอื กลา วออกตวั ขออภยั ตง้ั แตเ ริ่มตน เชน “……..วันนต้ี อ งขอโทษทา นผูม เี กียรติทุก ทา นดว ย เพราะกระผม/ดฉิ ัน ยงั ไมทราบขอมลู เกยี่ วกับเรอ่ื งท่ีจะพูดมากอ นเลย แตจ ะลองนําเสนอไป กอ นนะครับ/คะ…….” (วลรี ัตน คงแกว 2553) ถา เปนเชนนผี้ ูฟง จะรสู กึ ไมอยากฟงทนั ทเี พราะคิดวา ผดู ําเนินรายการไมใ ชมืออาชพี ในการทาํ งานนี้ จากขอมูลท่ีกลาวมา จะพิจารณาไดถึงความหมายโดยรวมของผูประกาศและผูดําเนิน รายการน้ัน ยังมีความเกย่ี วของทเี่ ปน ลักษณะของการปฏบิ ัติหนาที่แบบเดียวกันหรือคลายกันหรือ คาบเกี่ยวกนั กับการทําหนาทข่ี องผเู ปน “โฆษก พธิ ีกร” อกี ดว ย ผเู ขยี นจึงขอนําเสนอเนื้อหาสาระ ทเ่ี กย่ี วของสมั พนั ธกนั ดังน้ี ความหมายของคําวา “โฆษก” หรือในภาษาอังกฤษใชคําวา Announcer (เชนเดียวกับคาํ วาผูประกาศ นอกจากนั้นยังใชคําวา spokesman, spokesperson, broadcaster, speaker และ spokesman) โดยมีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (กนกรัตน พรประเสริฐ 2558) ท่ีไดใ หความหมายของโฆษกไวว า คอื 15

“ผูประกาศ ผูโฆษณา เชน โฆษกสถานีวิทยุหรือผูแถลงขาวแทน เชน โฆษกรัฐบาล หนาท่ีหลักของโฆษก คือ การประกาศขอความตามท่ีมีผูกาํ หนดไว ไมไดม ีสวนรวมในการดําเนิน รายการโดยตรง………คําน้ีเก่ียวขอ งกบั คําวา “โฆษณา” ซ่ึงหมายถึง ปาวรอ ง ปาวประกาศ หรือ การกระทาํ อยา งใดอยา งหน่งึ ใหคนทั่วไปไดเห็นหรือทราบขอ ความหรือเร่ืองราวท่ีตอ งการโฆษณา การโฆษณามกั จะเสนอแตส่งิ ทดี่ ี เพราะมีจุดมุงหมายใหคนสนใจและตองการซื้อสินคาหรอื บริการ นั้น จุดมุงหมายดังกลาวสะทอน ใหเห็นในหนาท่ีของโฆษกโดยทั่วไปท่ีจะคอยนําเสนอขอมูลท่ี เสริมสรา งภาพลักษณทด่ี ีของผลติ ภณั ฑหรอื องคกรของตนเอง” ภาพที่ 1.6 แสดงการทาํ หนา ทีเ่ ปนโฆษก/พิธีกรของผเู ขยี นในงานคนื สเู หยาคูกบั โฆษก/พิธีกรหญิงอกี 1 คน โดยตองทําหนา ทใ่ี หขอมลู รายละเอียดของกิจกรรมตางๆ ทจี่ ะเกดิ ขึ้นบนเวที รวมท้งั เชญิ ชวนผดู ผู ชู มใหเ กิดความรูสกึ เพลิดเพลนิ และไดประโยชนจากขอ มูลที่ นาํ เสนอ ที่มา: ณัฐนันท ศริ เิ จริญ (2558) ความหมายของคําวา “พิธีกร” น้ันหมายถึง “ผูดําเนินการในพิธี โดยปกติผูทํา หนาท่ี “พิธีกร” จะเปนบุคคลท่ีรับผิดชอบดานพิธีการ มีหนาที่ดําเนินรายการใหเปนไปตาม ขนั้ ตอนทเ่ี ตรียมไวแ ลว” 16

คําวา “พิธกี ร” ในภาษาอังกฤษใชคาํ วา Master of Ceremonies โดยมักใชคาํ เรียก ยอวา “เอ็มซี” (MC) ซึ่งใน The Free Dictionary by Farlex (American Heritage® Dictionary of the English Language, Fifth Edition. Copyright © 2011) ไดใ หค วามหมายไววา 1) “A person who acts as host at a formal event, making the welcoming speech and introducing other speakers.” คือ คนที่ทําหนาที่เปนเจาภาพในการจัดงาน อยางเปนทางการ เปนผูกลาวตอนรับและแนะนําผพู ูดคนอ่นื ๆ และ 2) “A performer who conducts a program of varied entertainment by introducing other performers to the audience.” คือ ผูแสดงที่ทําหนาท่ีดําเนินการตามโปรแกรมความบันเทิงที่หลากหลาย แตกตา งกนั โดยการแนะนําผูแสดงอน่ื ๆ ใหกับผชู ม” นอกจากนั้นพิธีกรยังทําหนาที่เปนผูดําเนินการในพิธี เชน พิธีกรในงานมงคลสมรสหรือผู ดําเนินรายการ เชน พิธีกรในการอภิปราย พิธีกรงานมอบรางวัล ผทู ่ีเปนพิธกี รจะมสี วนรวมในการ ดาํ เนนิ พิธนี ั้นๆ โดยตรง และตองเปนผูที่มีความรูความสามารถที่จะควบคมุ ใหรายการดําเนินไปอยาง เรียบรอย เมอ่ื พิจารณาโดยสรปุ รวมแลว ทาํ ใหเหน็ วา “ผปู ระกาศ ผูดําเนนิ รายการ โฆษก พธิ ีกร” นนั้ มีความหมายคลา ยคลึงกันมาก คือ หมายถึง “ผูท่ีมีหนาที่ประกาศหรือพูดท้ังในสื่อหรือในงานกิจกรรมตางๆ เชน งานสัมมนา งาน แถลงขาว งานพิธีการ งานกิจกรรมทางการรณรงคประชาสัมพันธ กิจกรรมทางการโฆษณา กิจกรรมทางการตลาดสงเสริมการขาย ฯลฯ จะมีความแตกตางกันเล็กนอยในแงของรายละเอียด ภาระหนาที่และโอกาสท่ีจะใชเรียกผูทําหนาท่ีเหลานี้วา มาทํางานเปนผูประกาศ เปนผูดําเนิน รายการ เปนโฆษก เปน พธิ กี ร เทานั้น” จากขอมูลทั้งหมดท่ีนําเสนอมา จึงสามารถสรุปไดโดยรวมวา ผูที่ทําหนาท่ีเปน “ผู ประกาศ ผูดําเนินรายการ” กับผูที่ทําหนาท่ีเปน “โฆษก พิธีกร” นั้นมีภารกิจหนาที่ใกลเ คียงกัน หรือคลายกันมากหรือในบางภารกิจน้ันกเ็ หมือนกันเลย จนแทบไมสามารถแยกภาระหนาที่อยาง หน่ึงอยางใดออกมาโดยเด็ดขาดได เพราะในยุคปจจุบันนี้คนท่ีทําหนาท่ีผูประกาศและผูดําเนิน รายการ โฆษก พิธีกร ตองมีความสามารถในการทําหนาที่ในทุกๆ สถานะใหไดในคนเดียว คือ สามารถทํางานแบบบูรณาการเนื้อหาสาระรายละเอียดในแตละข้ันตอนในแตละกิจกรรมของงานให สอดคลอ งเขากันได โดยใชค วามสามารถบริหารจัดการภาระงานเหลาน้ันดวยตนเองเพียงคนเดียวใน การเปน ทั้งผปู ระกาศ ผูดาํ เนินรายการ โฆษก พิธกี รในคราวเดยี วกัน สําหรับการทําหนาท่ีเปนโฆษก พิธีกร น้ัน ยังมีหลักการในการปฏิบัติภารกิจเพ่ือพัฒนาการ ทาํ หนา ทใี่ หม ีคุณภาพเต็มท่ี โดยพรชยั พรภาพันธ (2552) นําเสนอการใชหลกั การ “ต-ป-ศ-ก” ดังนี้ 17

ตารางท่ี 1.1 แสดงรายละเอียดหลกั การใช “ต-ป-ศ-ก” หลักการใช “ต-ป-ศ-ก” ในการเปนโฆษก พธิ กี ร ต หมายถึง เตรียมการ เตรยี มตวั เองใหพรอมดวยรางกายทแี่ ข็งแรง จิตใจสงบไมฟุงซา น เตรียมศกึ ษาบทและส่ิงท่ตี องการอานและพูดนาํ เสนอทั้งหมดของงาน เตรียมเรอ่ื งราวสาระในการนาํ มาพูดเพอ่ื สรางบรรยากาศของงานใหมคี ุณคา ป หมายถึง ประสานงาน โดยประชมุ หารือกับผเู ก่ยี วของทุกฝา ย รับรูถึงการจัดสรรแบง งานใหผ รู ับผิดชอบฝา ยตางๆ ตอ งทราบวาใครทําหนา ท่ีอะไร อยูต รงไหน เมอื่ ไร ตดิ ตอไดอยา งไรเมือ่ ตอ งการความชวยเหลือหรือขอขอมูลเพ่ิมเตมิ จะไดประสานงานไดถ ูกคนถูกฝา ย ศ หมายถึง ศึกษาหาความรูเพ่ิมเตมิ เชน ถาเปนพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร จะตอง ทราบวา ขนั้ ตอนท่ี 1 คอื อะไร ขั้นตอนที่ 2 และ 3 คืออะไร อะไรควรทาํ อะไรควรละเวน อะไรท่ีตอ งพดู และอะไรท่ีไมควรพดู เปน ตน ก หมายถึง แกไข ในการทํางานแตละคร้ัง หากเกิดขอผิดพลาด ภายหลงั จบงานแลว ใหทบทวนประเมินผลการทํางาน เพือ่ ปรับปรุงแกไขในครง้ั ตอ ไปใหดีข้นึ ระมดั ระวังไมใหเ กิดขอ ผิดพลาดซ้าํ เดมิ ขึ้นอีก นอกจากนั้น วรรณภา วรรณศรี (2552) ยังไดน ําเสนอแนวปฏิบตั อิ น่ื ๆ สําหรบั การเตรยี มตวั และวธิ ีการนาํ เสนอขอมูลขาวสารเพอื่ การเปนโฆษก พธิ กี รทีม่ คี ณุ ภาพ ดังน้ี 1) ตองเตรียมตัวใหพ รอมเสมอทุกสถานการณ 2) ตองเตรียมขอมูลที่ดีและหลากหลายรอบดา น 3) ตองเตรียมทาทใี หสงา หนาตาสขุ มุ นาเช่อื ถอื นามองนา รับฟงรบั ชม 4) ตอ งเตรียมบทพูดทักทายทก่ี ระตุนความรสู กึ สดชืน่ ไมเนือยไมน าเบื่อ 5) ตองเตรียมการเริ่มตน รายการใหโ นมนาวใจผรู บั ฟงรบั ชม 6) ตองใชว ธิ กี ารเลาเรอ่ื งราวใหกระชับ ไมเ ย่ินเยอ 7) ตอ งสังเกตปฏกิ ิริยาของผูฟ งผชู มวานา จะรสู ึกอยางไร 8) ตอ งเปลง เสียงดงั ใหพอดี 9) ตอ งระวังใหด ีอยาใหม ีเอออา 10) ตองทาํ หนาตายม้ิ แยม แจมใส 18

คุณลักษณะพึงประสงคข องโฆษก พธิ กี ร เนอ่ื งจากในงานพธิ กี ารตา งๆ นนั้ ผมู ารว มประกอบพิธที ุกคนจะมงุ ความสนใจไปท่ีจุดเดยี วกนั คือ โฆษก พิธีกร เพราะตองการทราบวาจะเรม่ิ อยางไร จะดาํ เนินการอยางเปนข้นั ตอนอยางไร จะจบ อยา งไร ดงั นั้นโฆษก พิธีกร จึงเปนจดุ เดน ของพิธีการนนั้ ๆ จงึ ตอ งมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ดังนี้ 1) ดา นบุคลิกภาพ -มีบคุ ลิกภาพซ่ึงผฟู ง ผชู มเหน็ แลวรสู ึกสบายตาสบายใจ เพราะมสี ีหนา ทแ่ี สดงความสดชื่นเบิก บานแจม ใสนา มอง -มีรสนยิ มในการแตงกายเรยี บรอยสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ ไมร มุ รา ม ไมใสเ ส้ือผา สบายๆ เกินไปเหมอื นอยูบ านหรอื เหมอื นกําลงั จะไปจายตลาด -มีกิรยิ าทาทางทใี่ ครพบเหน็ แลว จะรูสกึ วา เปนคนทม่ี ีความกระตือรือรน คือ ดูมีความ กระฉับกระเฉงมีชีวติ ชวี า แตไ มใ ชค ลอ งแคลว จนดเู หมอื นลุกล้ลี ุกลน -มีใบหนา ท่ียิม้ แยม อยูเ สมอหรอื ตามสมควร คอื ไมม ากไปหรือนอ ยไปแตต องพอดีๆ -มีสายตาท่ีมองผูอ่ืนอยา งเปน มติ รเปน เพื่อนกันเปน ญาตกิ ัน จงึ จะทําใหจิตใจผองใส -มีทาทีนุมนวลและใครพบเจอก็อยากจะเขา มาพดู คยุ ดวย -มคี วามทรงจาํ ดี เพราะตอ งพบเจอกบั ผคู นมากหนาหลายตา จึงตอ งพยายามใชค วามจําเพอ่ื จดจําชื่อคน จดจําขอมลู ตา งๆ ทจ่ี ะสามารถนํามาพดู คุยกับบุคคลเหลา น้ันไดทันที 2) ดา นการพูด -มีความรเู บื้องตน เกยี่ วกบั การพดู เชน การทกั ท่ีประชมุ การพูดใหสละสลวย -มีการพูดเช่ือมโยง ไมพดู หวนๆสน้ั ๆ เกนิ ไปหรือไมม ขี ยะถอยคาํ มากเกินไป -มีวิธกี ารพูดท่ไี มมากเกนิ ไปหรือนอยเกินไป ไมพดู วกวน -มวี ธิ กี ารพูดที่ไมดูทาทเี ครงเครียดเปน ทางการเกนิ ไป -มีลูกเลน หรอื มุกตลกประกอบบางในบางโอกาสทีเ่ หมาะสม -มีวธิ กี ารพดู ท่ฟี ง แลวไมเ หมือนพูดพลามหรอื เพอ เจอเกนิ ไป -มวี ธิ กี ารนําเสนอขอมลู ขาวสารทไ่ี มดเู หมือนเปนการอานขอความมากกวาการพูด 3) ดานปฏภิ าณไหวพริบและจิตใจ -มีปฏภิ าณไหวพริบและแกป ญหาเฉพาะหนาไดด ี -มีความสามารถในการปรบั ตัวไดตามสถานการณ -มีจิตใจทสี่ ขุ ุมเยือเย็น -มคี วามสามารถในการควบคมุ อารมณไดดหี รือมสี มาธดิ ี 19

4) ดา นความรคู วามสามารถ -มคี วามรูในเร่ืองพธิ กี ารท่ตี นดําเนินการอยูอยา งครบวงจร -มีความความมน่ั ใจหรอื เช่ือมั่นไมประหมา -มคี วามสามารถในการบรหิ ารหรอื การจัดการ เชน การวางแผนงาน การเตรยี มงานในระยะ สัน้ ระยะยาว การเตรียมงานในระยะกระชน้ั ชดิ การมอบหมายงานใหผอู ื่นชว ยประสานงานในจดุ ตางๆ เพ่ือใหเ กิดความมั่นใจในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ ความรู ความสามารถเหลา นจ้ี ะเกดิ ขน้ึ ได กต็ องอาศัย การศกึ ษา การแสวงหาความรู และสังเกตจากการจัดงานท่ีแทจ ริง แลวนาํ มาสรปุ เปน องคค วามรขู อง ตน สรา งความเชอ่ื มนั่ ใหแ กต นเอง เพราะจะเกิดผลดีแกต นเองรวมทงั้ การจัดงานนน้ั ๆ สําหรบั “บทบาทหนา ทีข่ องโฆษก พธิ ีกร” ประกอบไปดว ย 1) การเปน ผใู หขอ มลู แกผ ฟู ง/ผชู ม/ผูเขา รว มพิธี โดยอยางนอ ยจะตองมกี ระบวนการ ตามลําดับ ในแตล ะกจิ กรรม ดังนี้ -แจง กาํ หนดการ -แจงรายละเอยี ดของแตล ะรายการ -แนะนํา ผูพูด ผแู สดง ผดู าํ เนนิ การอภปิ รายและอืน่ ๆ 2) เปน ผเู ริ่มกจิ กรรม/งาน/พิธี/รายการ เชน -พูดทักทาย ตอ นรับเชญิ เขาสงู าน -เชิญเขาสูพธิ ี ดาํ เนินรายการตางๆ แลว แตกจิ กรรม -เชญิ เปดงาน – ปดงาน 3) เปน ผูเชอื่ มโยงกิจกรรม/งาน/พธิ /ี รายการตางๆ เชน -พดู เชอ่ื มโยงเหตกุ ารณตามลําดบั -แจงใหท ราบเม่ือมีการเปล่ยี นแปลงกําหนดการ -แจง ขอความรว มมือ -กลา วเช่อื มโยงรายการใหชวนตดิ ตาม 4) เปนผูสงเสริมจุดเดน ใหง านหรอื กจิ กรรมและบุคคลสําคัญในงานหรือรายการ เชน -พดู ยกยองสรรเสรญิ ชื่นชมบคุ คลสําคัญที่เก่ยี วของในพิธี -พดู ถงึ จุดเดน ของงานพธิ ีนัน้ ๆ -กลาวแจง ผลรางวลั และการมอบรางวลั 5) เปน ผทู ี่สรางสสี นั บรรยากาศของงาน/ พธิ /ี รายการ เชน -ใหข อ มูลที่นาสนใจเพ่ิมเติมเปน ระยะ -มีเรือ่ งราวทนี่ าํ เสนอท่ีเปน อารมณขันสอดแทรกเปน ระยะๆ 20

6) เปนผเู สริมสรา งความสมานฉันทใ นงาน/กลุมผรู ว มงาน เชน -พูดละลายพฤติกรรม -พูดจงู ใจใหเ กิดความรักความสามคั คี 7) เปน ผเู ติมชอ งวางและแกปญ หาเฉพาะหนาในงานพธิ ีตางๆ เชน -พดู ช้ีแจงกรณบี ุคคลสําคัญไมสามารถมารว มงานพิธตี างๆ ได -พูดทาํ ความเขา ใจกรณเี กิดเหตกุ ารณท ี่ตอ งเปลี่ยนแปลงกําหนดการตางๆ ขอ ควรปฏิบตั สิ าํ หรับการทําหนาที่โฆษก พธิ กี ร ประกอบดวย -การทาํ จิตใจใหมีสมาธิสงบน่งิ ไมตนื่ ตกใจ ทําจติ ใจใหผอ งใสผอนคลายใหรูสกึ สบายๆ กอนปฏิบัตหิ นา ท่ีในเวลาจรงิ -การจัดสรรเวลาเดนิ ทางใหไ ปถึงสถานท่ีบรเิ วณจัดงานกอนเวลาเสมอ -การซกั ซอมบททจ่ี ะตองพดู ตอ งอานกอนเวลาตอ งทํางานจรงิ เพอ่ื ทําความเขาใจให ถองแทและทบทวนกับผูจัดงานวาลาํ ดับขัน้ ตอนถกู ตองตามทว่ี างแผนไว -การคิดพจิ ารณาวา ขอมลู ที่ไดรบั มาน้นั เนอ้ื หาขอเท็จจริงถูกตอ งหรอื ไม ดังนนั้ จึง ตอ งมีความรรู อบตัวและหาขอมูลประกอบทุกครั้งในการปฏิบตั หิ นา ทใี่ นแตละงาน ซงึ่ จะมขี อมูลท่ี แตกตางกันไป ในฐานะของโฆษก พธิ กี ร จึงไมควรพูดหรืออา นขอมลู ใดที่ไมถกู ตอง เพราะจะทําให เสยี ความนาเชอื่ ถือ เนือ่ งจากตนเองไมไ ดต รวจสอบความถูกตอ งของขอมลู ทจ่ี ะนําเสนอกอ น ขอ ควรระวงั สําหรับการทาํ หนาทโ่ี ฆษก พธิ กี ร ประกอบดว ย -ตอ งเดนิ ทางไปถงึ งานหรือหอ งออกอากาศกอนเวลาพอสมควร เชน 15 – 30 นาที เปน อยางนอย เพ่ือเตรียมประชมุ หารือกับทีมงานในลําดบั ขั้นตอนตา งๆ ของงาน เพื่อใหเ กิดความ เขาใจที่ถูกตองตรงกนั ทุกฝาย -ตองซักซอมสคริปตหรือบทพูดตา งๆ ท่ไี ดเตรยี มไวอ ยางรอบคอบ ศึกษาและอา นทํา ความเขาใจจนตนเองเขา ใจในวตั ถปุ ระสงคข องงานทั้งหมด สามารถทจ่ี ะวาดมโนภาพของงานไดใน สมองตัง้ แตตนจนจบงานวา จะออกมาในรปู แบบใด -ตองตรวจสอบคุณภาพเสียงจากไมโครโฟน ระยะหางใกลไกลจากไมโครโฟนที่ เหมาะสมเพ่อื ที่จะไมใ หเสยี งที่พูดออกมาเบาเกนิ ไปหรือดงั จนเกินไป -ตองระวังไมใ หเอยช่ือ นามสกลุ ของเจา ภาพและแขกรับเชิญภายในงานผิดพลาด -ตอ งไมกังวลกับบทหรอื สครปิ ต (script) จนทําใหมวั แตกมหนาอา นบทและพูด จน ลืมทจี่ ะเงยหนา ขึน้ มาสบตากับผดู ู ผชู มบา ง เพราะการทาํ เชน นัน้ จะทาํ ใหดไู มเ ปน มืออาชพี หรือ เหมอื นไมไดเตรียมตวั มาลว งหนา เลย -ตอ งฝก การออกเสียงในคาํ ท่ีตนเองรูต ัววาออกเสียงไมถนัดใหเ กิดความคนุ เคยและ สามารถพูดออกมาไดทุกคร้งั อยางม่ันใจและถูกตองตามอกั ขรวิธี 21

-ตองมีสมั มาคารวะ มีความนอบนอ มถอมตน ไมมีกิรยิ ามารยาทท่ีแข็งกระดาง รูจ กั กลาวคําขอบคุณและขอโทษตามสถานการณท เี่ กดิ ข้ึนจริง ถือเปนเสนห ประจาํ ตวั เมื่อมผี ูพบเห็น -ตอ งดแู ลบุคลิกภาพ เสือ้ ผาใหดูดีอยูเสมอ เพ่ือความนา เชื่อถือและนามองในขณะ ปฏิบตั ิหนา ท่ี -ตองบรหิ ารจัดการและควบคมุ เวลาในการทํางานทกุ ขัน้ ตอน คือ เวลาซกั ซอมทํา ความเขาใจกอ นงานเร่มิ และขณะปฏบิ ตั ิหนา ท่ีตามกําหนดการอยางรัดกมุ เครงเครียด เพ่ือใหร ายการ กจิ กรรมตา งๆ เปน ไปตามท่ีทมี งานวางแผนไว -ตองแสดงออกกบั ผูท่มี ารว มงาน ผูชมผฟู ง อยา งสุภาพและใหเกยี รติ ราเริงแจม ใส ใหความเปนกันเอง -ตอ งพรอมเผชญิ กับปญ หาเฉพาะหนา อยางสุขุมไมตน่ื ตกใจ -ตองทาํ หนา ทีใ่ นการพดู เสรมิ จดุ เดน ของคนอื่นไมใชของตนเองเพอ่ื ใหผ ูอนื่ มคี วามสุข -ตอ งพยายามอานและจดจําสุภาษิตหรือคําคม คําพังเพยท้งั ของไทยหรือ ตางประเทศเพอื่ นํามาใชพ ูดในชวงเวลาท่เี หมาะสมในการสรางบรรยากาศแหงความซาบซง้ึ หรือปลกุ เราจิตใจผชู มผฟู งใหร สู กึ มพี ลังเขม แขง็ เปน การสรางความประทับใจอกี ประการหนึ่ง สรปุ เนื้อหาสาระในบทน้ี คอื นักศึกษาไดเรียนรูและเขาใจความหมายภาระหนาท่ีของผูประกาศและผูดําเนินรายการได อยางลึกซ้ึง รวมไปถึงผูประกอบอาชีพท่ีมีชื่อเรียกคาบเก่ียวกัน คือ โฆษก พิธีกร และแมวาช่ือท่ีใช เรียกขานในแตละสถานการณนั้นจะแตกตางกันไป แตในทางปฏิบัติกลับมีภารกิจท่ีเกี่ยวโยงสัมพันธ ซ่ึงกันและกันอยางกลมกลืนจนเกือบจะเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน นอกจากนั้นนักศึกษายังไดทราบถึงเทคนิควิธีการพื้นฐานสําหรับการนําไปใชฝกฝนพัฒนา ทกั ษะของตนเองเพอ่ื ใหม คี วามพรอมทง้ั สภาพจิตใจท่จี ะปรากฏออกมาเปนความเช่ือม่ัน ความมีสมาธิ มีสติปญญา ปฏิภาณไหวพริบเม่ือเวลาปฏิบัติงาน และความพรอมของสภาพภายนอกที่จะปรากฏ ออกมาใหท ุกคนไดเ ห็นเปนบุคลิกภาพการแสดงออกตางๆ ในการปฏิบตั หิ นาที่เหลา นี้ รวมท้ังเนื้อหาที่จะเปนการกระตุนเตือนนักศึกษาใหตองใฝหาความรูที่เปนขอมูลขาวสารซ่ึง ทันสมัยทันสถานการณของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา โดยสามารถนําขอมูลท่ีเรียนรูใน รายวิชาน้เี อาไวไปใชประโยชนไดอยางเปนรูปธรรมในการออกไปปฏิบัตหิ นาท่ีจริงกับองคก รส่ือตางๆ อยา งมอื อาชีพทุกครั้ง 22

ภาพท่ี 1.7 แสดงใหเหน็ ถึงบรรยากาศการทาํ หนาทซ่ี ง่ึ มคี วามเกย่ี วของหรอื สัมพนั ธกัน ของผูป ระกาศ/ผูดาํ เนนิ รายการรวมท้งั การเปนโฆษก/พิธีกร ที่มาของภาพโดย ณัฐนนั ท ศริ เิ จรญิ (2554) 23


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook