รายวชิ า กลุ่มบรู ณาการ (แกนหลักประวตั ิศาสตร)์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ผูส้ อน ครูพจนีย์ รักษาราษฎร์ เรื่อง การแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ (การนับชว่ งเวลา)
หนว่ ยยอ่ ยที่ 1 ยอ้ นรอยไทย หนว่ ยยอ่ ยที่ 2 ภมู ิใจในท้องถนิ่ หนว่ ยย่อยที่ 3 แผ่นดินไทยแผน่ ดนิ ทอง
แผนที่ 1 เจาะเวลาหาอดีต แผนที่ 2 ย้อนรอยอดีต แผนท่ี 3 ความเป็นมาของท้องถ่นิ แผนท่ี 4 ทอ้ งถน่ิ ของเรา
แผนที่ 1 พฒั นาการของมนุษย์ แผนท่ี 2 อาณาจกั รไทยและประเทศเพ่ือนบา้ น แผนท่ี 3 อทิ ธพิ ลของประเทศเพ่ือนบ้าน แผนที่ 4 ความเหมือนและความแตกตา่ งของ ไทยกบั ประเทศเพื่อนบ้าน
๑. ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ศิลปกรรมแบบ ละโว้ได้รับอิทธิพลจากขอม จากขอ้ ความเปน็ เหตกุ ารณ์ ท่อี ยู่ในช่วงเวลาใด ก. พ.ศ. ๑๕๐๑ – พ.ศ. ๑๖๐๐ ข. พ.ศ. ๑๕๐๐ – พ.ศ. ๑๖๐๐ ค. พ.ศ. ๑๖๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐ ง. พ.ศ. ๑๖๐๑ – พ.ศ. ๑๗๐๐
๒. พระยาลไิ ทยทรงเป็นพระมหากษัตริยล์ าดบั ที่ ๖ สมัยสโุ ขทยั ทรงข้ึนครองราชย์ระหวา่ ง พ.ศ. ๑๙๑๑ – ๑๙๔๒ จากข้อความช่วงเวลาดงั กล่าวตรงกับข้อใด ก. พุทธศตวรรษที่ ๑๘ ข. พุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ค. พุทธศตวรรษที่ ๒๐ ง. พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑
๓. การศกึ ษาหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรใ์ น ภาคต่างๆ มีประโยชนอ์ ยา่ งไร ก. รจู้ กั ประวตั ิบุคคลสาคญั ข. ทาให้รกั ประเทศชาติมากขนึ้ ค. ใชเ้ ปน็ แบบอย่างในการดาเนินชีวติ ง. เขา้ ใจวถิ ีการดาเนนิ ชวี ิตของมนุษยใ์ นอดตี
๔. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีพบในทอ้ งถน่ิ ขอ้ ใด แสดงถงึ พัฒนาการของมนุษย์ ก. ภาชนะดนิ เผา ข. ไม้กลายเป็นหิน ค. โครงกระดกู มนุษย์ ง. โครงกระดูกไดโนเสาร์
๕. นักเรียนจะนาขน้ั ตอนทางประวัติศาสตรไ์ ป ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั อย่างไรจงึ จะเหมาะสม ทส่ี ดุ ก. การทาปฏิทนิ แจกเพอ่ื นและครูในวันปใี หม่ ข. การทารายงานประกอบการเรยี นวชิ าต่าง ๆ ค. การบนั ทึกเร่อื งราวชวี ติ ของตนเอง ง. การทาตารางการอา่ นหนงั สอื เรียน
๖. การไปห้องสมุดเพื่อหาหนงั สือเกยี่ วกบั อาชีพในสมยั รชั กาลท่ี ๕ เปน็ การศกึ ษาหาข้อมูลทางประวตั ศิ าสตร์ ข้ันตอนใด ก. ตีความหมายของขอ้ มลู ข. กาหนดหัวข้อในการศกึ ษา ค. นาเสนอขอ้ มลู ดว้ ยรูปแบบรายงาน ง. รวบรวมขอ้ มูลหลกั ฐานจากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ
๗. ขอ้ ใดเป็นความสาคญั ของการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ ก. ทาใหผ้ ู้อ่นื นับถอื ข. ทาให้คนมฐี านะดีขึ้น ค. ทาให้พัฒนาประเทศได้อยา่ งรวดเร็ว ง. ทาใหร้ คู้ วามเปน็ มาของเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ
๘. ถา้ ต้องการศกึ ษาข้อมลู เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธ์ของ กษตั ริย์สยามกบั ทวีปยุโรปควรศึกษาจากหลกั ฐานในข้อ ใด ก. พระบรมราชานุสาวรยี ร์ ชั กาลที่ ๑ ข. สมดุ ภาพไตรภูมพิ ระร่วง ค. พระราชนิพนธ์ไกลบ้าน ง. สนธิสญั ญาเบาว์ริง
๙. แหล่งข้อมลู ประวัตศิ าสตรข์ ้อใดท่ี ต้องเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยการสมั ภาษณ์ ก. พพิ ธิ ภัณฑ์ในจงั หวัด ข. โบราณสถาน ค. หอ้ งสมดุ โรงเรียน ง. บคุ คลซ่งึ เป็นผู้รูเ้ ก่ยี วกับประวตั ิศาสตร์
๑๐. การนาเสนอขอ้ มลู ในขอ้ ใด เหมาะสมทีส่ ดุ ก. เสนอข้อมลู ท่ีเป็นความคดิ เห็นส่วนตัว ข. นาเสนอขอ้ มลู โดยยดึ จากหลักฐานเพยี งชน้ิ เดียว ค. นาข้อมลู มาแตง่ เปน็ นทิ านเพ่ือใหเ้ กิดความสนุกสนาน ง. นาเสนอข้อมูลตามความเป็นจรงิ และใช้ภาพประกอบที่ น่าสนใจ
ก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบรุ ี สมัยรตั นโกสนิ ทร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: