รอบรวั้ ภาค 2 ฉบบั ที่ 2 ประจาปี 2564 (เมษายน – มิถนุ ายน)
PEA สายงานการไฟฟ้าภาค 2 หนา้ 1 รว่ มทานุบารงุ พระพทุ ธศาสนา วนั ท่ี 3 เมษายน 2564 นายสฤษด์ิ วิฑูรย์ ผ้วู ่าราชการจงั หวดั อุบลราชธานี เป็ นประธานในพิธี เคลื่อนย้ายรูปหล่อ หลวงป่ ูมนั ่ ภรู ิฑตฺโต โดยมี นายณัฐวรรธน์ อคั รรุ่งเรืองกลุ รองผ้วู ่าการ การไฟฟ้ าภาค 2 ดร.มงคล ตรีกิ จจานนท์ ผู้ช่วยผู้ว่าการการไฟฟ้ าส่วนภูมิ ภาคเขต 2 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) จงั หวดั อุบลราชธานี พร้อมด้วยผ้บู ริหารและพนักงานสายงาน การไฟฟ้าภาค 2 ร่วมพิธี ณ อทุ ยาน บึงบวั อุบลราชธานี บ้านหนองช้าง ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี หลวงป่ ูมนั่ ภูริฑตฺโต ถือเป็ นพระอริยสงฆ์ท่ีมี ชื่อเสียงของจงั หวดั อบุ ลราชธานี เนื่องจากเป็น ผู้ศึกษาและฟื้ นฟูการปฏิบตั ิธรรมขนั้ สูงของ พระพุทธศาสนา เพ่ือประกาศเกียรติคุณและ ราลึกถึงคุณงามความดี จงั หวดั อบุ ลราชธานี จึงได้ก่อตงั้ พทุ ธอุทยาน หลวงป่ ูมนั่ ภรู ิฑตฺโต เพื่อเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้หลักวิปัสสนา กรรมฐาน การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค ได้สนับสนุน ง บ ป ร ะม า ณ ใน ก า ร เ ค ล่ื อน ย้ า ยรูป ห ล่ อ เน่ืองจากรูปหล่อเหมือนมีขนาดใหญ่ ต้องใช้ รถเครน 200 ตัน และเครื่องกลหนักหลาย ประเภทในการเคล่ือนย้าย
PEA NE1 หนา้ 2 จดั กจิ กรรม Big Cleaning Day วนั พฤหัสบดีที่ 8 เมษายน 2564 นายวิจารณ์ คลังบุญครอง ผู้ช่วยผู้ว่าการ การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคเขต 1 (ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ) จังหวัดอุดรธานี ประธานในพิธีเปิ ดกิจกรรม Big Cleaning Day ประจาปี 2564 โดยมีผบู้ ริหาร และพนักงาน กฟฉ.1 เข้ารว่ มกิจกรรมอยา่ งพร้อมเพียง นายสิรวิชญ์ ชาวงษ์ ผอู้ านวยการกองอานวยการ กฟฉ.1 กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ในการจัด กิจกรรม เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสานึกในการดูแล ด้านความสะอาดภายในสานักงาน โดยยึดหลกั กิจกรรม 5ส สะสาง สะดวก สะอาด สุขลกั ษณะ และสร้างนิ สยั
หนา้ 3 บนั ทกึ ประวัตศิ าสตร์สร้างช่ือเสียงเวทรี ะดับโลก เม่ือวนั ที่ 10 -14 มีนาคม 2564 PEA เข้าร่วมการประกวดผลงานนวตั กรรมในเวทีนานาชาติ “The 48th International Exhibition of Inventions Geneva” ณ นครเจนีวา สมาพนั ธร์ ฐั สวิส โดย กล่มุ NEW Gen Eng.(New Generation Engineers ได้สร้างช่ือเสียงประสบความสาเรจ็ คว้ารางวลั เหรียญทองจากผลงาน เคร่ืองมือตรวจสอบมิเตอรป์ ระกอบ ซี.ที.แรงตา่ (P-MAC: Power Meter And Current transformer tester) เป็ นเทคโนโลยีในการตรวจสอบมิเตอร์ ประกอบซี.ที.แรงตา่ โดยใช้เทคโนโลยีแทนการใช้บุคลากรในการวินิ จฉัยผลการตรวจสอบ ลดความผิดพลาดจากมนุษย์ (Human Error) สามารถตรวจสอบความผิดปกติของมิเตอรไ์ ด้ การประกวด “The 48th International Exhibition of Inventions Geneva” ในครงั้ น้ี มรี ปู แบบการนาเสนอผลงาน โดยการส่งผลงานผ่านคลปิ วดิ โี อสนั้ 3 นาที ซง่ึ มผี สู้ นใจสง่ ผลงานเขา้ ประกวดมากกวา่ 800 ผลงาน และมปี ระเทศเขา้ ร่วมมากกว่า 40 ประเทศทวั่ โลก โดย PEA ได้รบั รางวลั นวตั กรรม 6 รางวลั เป็นเหรยี ญทองเกียรตยิ ศ 1 รางวลั เหรยี ญทอง 3 รางวลั และเหรยี ญเงนิ 2 รางวลั ซ่งึ กลุ่ม NEW Gen Eng.(New Generation Engineers) เป็นหน่ึง ในกลุ่มทไ่ี ดร้ บั รางวลั เหรยี ญทองจากการเขา้ ประกวด มสี มาชกิ ประกอบดว้ ย 1.นายวชั รพล โพธธิ์ า วศก.6 ผบต.กฟส.ขนุ หาญ 2.นายอรรถพล สตุ นั ตงั้ ใจ วศก.6 ผปบ.กฟอ.วารนิ ชาราบ 3.นายชชั วาล ฟ้าสวา่ ง วศก.5 ผวว.กปบ.กฟฉ.2 4.นายสามารถ ทา้ วมา พชง.5 ผมต.กฟจ.อบุ ลราชธานี ทงั้ น้ีเบอ้ื งหลงั แหง่ ความสาเรจ็ ดงั กล่าว มนี ายทรงศกั ดิ์ พิกุลทอง รฝ.วบ.กฟฉ.2 (ประธานคณะทางานวิจยั และ ฝ่ ายส่งเสริมงานด้านนวตั กรรม กฟฉ.2 ปี 2563) และ คณะทางานทุกท่าน เป็นท่ปี รกึ ษาและให้คาแนะนากลุ่ม สมาชกิ เขา้ รว่ มประกวดผลงาน
หนา้ 4 วนั พฤหสั บดีท่ี 11 มีนาคม พ.ศ. 2564 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต3 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) จงั หวดั นครราชสมี า จดั พธิ ีเปิดและส่งมอบโครงการ PEA พลงั งานสะอาดเพ่อื ชุมชน สนับสนุนระบบสบู น้าด้วย พลงั งานแสงอาทติ ย์ ใหก้ บั ชุมชนบ้านตาจรู๊ก ตาบลโคกย่าง อาเภอประโคนชยั จงั หวดั บุรรี มั ย์ เพ่อื พฒั นา ศกั ยภาพในการประกอบอาชพี ของชุมชน และชว่ ยลดคา่ ใชจ้ ่าย ลดตน้ ทนุ การผลติ ของชมุ ชน โดยมนี ายมนตรี ยนั ตรวฒั นา ผชู้ ่วยผวู้ า่ การการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าคเขต 3 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) จงั หวดั นครราชสมี า เป็น ประธานในพธิ ี มนี ายกานต์ระพี ธงชยั ไตรวฒั น์ ผจู้ ดั การการไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าคอาเภอนางรอง กล่าวรายงาน และยงั ไดร้ บั เกยี รตจิ ากนายบุญเตม็ กลั ยาพานิช นายอาเภอประโคนชยั กล่าวตอ้ นรบั และขอบคณุ PEA พรอ้ ม ดว้ ยหวั หน้าสว่ นราชการทอ้ งถน่ิ ผนู้ าชมุ ชน และประชาชน เขา้ รว่ มในพธิ ฯี โครงการ PEA พลงั งานสะอาดเพ่อื ชุมชน ได้ ดาเนินการแลว้ เสรจ็ เม่อื ปลายปี 2563 มรี ะบบ สูบน้าจากสระเก็บน้าของหมู่ 4 บ้านตาจรู๊ก เพ่อื จ่ายให้กบั แปลงเกษตรของชุมชน โดยมี ช า ว บ้ า น ไ ด้ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก โ ค ร ง ก า ร น้ี จานวน 165 ครวั เรอื น ใช้งบประมาณในการ ก่อสร้างรวมทงั้ ส้ิน 449,000 บาท และใน โอกาสเดยี วกนั น้ี ผบู้ รหิ าร PEA พรอ้ มดว้ ย หวั หน้าสว่ นราชการทอ้ งถนิ่ และผนู้ าชุมชน ได้ ร่วมปล่อยปลาเศรษฐกิจลงอ่างเก็บน้า และ ร่วมปลูกต้นคูณ ณ บริเวณอ่างเก็บน้าหมู่ 4 บา้ นตาจร๊กู ตาบลโคกยา่ ง อาเภอประโคนชยั จงั หวดั บุรรี มั ย์
หนา้ 5 จะเป็นยังไงถ้าแผงโซลาร์เซลล์สามารถทางาน ศาสตราจารย์ มุนเดย์ เริ่มพัฒนาต้นแบบของเซลล์ ตอนกลางคืนได้ดว้ ย ? แสงอาทิตย์สาหรับเวลากลางคืนขึ้นมาแล้ว ถึงแม้ว่ามันจะ จากการศึกษาที่ตีพิมพ์ออกมาล่าสุดโดย ศาสตราจารย์ ผลิตพลังงานออกมาต่ามาก แต่ทีมนักวิจัยก็หวังว่าจะ ภ า ค วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ จ า ก สามารถพัฒนาประสทิ ธภิ าพของมนั ขนึ้ มาได้อีกในอนาคต มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์เดวิส (University of มนุ เดย์ระบวุ ่ากระบวนการน้ีคล้ายกับการทางานของโซลาร์ California, Davis) เจเรมี มุนเดย์ (Jeremy Munday) เซลล์ปกติ แต่ทาแบบกลับกัน และเพื่อจะให้เข้าใจก่อนอ่ืน ระบุว่า แนวคิดน้ีอาจเป็นไปได้ด้วยการใช้แนวคิดเดียวกับ ต้องทาความเข้าใจเร่ืองพลังงานความร้อนกันก่อน นั่นคือ แผงโซลาร์เซลล์แบบเดิม เพียงแต่ทาตรงกันข้าม จากท่ีให้ พลังงานความร้อนจะมีการถ่ายเทไปยังวัตถุใด ๆ ก็ตามที่มี แผงรับพลงั งานจากดวงอาทติ ย์ ก็ทาให้แผงปล่อยพลังงาน อุณหภูมิต่ากว่า เช่น พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ ออกไปรอบ ๆ แทน คล้ายกบั เปน็ ดวงอาทิตยเ์ สยี เอง ถ่ายเทมายังโลก รวมทั้งแผงโซลาเซลล์ที่มีอุณหภูมิต่ากว่า ดวงอาทิตย์ด้วย ในทางกลับกัน หากเอาแผงโซลาร์เซลล์ ฟังดูเหมือนเป็นเร่ืองตลก แต่จากที่ระบุไว้ในเอกสาร ธรรมดาจากโลกไปทิ้งไว้บนอวกาศที่อุณหภูมิต่ามาก ๆ วิชาการที่เผยแพร่ออกมา แผงโซลาร์เซลล์แนวใหม่ซึ่งใช้ พลังงานก็จะถูกถ่ายเทออกจากแผงโซลาร์เซลล์ในรูปของ ตอนกลางคืนนี้ อาจสามารถผลิตพลังงานได้สูงสุดถึง 50 รงั สอี ินฟราเรดแทน (อินฟราเรดคือรังสีความรอ้ น) วัตต์ต่อตารางเมตร หรือคิดเป็น 1 ใน 4 ของท่ีเซลล์ แสงอาทิตย์ท่วั ไปสามารถผลติ พลงั งานไดใ้ นเวลากลางวนั ซงึ่ หลกั การถ่ายเทความร้อนน้ีก็สามารถนามาใช้ได้ในตอนกลางคืนท่ีอุณหภูมิต่าลง วัตถุท่ีมีอุณหภูมิสูงจากการสะสมพลังงาน ในตอนกลางวนั จะค่อยๆ ถ่ายเทพลังงานออกไปยังอากาศรอบ ๆ จนกระท่ังมีพลังงานเท่ากัน อย่างไรก็ตาม การผลิตพลังงาน จากการแผร่ ังสีความรอ้ นแบบน้ีมมี ากอ่ นแลว้ เรียกวา่ thermoradiative cell (เซลล์พลังงานจากความการแผ่รังสีความร้อน) ซ่ึงเดิมทีมันถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับเคร่ืองยนต์ท่ีมีความร้อนสูง แต่แนวคิดของศาสตราจารย์มุนเดย์คือการผสมผสานและ ประยุกตใ์ ช้กับแผงโซลาร์เซลล์แบบเดิมเพือ่ หาทางลบขอ้ จากดั เดิมของแผงโซลาร์เซลล์ทีไ่ มส่ ามารถใชใ้ นเวลากลางคืนได้ ส่งผล ใหเ้ กิดชอ่ งวา่ งในการผลติ พลงั งาน “เซลล์สุริยะปกติจะสร้างพลังงานโดยดูดซับพลังงานจากแสงอาทิตย์และเปลี่ยนเปล่ียนเป็นไฟฟ้า แต่กลับกันใน อุปกรณ์ใหม่ แสงจะถูกปล่อยออกมาจากอุปกรณ์แทนในรูปของอินฟราเรด แต่คุณยังคงสร้างพลังงานได้เหมือนเดิม เราอาจ ต้องเปล่ียนวัสดุใหม่ แตห่ ลกั การทางฟสิ ิกส์พ้นื ฐานกย็ ังเหมอื นเดิม” มุนเดย์กลา่ ว
หนา้ 6 “ผา้ ไหมแพรวา” ถือเป็นผา้ ทอมืออนั ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของ “ชาวผไู้ ทย หรือภไู ท” ซึ่งเป็นชนกล่มุ หนึ่ง ท่ีมีถ่ินกาเนิดในบริเวณแคว้นสิบสองจไุ ทย แล้วอพยพเคลื่อนย้ายผ่านเวียดนาม ลาว แล้วข้ามฝัง่ แม่น้าโขง เข้ามาตงั้ ถ่ินฐานอย่แู ถบเทือกเขาภพู านทางภาคอีสาน ส่วนใหญ่อย่ใู นจงั หวดั กาฬสินธ์ุ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร ศนู ย์ศิลปาชีพทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพน ต.โพน อ.คาม่วง จ.กาฬสินธ์ุ ถือเป็ นแหล่งผ้าแพรวาที่มี ชื่อเสียงของประเทศไทยชาวบา้ นโพนยงั คงรกั ษาวฒั นธรรมประเพณี ความเช่ือ การแต่งกาย และการทอผ้า ไหมที่มีภมู ิปัญญาในการทอด้วยการเกบ็ ลายจากการเกบ็ ขิดและการจก ที่มีลวดลายโดดเด่น ภมู ิปัญญาที่ ได้รบั การถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ และได้พฒั นามาอย่างต่อเน่ื อง ผ้าแพรวาจึงเปรียบเสมือนเป็ น สญั ลกั ษณ์ของกล่มุ ชนที่สืบเชื้อสายมาจากชาวภไู ท “ผา้ แพรวา” มีความหมายรวมกนั คือ ผ้าทอเป็น ผืนที่มีขนาดความยาว 1 วา หรือ 1 ช่วงแขน ใช้สาหรบั คลุมไหล่หรือห่มสไบเฉี ยง หรือเรียกว่า ผ้าเบี่ยงของ ชาวผไู้ ทย ซึ่งใช้ในโอกาสท่ีมีงานเทศกาล บุญประเพณี หรืองานสาคญั อ่ืนๆ โดยประเพณีทางวฒั นธรรมของ หญิงสาวชาวภไู ทจะต้องยึดถือปฏิบตั ิคือ ต้องตดั เยบ็ ผ้าทอ 3 อย่าง คือ เสื้อดา ตาแพร (การทอผ้าแพรวา) ซ่ินไหม ลวดลายของแพรวาจะมีลกั ษณะคล้ายคลึงกบั ลายขิดของอีสาน แต่จะแตกต่างกนั อยู่บ้างตรงความ หลากหลายของสีสันในแต่ละลวดลาย แต่มีลกั ษณะ อย่างหน่ึงท่ีเหมือนกนั คือ ลายหลกั มกั เป็ นรปู สี่เหล่ียม ขนมเปี ยกปนู ซ่ึงเป็นโครงสร้างพื้นฐานของลายผา้ ด้วยการใช้มือทอและใช้เวลานาน คงไม่ต้องแปลกใจท่ี ราคาผา้ จะสงู ไปถึงหลกั ล้านบาท “ลา้ เลอค่าด้วยภมู ิปัญญาชาวภไู ท”
หนา้ 7 ……. นภดล คนเดิม ……… ฉ บ ับ ที่ แ ล้ ว ม า จ บ ต ร ง ที่ ใ ห้ ท า ย กัน ว่ า ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร อื่ น ๆ ก็ มี ก า ร รถยนต์ประเภทไหนท่ีผู้บริ หาร และ ร้องเรี ยนในลัก ษณะเช่ นนี้ เช่ นกัน จ น ก ร ะ ทัง่ ส า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร พนั กงานจะถูกร้องเรี ยนมากท่ี สุด ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ไ ด้ มี ห นั ง สื อ ที่ “รถส่วนกลาง” ครับท่ีผู้บริ หารและ นร.๐๕๐๕/ว๑๗ ลว.๑๑ ม.ค.๒๕๖๒ แจ้งมติคณะรฐั มนตรี รบั ทราบการตัง้ พนักงานจะถกู รอ้ งเรียนมากท่ีสุด เพราะ ข้อสังเกตของคณะกรรมการ ปปช. รถส่วนกลางเป็ นรถยนต์ที่ กฟภ. จดั ไว้ เก่ียวกับการนา รถส่วนกลางไปใช้ ให้ใช้ปฏิ บัติ งานให้กับสานักงานการ เสมือนเป็ นรถประจาตาแหน่ ง ไปยัง ไ ฟ ฟ้ า ส่ ว น ภู มิ ภ า ค ซึ่ ง ท่ี ผ่ า น ม า กระทรวงการคลงั กระทรวงมหาดไทย และสานักงาน ก.พ.ร เพ่ือนาเรื่อง รถประเภทนี้ นอกจากจะใช้ ในงานของ ดงั กล่าวไปพิจารณาดาเนิ นการต่อไป สานั กงานการไฟฟ้ านั้นๆ แล้ว รถ ***** ซ่ึงถ้าเราติดตามข่าวจะเหน็ ว่า ดงั กล่าวจะถกู ไปใช้งานส่วนตวั เป็ นเหตุ ปัจจุบันจะมีการลงโทษข้าราชการ / ให้มีการรอ้ งเรียนกนั เป็นจานวนมาก ซ่ึง พนักงานในเรื่องประเภทนี้มากขึ้น ด้วย ความเป็นห่วงผมจึงขอนามาเล่าส่กู นั ฟัง การร้องเรียนมีทัง้ ร้องเรียนภายใน ผ่านวารสารนี้ เพราะ “รู้ไว้ไม่มีเรื่อง” หน่วยงาน และรอ้ งเรียนไปยงั หน่วยงาน นะครบั ฉบบั หน้าจะมีอะไรน่าสนใจแค่ ภายนอก และแน่ นอนไม่ใช่ เฉพาะ ไหนรอติดตาม ครบั หน่ วยงานของการไฟฟ้ าส่วนมิ ภาคเพียง แห่งเดียวที่เกิดข้อร้องเรียนประเภทนี้
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: