บทที่ 2 วสั ดุและชนดิ ของบรรจุภณั ฑ์ นายปรชั ญา กาญจนารตั น์
บทที่ 2 วสั ดแุ ละชนดิ ของบรรจุภณั ฑ์ วสั ดสุ ำหรบั บรรจุภัณฑ์ การเลือกวัสดแุ ละวิธีการบรรจภุ ัณฑใ์ หเ้ หมาะกบั ผลิตภัณฑ์ ตอ้ งอาศยั ความรู้และขอ้ มลู ตลอดจนปจั จัยต่างๆ เข้ามาพจิ ารณา ซึง่ ยงั ตอ้ งพจิ ารณาวา่ มี ความคุ้มทุน หรอื เป็นไปไดใ้ นระบบการผลิตและจัดจำหน่ายมากน้อยเพยี งใด หรือไม่อกี ดว้ ย จากนัน้ จึงเขา้ สขู่ นั้ ตอนของการกำหนดรูปทรงของบรรจภุ ณั ฑ์ อกี ครัง้ หนง่ึ วา่ บรรจุภณั ฑค์ วรจะออกมาในรูปลักษณะอย่างไร บท/หนา้ (2/1) ( 25/08/2558)
วัสดสุ ำหรบั บรรจภุ ัณฑ์ ปจั จัยในการพจิ ารณาเลอื กใชว้ ัสดุและบรรจภุ ณั ฑ์ ไดแ้ ก่ สภาพทางการ ตลาดและข้อจำกดั ตา่ งๆ ธรรมชาติ และลกั ษณะเฉพาะของผลติ ภณั ฑ์ สภาพ การลำเลยี ง ขนส่ง และการเก็บรกั ษา วธิ กี ารบรรจุผลิตภณั ฑ์ และการจดั หาวัสดุ บรรจุภณั ฑ์ บท/หนา้ (2/2) ( 25/08/2558)
บรรจุภณั ฑ์จากพืช เป็นบรรจภุ ณั ฑท์ ่ีทำจากพชื ไม่วา่ จะเปน็ ไม้ เยอ่ื ไม้ กระดาษ หรอื เสน้ ใย ตา่ งๆ ในรูปของกระดาษ ส่ิงทอ เช่น ผ้า หรอื เครอื่ งจกั สาน สามารถพบเห็น บรรจุภัณฑ์ประเภทน้ไี ดต้ ามท้องตลาดในชนบท ในรูปของบรรจภุ ณั ฑ์อาหาร ทอ้ งถิน่ รปู แบบต่างๆ เช่น การนำใบตอง ใบเตย มาทำภาชนะใสข่ นมหรอื อาหารคาว การนำกระบอกไม้ไผ่ทำข้าวหลาม การสานตะกร้า ชะลอม กระดาษสา ผา้ ฝา้ ยทอ เปน็ ต้น บท/หนา้ (2/3) ( 25/08/2558)
บรรจภุ ัณฑ์จากพชื ปจั จบุ นั มีวิธีการนำวัสดจุ ากพืชผกั แปรรปู เป็นแผ่นและรปู ทรง ซงึ่ บรรจุ ภัณฑป์ ระเภทน้มี ขี อ้ ดีคือสามารถนำกลบั มาใช้ใหมไ่ ด้ วสั ดบุ รรจุภัณฑท์ ี่ได้ จากพชื เม่ือใชแ้ ลว้ สามารถยอ่ ยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ จงึ ไม่เป็นอันตราย ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม บท/หน้า (2/4) ( 25/08/2558)
บรรจภุ ณั ฑ์จากพชื เบ้ืองต้นวสั ดบุ รรจุภณั ฑจ์ ากพชื น้ี ทำเพ่ือหอ่ ห้มุ ปกป้องผลิตภัณฑ์ ภายใน ความงดงามดา้ นสีสันลวดลายพ้ืนผิวของบรรจภุ ณั ฑ์ ลว้ นเกิดจากวัสดุ ธรรมชาติเปน็ หลัก สำหรบั วัสดไุ ม้ ไม่ค่อยได้รับความนยิ ม ในการนำมาทำเป็น บรรจภุ ัณฑช์ ั้นใน ที่ต้องสัมผัสกับผลิตภณั ฑโ์ ดยตรง เนื่องจากมีความแขง็ และน้ำหนกั มาก ดังนน้ั ส่วนใหญน่ ยิ มนำมาออกแบบเพ่อื ผลิตเป็นบรรจุภณั ฑ์ สำหรบั การขนสง่ มากกวา่ บท/หนา้ (2/5) ( 25/08/2558)
บรรจภุ ณั ฑ์จากพืช เยือ่ และกระดาษจดั ได้วา่ เปน็ วสั ดุท่นี ิยมนำมาผลิตเปน็ บรรจภุ ณั ฑ์มาก ทสี่ ุด เพราะเป็นวัสดทุ ีม่ คี ุณลักษณะเฉพาะของเน้อื วัสดุและสามารถพมิ พ์สีสนั ไดส้ วยงาม นำ้ หนักเบา สะดวกต่อการขนส่ง โดยนยิ มนำมาออกแบบเพือ่ เป็นบรรจภุ ัณฑใ์ นการจดั จำหนา่ ยและเพอื่ การ ขนส่ง เช่น กล่องขนมอบ เบเกอรี่ กล่องใส่ผักและผลไม้ กลอ่ งสุราและเบียร์ เป็นตน้ บรรจุภัณฑก์ ระดาษถือเปน็ วัสดทุ างบรรจภุ ณั ฑ์ทมี่ มี าชา้ นานทสี่ ุด มีราคาถูก ทีส่ ดุ สะดวกในการใช้ทำบรรจุภัณฑแ์ ละใชก้ ันอย่างแพร่หลาย กระดาษเป็น วัสดุทเี่ กดิ จากกระบวนการแปรรปู เยื่อไม้ เชน่ ไม้ยูคาลปิ ตสั ต้นสา เป็นตน้ ลกั ษณะกระดาษบรรจภุ ณั ฑ์นอกจากแบนราบธรรมดา บท/หน้า (2/6) ( 25/08/2558)
บรรจภุ ัณฑจ์ ากพชื ขอ้ ดี วัสดกุ ระดาษทำจากพชื ธรรมชาติ ราคาถูก มนี ำ้ หนักเบา สามารถพมิ พ์ และตกแต่งได้งา่ ยและสวยงาม สามารถเคลือบหรอื ประกอบติดกับวัสดุชนิด อ่นื ไดด้ ี การแปรรปู เพ่อื การออกแบบสามารถสร้างสรรคไ์ ดส้ ะดวก ข้อเสีย กระดาษเป็นวสั ดทุ ีม่ คี วามคงทนน้อยฉีกขาดได้ง่าย เนอ้ื กระดาษมี คุณสมบัตดิ ูดความชน้ื ไดง้ ่าย สภาพความชนื้ และอากาศซมึ ผ่านบรรจภุ ัณฑ์ สมั ผสั ผลิตภัณฑ์ภายในไดง้ ่าย มขี ้อจำกดั การใช้ ไมเ่ หมาะสมกบั ในการเปน็ บรรจภุ ัณฑส์ ินค้าแปรรูปชนดิ เหลว บท/หนา้ (2/8) ( 25/08/2558)
กระดาษแข็ง แบ่งตามคณุ ลกั ษณะของกระดาษ ไดด้ ังนี้ กระดาษชิพบอรด์ , กระดาษโซลดิ มานลิ าบอรด์ , กระดาษคราฟทไ์ ซลนิ เดอร์ บอร์ด, กระดาษคราฟทฟ์ อร์ไดรเนอรบ์ อรด์ , กระดาษปอนด์ บท/หน้า (2/10) ( 25/08/2558)
กระดาษลกู ฟูก แบง่ ตามลกั ษณะของลอนลกู ฟกู เป็น 4 ชนิด ดงั นี้ กระดาษลูกฟกู สองช้นั หรือกระดาษลกู ฟกู หน่งึ หน้า - กลอ่ งกระดาษลูกฟูกสามชน้ั หรอื กระดาษลกู ฟกู สองหนา้ ( 1ชดุ ) - กลอ่ งกระดาษลกู ฟูกหา้ ชนั้ ( 2 ชุด ) - กลอ่ งกระดาษลูกฟกู เจด็ ช้ัน ( 3 ชดุ ) บท/หนา้ (2/11) ( 25/08/2558)
ลกั ษณะของบรรจภุ ณั ฑ์ประเภทกระดาษ การแปรรปู วัสดปุ ระเภทกระดาษเปน็ บรรจุภัณฑ์ สามารถทำไดห้ ลายรูปแบบ ดงั น้ี 1. กลอ่ ง ได้แก่ กล่องกระดาษแขง็ แบบพับ และกล่องกระดาษแข็งแบบตายตัว บท/หน้า (2/14) ( 25/08/2558)
2. ถงุ และซอง เป็นบรรจภุ ัณฑท์ ีใ่ ชก้ นั มาก สำหรับผลติ ภัณฑป์ ระเภทเครื่อง อปุ โภค บรโิ ภค บท/หน้า (2/15) ( 25/08/2558)
บรรจุภณั ฑ์ทำจากโลหะ โลหะเปน็ แผ่นเหลก็ เคลอื บดีบกุ อะลูมิเนียม สว่ นใหญ่ใชใ้ นอตุ สาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์อาหาร มคี ณุ สมบตั เิ ป็นตัวกน้ั และทนความรอ้ น จึงฆา่ เชอ้ื ไดแ้ ละพมิ พไ์ ด้ ดี สามารถนำกระป๋องไปหลอม นำกลับมาใช้ใหม่ได้ ใชบ้ รรจอุ าหาร เครอื่ งด่มื และ ขนมขบเคย้ี ว ต่างๆ ขอ้ ดี มคี วามทนทานแข็งแรงไม่มีการซึมผ่านของไอน้ำและ อากาศ ปอ้ งกนั แสงสวา่ งได้ดี ขอ้ เสยี เกดิ การกัดกร่อนไดง้ า่ ย ทำปฏกิ ริ ยิ ากบั ผลิตภณั ฑ์ท่ีมี ความเปน็ กรดด่าง มโี อกาสท่ีดบี ุกและแลกเกอรท์ ีใ่ ช้เคลอื บกระป๋องโลหะ สามารถหลุดลงไปปนเปอ้ื นกับผลิตภัณฑอ์ าหารได้ บท/หน้า (2/21) ( 25/08/2558)
รูปแบบบรรจุภัณฑโ์ ลหะ แบบต่างๆ มดี งั น้ี 1. กระปอ๋ ง (can) มหี ลายรูปแบบ เช่น ทรงกระบอก รปู เหลี่ยม รปู ไข่ เป็นตน้ ใช้บรรจุ ยา อาหาร นำ้ มนั หล่อล่นื และเครอ่ื งใชอ้ ่นื ๆ บท/หน้า (2/22) ( 25/08/2558)
2. ถัง (drum pail KEG) มคี วามจุและขนาดใหญก่ วา่ กระปอ๋ งมากใชบ้ รรจุสาร เคมี น้ำมันหล่อล่ืนและอ่ืนๆ บท/หนา้ (2/23) ( 25/08/2558)
บรรจุภัณฑแ์ กว้ แกว้ มีคณุ สมบตั ิทางกายภาพใสสะอาดและปลอดภยั ทนความร้อนไดส้ งู มีอายุการใชง้ าน นาน แตม่ ีน้ำหนักมากและแตกได้ง่าย เม่ือเลิกใช้แลว้ สามารถ นำไปทำความสะอาด แล้วนำกลบั มาทำเปน็ บรรจุภณั ฑใ์ หม่ได้ หรือนำขวด แก้วทแ่ี ตกหกั ชำรุด ไปบดเปน็ เศษแกว้ กลบั สขู่ บวน การหลอมแก้วผสมกบั วัตถุดิบอื่นๆ หมุนเวียนผลติ เป็นบรรจุภัณฑ์ใหม่ตอ่ ไปไดอ้ กี บท/หนา้ (2/27) ( 25/08/2558)
ปัจจุบันนิยมใช้แกว้ เป็นบรรจุภณั ฑอ์ าหาร, เครือ่ งดื่ม และเคร่อื งสำอาง สีของแก้วทีน่ ิยมผลิตมี 3 สี คอื สใี ส เปน็ สที ใี ช้กนั มากทสี่ ุด สีอำพนั ( สีนำ้ ตาล ) มีคณุ สมบตั ใิ นการกรองรังสอี ลุ ตร้าไวโอเลตไดด้ ี จึงนยิ ม ใชเ้ ปน็ ขวดเบยี รแ์ ละขวดยาบางประเภท สีเขียว มีคณุ สมบัตคิ ล้ายขวดสีอำพัน มกั ใช้ในอตุ สาหกรรมเครอ่ื งดม่ื บท/หนา้ (2/28) ( 25/08/2558)
บรรจุภัณฑพ์ ลาสติก เปน็ วัสดอุ กี ประเภทหนง่ึ ท่ีไดร้ ับความนิยม ในการนำมาผลิตเปน็ บรรจุ ภัณฑ์ สำหรบั บรรจอุ าหารอยา่ งมาก เนื่องจากมขี ้อดหี ลายประการ ได้แก่ สามารถดดั แปลงใหม้ ีคณุ สมบตั ิต่างๆ ใหเ้ หมาะ สมกับการใช้งาน มีน้ำหนกั เบา บท/หนา้ (2/31) ( 25/08/2558)
บรรจุภณั ฑพ์ ลาสตกิ มี คุณสมบตั ิ ขึน้ รูปทรงได้งา่ ยในการป้องกันการซมึ ผา่ นของอากาศ น้ำ หรือไขมันทนต่อความร้อนเยน็ ทนตอ่ กรดดา่ ง มคี วามแข็งแรงเหนยี วไม่นำ ไฟฟา้ การเลอื กใชบ้ รรจภุ ัณฑท์ ผี่ ลติ จากพลาสติก ควรระมดั ระวัง ปญั หาที่พบ คอื การเลือกใชบ้ รรจภุ ณั ฑพ์ ลาสติกท่ผี ลติ ไม่ไดม้ าตรฐาน ทำใหม้ สี ารเคมี เจอื ปนมากบั พลาสติกจะละลายออกมาปนเปอื้ นกบั อาหาร หากร่างกายไดร้ ับ บอ่ ย ๆ จะเกิดการสะสม ก่อใหเ้ กิดเป็นพิษเรื้อรังและเปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ ของผบู้ รโิ ภค บท/หนา้ (2/32) ( 25/08/2558)
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: