Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2

บทที่ 2

Published by kondmeetnai19, 2021-01-18 06:24:03

Description: บทที่ 2

Search

Read the Text Version

\" ห นั ง สื อ ที ย อ ด เ ยี ย ม สํา ห รั บ นั ก อ อ ก แ บ บ ที กํา ลั ง ต้ อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ก า ร ใ ช้ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ อ อ ก แ บ บ ก ร า ฟ ก ที ดี ที สุ ด \" - ไ น ท์ กี #2021 เ ท ค นิ ค ก า ร ใ ช้ ง า น ADOBE INDESIGN ฉ บั บ ไ ม่ เ ห มื อ น ใ ค ร คู่ มื อ ที ชั ด เ จ น แ ล ะ ต อ บ โ จ ท ย์ เ กี ย ว กั บ A D O B E I N D E S I G N โ ด ย วิ ศ รุ ต อ ยู่ ย ง ค์

คํานาํ 1 \"Adobe InDesign CC\" เปนโปรแกรมท่ี สามารถสรางสรรคงานส่ิงพิมพและงานระบบ Digital Publishing ไดอยางลงตัว เหมาะ สําหรับผูเร่ิมตน และผูที่ใชงานโปรแกรมกราฟก ดานอ่ืนมาบางแลว โดยตัวโปรแกรมมีเครื่องมือ ในการอาํ นวยความสะดวกที่ชวยใหการทํางานได อยางรวดเร็ว และมีรูปแบบคําส่ังท่ีไมซับซอน ทําใหสามารถออกแบบส่ิงพิมพเสมือนมืออาชีพ หนังสือเลมน้ีจะพาคุณไปเรียนรูการใชโปรแกรม และกระบวนการจัดรูปเลมหนังสือท่ีควรรู การ สรางสรรคงานพิมพเบื้องตนแบบงายๆ ที่ใครๆ ก็ทาํ ได การสรางส่ือ e-Book ในรูปแบบ Interative ตลอดจนการเตรียมไฟลงาน เพื่อ เขาสูระบบการพิมพและอัพโหลดขึ้นเว็บไซต อธิบายเน้ือหาอยางเขาใจงาย เพื่อชวยใหคุณใช งานโปรแกรมไดอยางมีประสิทธิภาพ

สารบัญ 2 เร่ือง หนา คาํ นํา 1 สารบัญ 2 เขาสูโปรแกรม InDesign 3 สวนประกอบของ InDesign 4 ToolBox InDesign 6 แถบการตั้งคา (Option bar) 7 การสรางไฟลสําหรับกําหนดเอง 8 การแทรกหนากระดาษ 10 การทํางานกับภาพ 11 การสรางเฟรมหลายรูปทรง 13 การใชสี 15 การทํางานกับขอความ 17

เขาสูโปรแกรม InDesign 3 1.คลิกท่ีปุม start แลวเลือก All Programs > Adobe InDesign 2.จะแสดงหนาตางโปรแกรม Adobe InDesign ข้ึนมา 3.เม่ือเขามาในโปรแกรม จะปรากฏหนาตาง Templat สาํ หรับการสรางไฟลงาน

สวนประกอบของ InDesign 4 Menu Bar บรรจุคาํ าสั่งใชงานตางๆ การทางานจะคลายๆ กับโปรแกรม อ่ืนๆ เชน Photoshop , Illustrator Option Bar บรรจุตัวเลือกกําหนดคุณสมบัติหรือตัวปรับ แตงการทางานใหกับ วัตถุ ( ตัวอักษรหรือภาพ ) ท่ีเรากําลังเลือกทาํ งาน

5 สวนประกอบของ InDesign ToolBar เครื่องมือชนิดตางๆ ที่ใชในการทํางาน Document พ้ืนท่ีเอกสารสําหรับการทํางานคลายกับ กระดาษเปลาท่ีคอยใหเราเติมตัวอักษรหรือภาพลงไป นั้นเองคะ Pasteboard พื้นที่วางๆรอบเอกสารคลายกับโตะทํางานท่ีเรา สามารถวางสิ่งของอ่ืนๆได Guide ไมบรรทัดสาํ หรับการวัดระยะหรือสรางเสน Guide Palette หนาตางยอยสาํ หรับชวยเสริมการทํางาน เม่ือคลิก ลงไปแตละปุม จะเปนการเรียกใชงาน Palette แตละชนิด

ToolBox InDesign 6

7 แถบการตั้งคา (Option bar) เปนแถบตัวเลือกสาํ หรับกําหนดคาตางๆของวัตถุ ปรับเปล่ียนไปตามการใชงานระหวางการทาํ งานกับ วัตถุ เชนใชกําหนดคาสีขนาดตําแหนง และคุณสมบัติ ตางๆของวัตถุ พาเนลควบคุม (Panel) เพาเนล เปนหนาตางยอยที่รวบรวมคุณสมบัติการทาํ งาน โดย แตละพาเนลจะมีเมนูคําสั่งของตัวเองเพื่อควบคุมการทาํ งาน โดยไมตองไปเปดเลือกท่ีแถบคําส่ัง

8 การสรางไฟลสาํ หรับกําหนดเอง เหมาะสาํ หรับผูที่ตองการรูปแบบที่สามารถ สรางสรรคกราฟก ขนาด องคประกอบเองได คลิกที่เมนู File> New> Document เพื่อสราง ไฟลใหม และกาํ หนดคาเร่ิมตน 1. Document Preset เปนการเลือกที่จะกําหนดคาเอง หรือ แบบที่โปรแกรมกาํ หนดให 2. Facing pages เปนรูปแบบการแสดงหนากระดาษทั้งหมด ท่ีกาํ หนดใน Number of Pages 3. Page Size การต้ังคาขนาดกระดาษ เชน A4, A5, Letter, Custom จะมีกรอบสีดาํ

การสรางไฟลสําหรับกาํ หนดเอง 9 4. Columns ใชกําหนดแนวสําหรับแบงพื้นที่การทาํ งานใน หนาเอกสาร 5. Margins ใชกาํ หนดระยะขอบของหนาเอกสาร ซึ่งจะ แสดงเปนเสนสีแดงในหนากระดาษ 6. Bleed and Slug กําหนดระยะตัด และระยะเผื่อเหลือ สวนใหญจะกาํ หนดคา Bleed เปน 3 mm ซ่ึงจะแสดงเปน เสนสีแดง ดานนอกหนากระดาษ *ขอแนะนํา* ควรออกแบบชิ้นงานภายในเสน Bleed เพ่ือเวลา Print งาน

การแทรกหนากระดาษ 10 การแทรกหนากระดาษ (แบบ Layout) อีกวิธีหนึ่งในการจัดการหนากระดาษคลิกเลือกหนากระดาษท่ีตองเพ่ิม เลือกคาํ สั่ง Layout>Pages>Insert Pages ซึ่งในเมนูยอยนี้ยังสามารถเลือกท่ีจะลบหรือยายหนากระดาษคลิก เลือกหนากระดาษที่ตองลบ Layout>Pages>Delete Pagesคลิก เลือกหนากระดาษท่ีตองยาย Layout>Pages>Move Pages

การทํางานกับภาพ 11 ทํางานการใสภาพดวยวิธีตางๆ การใสภาพลงเอกสาร หรืองานออกแบบใน In Design สามารถทาํ ไดหลายวิธี ซึ่งสามารถพลิกแพลง ใหเหมาะสมไดดังหัวขอตางๆ ดัง ตอไปนี้ ใสภาพดวยคาํ สั่ง Place จะเปนวิธีพ้ืนฐานท่ีนิยม เน่ืองจากใชงานงายและรวดเร็ว โดยมีขั้นตอนดังน้ี

การทํางานกับภาพ 12 สามารถใชคาํ ส่ัง Place วางหลาย ๆ ภาพพรอมกันได โดยมีขั้นตอนดังนี้

13 การสรางเฟรมหลายรูปทรง การใสภาพลงบนเฟรมเปนวิธีใสภาพสําหรับงานท่ี ออกแบบโครงสรางไวเรียบรอยแลวโดย มีการกําหนด ขอบเขตและรูปทรงที่ตองการใสภาพลงไปโดยเรสามารถ สรางเฟรมสาํ หรับใสภาพไดหลากหลายรูปทรง ไมวาจะ เปนวงกลม สี่เหล่ียมหรือหกเหลี่ยม โดยวิธีสรางเฟรม และใสภาพสามารถทาํ ไดดังขั้นตอนดังน้ี

14 การสรางเฟรมหลายรูปทรง

การใชสี 15 เราสามารถตกแตงสีสันใหขอความ ภาพประกอบรวมถึง รูปทรงท่ีสรางข้ึนเปนองคประกอบไดหลากหลายวิธีซ่ึง เนื้อหาภายในเร่ืองนี้จะทาํ ความเขาใจวิธีใสสีแบบตางๆ รวมถึงทาํ ความเขาใจกับประเภทของสีแบบตางๆ เพ่ือให สามารถใชงานไดถูกตอง ใสสีจากพาเนล Swatches การใสสีจากพาเนล Swatches Panel จะเปนวิธีหลักท่ีใชงานบอยท่ีสุด โดย เราสามารถใสสีทุกประเภทใหกับObject ไดไมวาจะเปนสี พ้ืน สีเสนขอบ หรือขอความตัวอักษร โดยเราสามารถเปด ใชงานพาเนล Swatches Panelไดโดยคลิกเมนู Window > Color > Swatches หรือกดปุม F5 ซึ่ง พาเนล Swatches มีสวนประกอบดังนี้

การใชสี 16 เลือกรูปแบบของ Gradient (Type Linear)

การทาํ งานกับขอความ 17 การพิมพขอความใน In Design จะใชเครื่องมือ (Type Tool) เปนหลัก โดยมีหลักการดังนี้

การทาํ งานกับขอความ 18 การเลือกรูปแบบตัวอักษรและขนาด การใสสีและเสนขอบใหกับขอความ - เราสามารถตกแตงขอความใหมีรูปแบบท่ีนาสนใจ ข้ึนไดโดยใสสีและเสนขอบซึ่งทําไดดังวิธีการตอไปน้ี

การทํางานกับขอความ 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook