Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 992 วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๒๐๗ ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

992 วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๒๐๗ ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

Published by panida42222, 2021-03-02 09:09:12

Description: 992 วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๒๐๗ ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ วดั พระธรรมกายและคณะกลั ยาณมิตรท่วั โลก ร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัดนราธิวาส หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน จัดพิธี ถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ ๓๒๓ วัด พิธีท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลแด่ผู้วายชนม์จากเหตุการณ์ ความไม่สงบ ๔ จังหวดั ภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ ๔ อ�ำเภอในจงั หวัดสงขลา) ปีที่ ๑๖ ครั้งที่ ๑๕๐ และพิธีมอบกองทุนหนุนแรงใจช่วยครูใต้ ปีที่ ๑๓ คร้ังท่ี ๑๑๕ ณ วัดบณุ ณาราม (โคกง)ู อำ� เภอตากใบ จังหวดั นราธวิ าส กิจกรรมในวนั นเ้ี รมิ่ ดว้ ยพธิ ีตักบาตรพระ ๑๐๐ รูป ตามด้วยพิธีมอบกองทนุ หนุนแรงใจ ชว่ ยครใู ต้ ปที ี่ ๑๓ ครง้ั ที่ ๑๑๕ พธิ ที ำ� บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลแดผ่ วู้ ายชนมอ์ นั เนอ่ื งมาจากเหตกุ ารณ์ ความไม่สงบ และพิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ ๓๒๓ วัด ๔ จังหวัดภาคใต้ โดยได้รับ ความเมตตาจากพระโสภณคณุ าธาร รองเจา้ คณะจงั หวดั นราธวิ าส เจา้ อาวาสวดั ทองดปี ระชาราม เปน็ ประธานฝา่ ยสงฆ์ 50 อยู่ในบุญ มนี าคม ๒๕๖๓ www.kalyanamitra.org

ในโอกาสนี้ พระภาวนาธรรมวิเทศ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เป็นผู้แทน คณะกลั ยาณมติ รทวั่ โลกมอบเครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคชว่ ยเหลอื ทหารตำ� รวจผปู้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นพน้ื ที่ เสยี่ งภยั ด้วย พิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ ๓๒๓ วัด ๔ จังหวัดภาคใต้ และพิธีท�ำบุญ อทุ ิศสว่ นกุศลแด่ผู้วายชนมจ์ ากเหตกุ ารณค์ วามไมส่ งบ จัดข้ึนครง้ั แรกเมื่อวนั ที่ ๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ณ วดั มุจลินทวาปวี ิหาร จังหวัดปตั ตานี โดยจดั ตอ่ เน่อื งมาเป็นปีที่ ๑๖ แลว้ และจะยงั คงหยดั สเู้ คยี งขา้ งพทุ ธบตุ รและชาวพทุ ธใน ๔ จงั หวดั ภาคใตต้ อ่ ไปจนกวา่ เหตกุ ารณ์ จะสงบ ส่วนกองทุนหนนุ แรงใจช่วยครูใต้จัดมาเปน็ เวลา ๑๓ ปแี ล้ว มีนาคม ๒๕๖๓ อยู่ในบุญ 51 www.kalyanamitra.org

หลวงพอ่ ตอบปญั หา เรื่อง : หลวงพ่อทัตตชโี ว หลวงพอ่ ตอบปัญหา ถาม : วนั พระมคี วามเปน็ มาและความสำ� คญั ต่อการดำ� รงอยู่ของพทุ ธศาสนาอย่างไร ? ตอบ : วันพระ หมายถงึ วันทบทวนความสมบรู ณแ์ ห่งความเป็นพระ พระภิกษสุ งฆจ์ ะมาประชุมพร้อมกนั ที่อโุ บสถ เพือ่ ทบทวนศีลคือความบรสิ ุทธ์ิกาย วาจา ใจของตนเอง เพื่อทบทวนปาฏิโมกข์คอื สิกขาบททเ่ี ป็นพระวนิ ัย ๒๒๗ ขอ้ รว่ มกัน 52 อยู่ในบญุ มีนาคม ๒๕๖๓ www.kalyanamitra.org

แตเ่ ดมิ โดยเฉพาะในชว่ งตน้ ของพทุ ธกาล ไมม่ กี ารลงปาฏโิ มกขใ์ นพระพทุ ธศาสนา เพราะ ผ้ทู ีเ่ ขา้ มาบวชน้ัน บารมีแกก่ ลา้ กนั เป็นส่วนมาก ทา่ นจงึ สามารถเตอื นตัวเองได้ ย่ิงในยุคเรม่ิ พทุ ธกาลใหม่ ๆ กไ็ มม่ ีพระวนิ ัยแม้แตข่ ้อเดียว อยู่กันโดยขนบธรรมเนียมของนักบวช ตอ่ มา เมอื่ มกี ลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธาเขา้ มาบวชในพระพทุ ธศาสนามากขน้ึ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิ เรอื่ งการลงปาฏโิ มกข์ แมผ้ เู้ ปน็ พระอรหนั ตแ์ ลว้ กถ็ อื วา่ เปน็ กจิ ของหมสู่ งฆท์ จ่ี ะตอ้ งลงปาฏโิ มกข์ เพ่อื เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีแกพ่ ระรนุ่ หลัง ๆ ให้เข้มงวดกวดขันตวั เอง เหตเุ รม่ิ ตน้ ทมี่ กี ารลงปาฏโิ มกขใ์ นพระพทุ ธศาสนานน้ั เกดิ จากพระเจา้ พมิ พสิ าร (กษตั รยิ ์ ผคู้ รองแคว้นมคธ ผู้บรรลธุ รรมเป็นพระโสดาบันบคุ คล) ทรงปรารภกับพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ วา่ นกั บวชประเภทปรพิ าชกบา้ ง และนักบวชประเภทตา่ ง ๆ อกี หลายประเภทในอินเดีย มี ธรรมเนยี มวา่ ในวัน ๑๕ ค่�ำ ข้างขนึ้ ขา้ งแรม เขาจะมาประชมุ กนั แลว้ กใ็ ห้โอวาทแก่นกั บวช แก่สมาชิกของเขาดว้ ย ทำ� ใหน้ ักบวชของเขามคี วามเครง่ ครัด มคี วามเป็นน้ำ� หน่งึ ใจเดียวกัน มีความไม่ระแวงซ่ึงกันและกัน ว่าใครจะประพฤติตัวย่ิงหย่อนกว่ากันอย่างไร เพราะได้เห็น หนา้ กันอยู่ทุก ๆ ๑๕ วัน ส่ิงเหลา่ น้กี ่อใหเ้ กิดความเป็นน้�ำหนึ่งใจเดียวของนกั บวชหมู่นนั้ ๆ คณะนั้น ๆ แต่วันประชุมเช่นน้ีของพุทธศาสนายังไม่มี พระพุทธองค์จึงทรงอนุญาตให้มี การประชุมพระสงฆ์ข้นึ ๑) ความส�ำคัญของการประชุมรวม ถา้ พจิ ารณาโดยหลักธรรม ก็จะพบความจำ� เปน็ ในการประชุมทกุ ๑๕ วันว่า ประการท่ี ๑ ท�ำใหม้ ี “ทฏิ ฐิสามัญญตา” และ “สีลสามญั ญตา” เกิดขน้ึ ในหม่คู ณะ คอื มีทฏิ ฐิ (ความคิดเหน็ ) เสมอกัน และมีศลี (ความบรสิ ทุ ธ์)ิ เสมอกัน ทำ� ใหห้ มดความกนิ แหนง แคลงใจกนั แลว้ กช็ ว่ ยกนั ประคบั ประคองหมคู่ ณะใหส้ มกบั ทสี่ ละชวี ติ มาบวชกนั แมห้ ลกั ธรรม ท่ีนักบวชเหล่าน้ันใช้นับถือปฏิบัติอาจไม่ค่อยมีความลึกซ้ึงนัก แต่เพราะอาศัยการประชุม พร้อมเพรียงกนั ทกุ ๑๕ วนั น้ี ทำ� ให้หมคู่ ณะของเขามั่นคงเป็นหนง่ึ เดียว ประการท่ี ๒ สมาชกิ ของเขาทย่ี ังครองเรอื น กต็ ัง้ ใจมาฟงั ครบู าอาจารยข์ องเขา มาฟัง นักบวชท่ีเขาเคารพนับถอื ใหโ้ อวาท ให้การอบรม สมาชิกกเ็ พิม่ ข้นึ มาตามลำ� ดบั ๆ นับเปน็ การเผยแผ่ เปน็ การขยายงานไปส่สู มาชิกใหม่ ๆ ไปโดยปรยิ าย ๒) ท�ำไมตอ้ งประชมุ ทกุ ๑๕ วัน มีคำ� ถามเกดิ ขน้ึ วา่ ทำ� ไมจงึ ตอ้ งประชมุ ในวัน ๑๕ คำ่� ดว้ ย เหตุผลน้ันเป็นเหตุผลตามธรรมชาติ น่ันคือ ใครก็ตามถึงแม้จะมีสติปัญญามากมาย เพียงใด เม่อื ไดฟ้ งั คำ� เทศนค์ ำ� สอนของครูบาอาจารยแ์ ลว้ ไม่ว่าเขาจะรักเคารพครูบาอาจารย์ ของเขามากเพยี งใด มคี วามซาบซง้ึ ในหลกั ธรรมมากนอ้ ยแคไ่ หน แตเ่ ปน็ ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ ว่า หลงั จากไดร้ ับการอบรม การชแี้ นะไปแลว้ พอผา่ นไป ๑๕ วัน ความสามารถในการจดจำ� ของเขา ความขวนขวายท่จี ะประกอบความเพียรจะคอ่ ย ๆ หย่อนลงไปเรือ่ ย ๆ พอครบ ๑๕ วัน มนี าคม ๒๕๖๓ อยู่ในบุญ 53 www.kalyanamitra.org

เทา่ นัน้ ลมื สนทิ เลย เพราะฉะน้นั ทุก ๆ ๑๕ วนั ก็จะตอ้ งมีการทบทวนกนั สกั ครง้ั เปน็ อย่างน้อย ส�ำหรับในเมอื งไทยเรา เมื่อพระพทุ ธศาสนาเขา้ มาแล้ว บรรพบุรษุ ของไทยท่านพิจารณา วา่ การท้ิงห่างในระยะเวลา ๑๕ วัน แลว้ มาทบทวนรวดเดียวน้นั ยาวไป การทงิ้ ห่าง ๑๕ วันส�ำหรบั นักบวช กช็ กั จะล้า ๆ ต้องมาทบทวนกันสักครั้ง แตส่ ำ� หรบั ชาวบา้ นนน้ั ถา้ ทง้ิ ห่าง ๗-๘ วนั ความเพยี รก็ลา้ ความจำ� ก็เลอื นแลว้ คำ� สอนค�ำเตอื นต่าง ๆ ก็ลืมหมดแล้ว ปูย่ า่ ตาทวดของไทยจึงนำ� มาซอยจาก ๑๕ วัน ให้กลายเปน็ ทุก ๆ ๗ วัน โดยก�ำหนด วัน ๘ ค่�ำ เขา้ มาใส่ตรงกลาง เพราะฉะนน้ั จึงเกิดวันพระเล็กขน้ึ มาในบ้านเมืองไทยของเรา ๓) ท�ำไมตอ้ งประชุมในวนั เดือนหงายกบั วันเดือนมดื ค�ำถามตอ่ มา ทำ� ไมตอ้ งเลอื กเอาวนั เดือนหงาย (คำ� เรียกคนื ที่มดี วงจันทรส์ ่องแสงสวา่ ง มาก โดยปกติหมายถึงคืนท่ีมีพระจันทร์เต็มดวง) เดือนมืดด้วย (หมายถึงคืนที่มองไม่เห็น ดวงจันทร)์ ความมงุ่ หมายจริง ๆ นัน้ มุ่งเอาที่คนื เดือนหงาย เพราะบรรยากาศของคืนเดือนหงาย เหมาะต่อการฟังเทศน์ เหมาะต่อการอบรมจิตใจ แต่ว่าช่วงระยะเวลาระหว่างเดือนหงาย ๓๐ วนั น้ันนานไป จงึ แบง่ ครึง่ ชว่ งเวลาออกเป็นวนั ที่เดอื นเต็มดวง กับวนั ทเี่ ดอื นดบั เตม็ ที่ คืนเดือนหงายมีบรรยากาศที่เหมาะแก่การฟังธรรมดีเหลือเกิน เพราะเห็นหน้าเห็นตา กนั ชดั ทอ้ งฟา้ แจ่มใส ใหโ้ อวาทกันทา่ มกลางแสงจันทร์ คืนเดือนมืดมองหนา้ กันไมถ่ นัด กน็ ัง่ หลบั ตาภาวนารว่ มกนั ไป เป็นการเทศนเ์ หมือนกนั แต่วา่ เปน็ การเทศน์ในสมาธิ ผู้เทศนก์ ็หลับตาเทศน์ คนฟงั กห็ ลบั ตาฟังท�ำสมาธิไปดว้ ย เกิด เป็นธรรมเนียมปฏิบัติข้นึ มา ธรรมเนียมนี้เป็นธรรมเนียมของนักปราชญ์บัณฑิตตั้งแต่ก่อนพุทธกาลมาแล้ว ส่ิงเหล่าน้ี เป็นความฉลาดของคนยุคโน้น ซึ่งรู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ท�ำให้เขาประคับประคอง หม่คู ณะมาได้ เพ่มิ ความเขม้ แข็งใหห้ มู่คณะได้ นักปราชญ์บัณฑิตตัง้ แต่อดีตเขาท�ำกนั อย่างนี้ มาทกุ ยุคทกุ สมัย หลวงพอ่ เคยไปเยือนอนิ เดียหลายครงั้ กพ็ บวา่ ธรรมเนียมนน้ี ักบวชอนื่ เขากย็ ังทำ� กนั อยู่ ๔) การประชุมทุกวันพระท�ำให้แต่ละนิกายยังเก็บรักษาค�ำสอนหลักในพระพุทธศาสนาได้ ครบ ในพระพุทธศาสนาเอง แมผ้ า่ นมา ๒,๖๐๐ ปีแลว้ และมกี ารแยกเปน็ นกิ ายโนน้ นิกายนี้ บ้าง แต่ว่าศีล ๒๒๗ ข้อยังอยู่ อริยมรรคมีองค์ ๘ ยังอยู่ อริยสัจ ๔ ยังอยู่ แม้เร่ืองอื่น แผว่ ไป แตเ่ รือ่ งส�ำคัญเหลา่ น้ยี งั อยู่ในพระพทุ ธศาสนา นิกายตา่ ง ๆ ยังเกบ็ รักษาไวไ้ ด้ดเี กอื บ ทั่วโลก 54 อยู่ในบญุ มีนาคม ๒๕๖๓ www.kalyanamitra.org

ท�ำไมจงึ ยังเกบ็ รักษาไว้ได้ ? นน่ั ก็เพราะทุก ๆ ๑๕ วัน พระภิกษุสงฆพ์ ร้อมใจกันลงปาฏิโมกข์ ทบทวนความสมบรู ณ์ แหง่ ความเปน็ พระ ศลี ๒๒๗ ข้อยังอยู่ ตราบใดทีย่ งั รักษาวนั ปาฏิโมกข์เอาไว้ได้ พระพทุ ธศาสนา กย็ งั มีอนาคตอกี ยาวไกล ในวันพระ จึงเป็นหน้าที่ของพระภิกษุที่จะต้องช่วยกันรักษาสิ่งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงบญั ญตั ิเอาไว้ใหด้ ี เพราะเป็นท่ีมาของสลี สามัญญตา ไปทบทวนความบริสทุ ธบ์ิ ริบรู ณข์ อง ศลี เป็นการปรับทฏิ ฐิสามญั ญตาใหต้ รงกนั ท�ำใหห้ มูค่ ณะไปรอด สว่ นพุทธศาสนิกชนก็ไดใ้ ช้ วนั เวลานีเ้ ขา้ วดั ฟังธรรม ปฏบิ ัตธิ รรม บ�ำเพญ็ บุญกันสืบมา ในยุคน้ี เมอื่ วันพระมใิ ช่วันหยดุ งาน ญาตโิ ยมฝา่ ยคฤหัสถย์ ังต้องประกอบหนา้ ทีก่ ารงาน ท�ำมาหาเลี้ยงชพี มโี อกาสสง่ั สมบญุ เพยี งช่วงเวลาเล็กน้อย เวลาเช้ากอ่ นไปทำ� งาน กเ็ ตรียม ข้าวปลาอาหารอยา่ งประณีต เตรยี มตัง้ ใจมาถวายพระ ถวายสามเณรเป็นอย่างดี ซึ่งแตล่ ะรปู ก็ล้วนต้ังใจฝึกหัดขัดเกลาตัวเอง ต้ังใจมาเป็นอายุพระศาสนา ด้วยความเพียรของญาติโยม ทจี่ ะสรา้ งบญุ เอาไวเ้ ปน็ ทพ่ี ง่ึ ของตนอยา่ งนี้ แมม้ เี วลาไมม่ ากพอจะอยฟู่ งั เทศนฟ์ งั ธรรมไดน้ าน ก่อนจะกลับควรจะได้น่ังสมาธิก่อน เม่ือนั่งสมาธิแล้ว เมื่อใจเป็นกลางแล้ว ก็จะเห็นตัวเอง ได้ชัดเจนวา่ เรามคี วามประพฤติดีหรือไมด่ ีตรงไหน ทไ่ี มด่ เี มอ่ื ร้ตู ัวกจ็ ะไดแ้ ก้ไข ท่ีดแี ลว้ กจ็ ะได้ ท�ำให้ดียง่ิ ๆ ขึ้นไป ญาติโยมเมอื่ เขา้ มาวัด แมไ้ ม่ได้ฟังเทศน์ แต่ไดเ้ หน็ พระภกิ ษุ เหน็ สามเณร อยู่ในอาการ สำ� รวมทง้ั การนงุ่ การหม่ ทงั้ อริ ยิ าบถ ยนื เดนิ นงั่ สำ� รวมอยใู่ นวนิ ยั และยง่ิ ไดเ้ จอความสะอาด ของวัด ข้าวของทุกอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ความเขียวสดช่ืนร่มร่ืนของหมู่แมกไม้ สง่ิ แวดลอ้ มที่ดภี ายในวดั ก็พอท่จี ะทำ� ให้เขาเหลา่ นนั้ ไดค้ ดิ อะไรขน้ึ บา้ ง ไดเ้ หน็ ตวั อย่างแลว้ เอาไปท�ำเปน็ ประโยชน์ตอ่ ตัวเขาบา้ ง กลายเปน็ เหตุน้อมน�ำใหเ้ ขาเกดิ ความรู้สึกทอ่ี ยากจะมา ปฏบิ ตั ธิ รรมทีว่ ัดให้ย่งิ ๆ ข้ึนไปในวนั หยุด หรอื วนั พระท่ีตรงกบั วันหยุด เช่นน้ีแล้ว วันพระก็จะเป็นประโยชน์แก่พุทธบริษัทสี่ ท้ังพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ก็จะได้ทบทวนศีลของตน และปรับทิฏฐิสามัญญตาของตนให้เสมอกันท้ังหมู่คณะ เสาหลกั ทงั้ ๔ เสาทคี่ ำ้� จนุ พระพทุ ธศาสนา กจ็ ะยงั คงแขง็ แรงเขม้ แขง็ มนั่ คง ชว่ ยกนั ธำ� รงรกั ษา พระพทุ ธศาสนาไว้ให้เป็นท่พี ่งึ แก่มนุษยชาตติ ่อไปไดอ้ ีกนานแสนนาน มีนาคม ๒๕๖๓ อยู่ในบุญ 55 www.kalyanamitra.org

อ่านอดีต ขดี อนาคต เร่อื ง : พระมหาพงศ์ศักดิ์ านโิ ย, ดร. ยอ้ นอดตี ...ทอ่ งประวตั ิศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ ๒๗ : สังเวชนียธรรม...ความแตกต่างบนความเหมือน ข้ึนชื่อว่า มนุษย์ ทุกผู้ทุกนามยอ่ มไม่อาจกา้ วล่วง ความตาย ไปได้ แม้ผทู้ รงพระคณุ อันประเสริฐยิ่งเฉกเช่นพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ยังมิอาจก้าวล่วงไปได ้ ณ ปาวาลเจดีย์ กรุงเวสาลี ภายหลังจากพระพุทธองคท์ รงปลงอายุสงั ขาร พระผู้มพี ระภาคเจ้า ได้ตรัสเรียกพระภิกษุท้ังหลาย ตรัสบอกถึงความที่พระองค์จะเสด็จดับขันธปรินิพพานในอีก ๓ เดือน และตรัสพทุ ธภาษติ เปน็ คาถาดงั น้วี ่า “มนษุ ยท์ ุกคนไมว่ า่ เด็ก ผู้ใหญ่ โง่ ฉลาด มงั่ มี และยากจน ลว้ นตอ้ งตาย ชีวติ ของสัตว์เปรยี บเหมือนภาชนะดนิ ท่ชี า่ งหม้อป้ันแล้ว เลก็ บ้าง ใหญบ่ ้าง สุกบ้าง ดบิ บา้ ง ซึง่ ลว้ นมคี วามแตกสลายเป็นที่สุด วยั ของเราแกห่ งอ่ ม ชีวิตของเราเหลือนอ้ ย เราจะจากพวกเธอไป เราท�ำทพี่ ง่ึ แก่ตนแล้ว พวกเธอจงอย่าประมาท มสี ติ มศี ีลบรสิ ทุ ธ์ิ มคี วามดำ� รมิ ั่นคงดี รกั ษาจติ ของตนไว้ ผ้ทู ่ีไมป่ ระมาทอยูใ่ นธรรมวนิ ยั นี้ ละการเวียนวา่ ยตายเกดิ แล้ว จกั ทำ� ทสี่ ดุ แหง่ ทุกข์ได”้ (ท.ี มหา. ๑๐/๑๘๕/๑๓๑-๑๓๒ ไทย.มจร) พุทธภาษิตน้ีช้ีชัดถึงกฎธรรมชาติที่ยังไม่มีใครสามารถก้าวล่วงได้ เป็นส่ิงท่ีทุกผู้ทุกนาม ต้องมีเสมอเหมือนกัน นนั่ คือ การเกดิ ขึน้ ตง้ั อยู่ เส่ือมสลายไป แตใ่ นขณะเดียวกัน กม็ ีอกี สิง่ หนึง่ ทีไ่ ม่เหมอื นกนั ต่างกนั ดว้ ยข้อวตั รปฏบิ ัติ ต่างกนั ดว้ ยคติที่ไป น่ันคือ ใครทำ� ทพี่ ง่ึ ใหแ้ ก่ ตนเองได้ และ ใครทำ� ท่ีพึง่ ให้แก่ตนเองไมไ่ ด้ น่คี อื ความแตกตา่ งบนความเหมอื น สำ� หรับ วธิ กี ารเพอื่ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ทพี่ งึ่ นนั้ พระพทุ ธองคท์ า่ นกต็ รสั ไวแ้ ลว้ ในพทุ ธภาษติ นี้ คอื ๑. ไมป่ ระมาท ๒. มีสติ ๓. มีศลี ๔. มดี �ำรมิ น่ั (ในหนทางพระนพิ พาน) ๕. รักษาจิตของตน (ให้ตง้ั มั่นและ ผ่องใส) เมอื่ เปน็ เชน่ น้ี ย่อมกระทำ� ทีส่ ดุ แหง่ ทกุ ข์ได้ สงั เวชนียสถาน เปน็ สถานที่ทปี่ ระกอบด้วยความสลดสงั เวชใจ ควบคไู่ ปกบั การเกิดกำ� ลงั ใจ ในการสง่ั สมคณุ งามความดอี นั ไม่มีประมาณในเวลาเดียวกัน ฉนั ใด สังเวชนยี ธรรม ย่อมเป็น ธรรมทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงกฎธรรมชาตอิ ันน่าสลดสงั เวชใจในเรอ่ื งการเกิดข้ึน ต้งั อยู่ เสื่อมสลาย ไปของตนเอง ควบคไู่ ปกบั การเกดิ กำ� ลงั ใจในการกระทำ� ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ดใ้ นเวลาเดยี วกนั ฉนั นนั้ 56 อยู่ในบญุ มนี าคม ๒๕๖๓ www.kalyanamitra.org

ย้อนอดตี ...ทอ่ งประวตั ิศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ ๒๗ ภาพ : พ.ณัฏฐวัฒน์ ณฏฺฐิโต หลวงพ่ีเปรม สงั เวชนยี ธรรม...ความแตกตา่ งบนความเหมือน “มนษุ ยท์ ุกคนไม่ว่าเด็ก ผู้ใหญ่ โง่ ฉลาด ม่งั มี และยากจน ล้วนต้องตาย ชวี ิตของสตั วเ์ ปรยี บเหมอื นภาชนะดินท่ีช่างหมอ้ ป้นั แลว้ เลก็ บา้ ง ใหญ่บ้าง สกุ บา้ ง ดบิ บา้ ง ซงึ่ ล้วนมีความแตกสลายเปน็ ที่สุด วัยของเราแก่หงอ่ ม ชวี ติ ของเราเหลือน้อย เราจะจากพวกเธอไป เราท�ำ ทพ่ี ง่ึ แก่ตนแลว้ พวกเธอจงอยา่ ประมาท มีสติ มศี ลี บรสิ ทุ ธิ์ มคี วามดำ�ริมน่ั คงดี รกั ษาจิตของตนไว้ ผทู้ ไ่ี มป่ ระมาทอยใู่ นธรรมวินยั น้ี ละการเวียนวา่ ยตายเกิดแลว้ จกั ท�ำ ท่สี ุดแหง่ ทุกข์ได้” (ทีฆนกิ าย มหาวรรค. ๑๐/๑๘๕/๑๓๑-๑๓๒ ไทย.มจร) เดก็ เกิดขึ้น หมดกิเลส ทีส่ ดุ แหง่ ทุกข์ สุคติ ทุคติ (นิพพาน) ผู้ใหญ่ ไตรลักษณ์ สเสลื่อามย ตาย ตั้งอยู่(โง่ ฉลาด ผู้ไม่มีสังเวชนียธรรม รวย จน) สังเวชนียธรรม ผู้มีสังเวชนียธรรม ๑. ไม่ประมาท (ระลกึ ถึงความตาย) สงั เวชนยี สถาน ๒. มีสติ (ระลกึ รู้ตัวในการประกอบกุศล) เปน็ สถานทเี่ ตอื นใจให้ไม่ประมาท ๓. มีศีล (รกั ษาศีลอย่างนอ้ ยศลี ๕ ทุกวนั ) ๔. มีด�ำ ริม่ัน (ในหนทางพระนพิ พาน) และมกี ำ�ลังใจทำ�ความดี ๕. รกั ษาจิตของตน (ให้ตั้งมนั่ และผอ่ งใส) สงั เวชนียธรรม กเ็ ปน็ ธรรมที่ท�ำ ใหไ้ มป่ ระมาท มีกำ�ลังใจทำ�ความดี เพื่อสเู่ ส้นทางแหง่ สุคตภิ พ มที ่ีพงึ่ ของตนเอง และเขา้ พระนพิ พานพ้นทุกข์ ไมต่ ้องกลบั มาเกดิ อกี ครับ www.kalyanamitra.org

๔ ช่องทาง..ที่คณุ จะได้รบั สื่อดี ๆ โดยตรงจากส�ำ นกั สอ่ื ธรรมะกอ่ นใคร • อ่าน e-book วารสารอยูใ่ นบุญและหนังสอื ทุกเล่มท่ีสำ� นกั ส่อื ธรรมะผลติ • รับชม รับฟัง และโหลดธรรมะดี ๆ ผา่ น YouTube เชน่ ไฟล์เสยี งน�ำนง่ั สมาธิ โอวาทหลวงพ่อธัมมชโย สกปู พเิ ศษ Case Study รวมแล้วนบั หมืน่ ๆ ชิน้ • อา่ นบทความดี ๆ ทเ่ี ราคัดมาแลว้ เพ่ือคณุ จาก ๔ ชอ่ งทาง เพียงคณุ สแกน QR Code ผ่านมือถือหรือแท็บเล็ตของคุณ ไลน@์ สำ� นักสอื่ ธรรมะ เพจสำ� นกั ส่อื ธรรมะ Line ID : @hkp4852i ส�ำนักสือ่ ธรรมะ บลอ็ กเกอร์สำ� นกั ส่ือธรรมะ dhamma-media.blogspot.com สนใจสมัครมารบั บญุ เป็นหนึ่งในทีมงานเผยแผส่ อื่ ธรรมะกบั เรา ไดท้ ่ี Line ID : 0622265415 www.kalyanamitra.org

ทีป่ รึกษา ความนา่ กลวั ๓ อยา่ ง ! พระวิเทศภาวนาจารย์ ว.ิ (สมบุญ สมมฺ าปญุ โฺ ) พระสุธรรมญาณวิเทศ วิ. (สธุ รรม สุธมฺโม) ๑. เราไม่รู้วนั ตายของเรา หากเราเกดิ มาแล้วรวู้ นั ตาย พระครูปลดั สุวฒั นโพธิคณุ (สมชาย านวฑุ ฺโฒ) จะทำ� ใหเ้ ราสามารถวางแผนในชวี ติ ไดถ้ กู วา่ จะเลอื กใหเ้ วลา พระครูสมหุ ว์ ษิ ณุ ปญฺ าทโี ป กบั สิง่ จำ� เป็นสิ่งไหนกอ่ น แตค่ วามจรงิ ไม่เปน็ อย่างนน้ั จึง พระครูธรรมธรอารักษ์ าณารกฺโข ท�ำใหห้ ลายคนประมาท คิดวา่ มีเวลาในชวี ิตเหลือเฟือ แล้ว พระครูใบฎกี าอำ� นวยศกั ด์ิ มุนิสกฺโก เอาเวลาไปใช้กับส่ิงท่ีไม่ใช่ จนสุดท้ายก็ต้องมาเสียใจ บรรณาธกิ ารบริหาร ท่ีไม่ได้ให้เวลากับคนที่เรารัก กับตัวเอง หรือกับเร่ืองราว พระสมบตั ิ รกขฺ ิตจิตโฺ ต มคี ่าที่สุดในชวี ติ ๒. เราเกดิ มาแลว้ ไมไ่ ดท้ ำ� ในสง่ิ ดี ๆ ทเ่ี ราอยากทำ� ทสี่ ดุ กองบรรณาธิการ คดิ ดเู ถิด หากเราเกิดมาแล้วได้ทำ� สงิ่ ทเ่ี ราใฝฝ่ นั ได้ท�ำงาน พระสนิทวงศ์ วุฑฺฒวิ โํ ส, พระมหามิญช์ พุทธฺ วิ ฑฺโฒ, ดร., ท่รี กั ชวี ิตจะมคี วามสขุ ขนาดไหน ซึ่งทกุ วนั นี้ คนจ�ำนวน พระมหาธีระ นาถธมโฺ ม, พระวิฑูรย์ อุชจุ าโร, มหาศาลต้องทนท�ำในส่ิงท่ีไม่รักไม่ชอบ แต่ต้องท�ำเพราะ พระสุรศักด์ิ ปภสฺสโร, พระณัฏฐวฒั น์ ณฏฺโิ ต, เงิน ดังน้ันในชีวิตหนึ่งเราควรหาโอกาสท�ำส่ิงที่อยากท�ำ พระมหาอรรถพล กุลสิทฺโธ, พระปลัดบริบรู ณ์ ธมมฺ วิชฺโช, จริง ๆ เพอ่ื ใหช้ วี ติ เราสัมผสั ความสุขตามความฝันบ้าง พระมหาภูรชั ทนฺตวํโส, พระมหาณัฐวฒุ ิ ณฏฺ ชโย, ๓. เราเกิดมาแล้วไม่เข้าถึงธรรม ข้อนี้ถือว่าน่ากลัว วนั ชยั ภทั รโกมล, นำ�้ ผง้ึ พมุ่ มาล,ี ทสี่ ดุ เพราะหากเราไมเ่ ขา้ ถงึ ธรรม หรอื เกดิ มาชาตหิ นงึ่ แลว้ ระพพี รรณ ใจภักดี, รดั เกล้า  ลิ่วเฉลิมวงศ์, ไม่ได้ขัดเกลากิเลสเลย ระยะเวลาในการเวียนว่ายตายเกิด อมรรตั น์ สมาธิทรัพยด์ ,ี สุธดิ า จนิ ดากิจนกุ ูล, ก็จะยิ่งถูกยืดให้ยาวไกลออกไปอีก ท�ำให้ต้องทนทุกข์ กนกพร เทศนา, พรรณนภิ า ทองเตม็ , ในวัฏสงสารต่อไป ซึ่งก็ไม่รู้ว่าชาติไหนวิบากกรรม อมรพรรณ ทองสมบูรณ์, พงษว์ นาถ ดวงปาน, จะส่งผลทำ� ให้ชีวติ ตกตำ�่ ลงไปอีก ฉะนน้ั เราไม่ควร จตรุ พร สมแกว้ , เมธินี จอกทอง, ภทั รสดุ า คำ้� ชู, ประมาท ควรแบ่งเวลานั่งสมาธิเพ่ือให้เข้าถึงธรรม บญุ ฐสิ า สร้อยสำ� โรง, เมษนิ ีย์ คลา้ ยอุดม, ซ่ึงอย่างน้อยหากเราพยายามนั่งอย่างท่ีสุดแล้ว วา่ ที่ ร.ต. วิทวัส ยงถาวร, อรยิ า ผาลาโห แตย่ งั ไมเ่ ขา้ ถงึ ธรรม สง่ิ นจี้ ะเปน็ อธั ยาศยั ทสี่ ง่ ผลให้ ฝ่ายภาพ ชาตหิ น้าเราเขา้ ถงึ ธรรมง่าย ๆ ... ศนู ยภ์ าพนิ่งและบรรณาธกิ ารภาพ ฝ่ายศิลปกรรม สถาบนั พทุ ธศิลป์แหง่ โลก, พระศิรพิ งษ์ สริ ิวโํ ส, ลือพงศ์ ลลี พนงั , ชัยชนะ กิตติโสภาพันธ์,ุ อดิเศรษฐ์ นฐั กรานต์นุวัฒน์, ธาดา วงศค์ ณุ านนท,์ สนั ทัด ศักด์ิสาคร, สุพัตรา ปญั ญาแสง, ดารณี โกยทอง ฝ่ายโฆษณา ปราณี ชยั ผดุง ๐๙ ๑๕๔๙ ๒๔๙๒ ฝ่ายสมาชกิ ปิยธิดา เกตุสถล ๐๙ ๒๖๓๒ ๕๔๖๒ โรงพมิ พ์ บริษทั รุง่ ศิลปก์ ารพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกดั จดั ทำ� โดย ส�ำนักสอ่ื ธรรมะ วัดพระธรรมกาย วารสาร “อยใู่ นบุญ” เป็นวารสารเพอื่ การเผยแผธ่ รรมะ ในพระพทุ ธศาสนาเปน็ รายเดือน มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้ ๑. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในธรรมะขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเกิดก�ำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพ่อื เข้าถึงธรรมะภายใน ๒. เพอ่ื ปลกู ฝงั คณุ ธรรมแกป่ ระชาชนทกุ เพศ ทกุ วยั ทกุ อาชพี และทุกระดับการศกึ ษา ๓. เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธศาสนาให้ง่ายแก่ การนำ� ไปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ในชวี ติ ประจำ� วนั ๔. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในสังคมเป็นคนดี ท่โี ลกตอ้ งการ ๕. เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ให้เป็นท่ีพ่งึ แก่ชาวโลกสืบไป www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

ขอเชญิ บรรพชาและอปุ สมบทหมู่ ภาคฤดรู ้อนในโครงการท่เี หมาะกับท่าน ๑. โครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพทุ ธศาสนาทว่ั ไทย • อบรมระหว่างวันท่ี ๒๙ มนี าคม - ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ศูนยส์ ง่ เสริมศลี ธรรมใกล้บ้านทา่ นท่วั ประเทศ • รบั สมัครนักเรียนอายุ ๑๐ - ๑๘ ปี • สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ที่ โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๑๒๓๔, www.บวช.com ๒. โครงการบรรพชาและอปุ สมบทหมูว่ นั คุม้ ครองโลก • อบรมระหวา่ งวนั ที่ ๒๒ มีนาคม - ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ หมู่บา้ นบรรลุธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี • รับสมคั รชายแมน ๆ อายุ ๒๐ - ๕๐ ปี จบ ม.๖ หรอื ปวช. ข้ึนไป • สอบถามรายละเอียดเพม่ิ เติมท่ี โทร. ๐๘ ๙๗๕๔ ๘๙๒๕, ๐๙ ๒๔๒๕ ๔๙๔๕ ๓. โครงการบรรพชาสามเณรยวุ ธรรมทายาท รุ่นที่ ๒๙ • อบรมระหวา่ งวนั ที่ ๒๕ มีนาคม - ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ศูนยฝ์ กึ อบรมธรรมทายาท อาคารแจ่มจันทร์ วดั พระธรรมกาย • รบั สมคั รนกั เรยี นอายุ ๙ - ๑๒ ปี • สอบถามรายละเอียดเพ่มิ เติมที่ โทร. ๐๘ ๓๔๔๓ ๓๐๐๐, ๐๘ ๖๐๗๗ ๖๐๐๐ www.ธรรมทายาท.com, Line ID : @tty072 ๔. โครงการบรรพชาสามเณรมัชฌิมธรรมทายาท ร่นุ ท่ี ๒๕ • อบรมระหว่างวันที่ ๒๔ มีนาคม - ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ศนู ย์ฝกึ อบรมธรรมทายาท อาคารแจ่มจันทร์ วดั พระธรรมกาย • รับสมัครนกั เรยี นอายุ ๑๓ - ๑๗ ปี ม.๑ - ม.๖ • สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ท่ี โทร. ๐๘ ๓๔๔๓ ๓๐๐๐, ๐๘ ๖๐๗๗ ๖๐๐๐, ๐๙ ๒๗๗๙ ๒๐๐๐, www.ธรรมทายาท.com, Line ID : @tty072 ๕. โครงการหน่อแกว้ เปรียญธรรม ร่นุ ที่ ๙ • อบรมระหวา่ งวนั ที่ ๒๙ มีนาคม - ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ อาคารแกว้ ดวงบุญ หมกู่ ุฏิสามเณรเปรียญธรรม วดั พระธรรมกาย • รับสมคั รนักเรยี นอายุ ๑๑ - ๑๓ ปี • สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ที่ โทร. ๐๘ ๓๒๙๙ ๒๘๘๑, ๐๘ ๗๗๗๐ ๐๐๓๑ สมคั รผ่านเวบ็ ไซต์ www.norkaew.com, Line ID : ban9072 ๖. โครงการอุปสมบทหมธู่ รรมทายาทพุทธศาสตร์สากล รนุ่ ที่ ๖ ภาคฤดูร้อน • อบรมระหวา่ งวนั ท่ี ๓๐ มนี าคม - ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ วัดพระธรรมกาย • รบั สมัครนิสติ นักศกึ ษาชายทก่ี �ำลงั ศึกษาหรอื จบการศึกษาในระดบั ปริญญาตรี อายุ ๑๘ - ๒๘ ปี • สอบถามรายละเอียดเพมิ่ เติมท่ี โทร. ๐๘ ๓๕๔๐ ๕๖๔๒, ๐๘ ๒๔๕๐ ๙๘๒๐ Line ID : @IBSTOP, Facebook : ธรรมทายาทพทุ ธศาสตร์สากลฯ, www.ibstop.in.th www.kalyanamitra.org