Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประชุม สงพ.19_1 เม.ย.64_v2

รายงานการประชุม สงพ.19_1 เม.ย.64_v2

Published by aoy aoy, 2021-06-03 08:45:38

Description: รายงานการประชุม สงพ.19_1 เม.ย.64_v2

Search

Read the Text Version

รายงานการประชมุ สำนกั ตรวจสอบการเงินและบริหารพสั ดุท่ี 19 วันพฤหสั บดีที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม 2305 สำนักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ _______________________ ผเู้ ข้าร่วมประชุม ๑. นางกรรณาภรณ์ ดำรงค์กจิ การ ผ้อู ำนวยการสำนักตรวจสอบการเงินและบริหารพสั ดทุ ี่ ๑๙ นักวชิ าการตรวจเงนิ แผ่นดนิ เชี่ยวชาญ 2. นางสาวรจนา วุฒวิ ัย นักวชิ าการตรวจเงินแผน่ ดนิ ชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ชำนาญการพเิ ศษ 3. นางนุสรา หสั ดี นกั วิชาการตรวจเงนิ แผ่นดินชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจเงินแผน่ ดนิ ชำนาญการพเิ ศษ 4. นางสาววรรณพร เกิดร้องข้มุ นกั วิชาการตรวจเงนิ แผน่ ดินชำนาญการ นกั วชิ าการตรวจเงินแผ่นดนิ ชำนาญการ 5. นายสโรจน์ เอกจรรยา นกั วิชาการตรวจเงนิ แผน่ ดินชำนาญการ นกั วชิ าการตรวจเงนิ แผ่นดินชำนาญการ 6. นางสาวนยั นา พลกูล นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินปฏบิ ัติการ นักวชิ าการตรวจเงนิ แผ่นดินปฏบิ ตั กิ าร 7. นางสาวปิยพร แยม้ สืบพันธ์ นักวชิ าการตรวจเงินแผ่นดินปฏบิ ตั กิ าร นกั วชิ าการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ปฏบิ ัตกิ าร 8. นางสาวสุนีย์ พลบี ตั ร นกั วิชาการตรวจเงนิ แผ่นดินปฏบิ ัตกิ าร นกั วชิ าการตรวจเงินแผน่ ดนิ ปฏิบตั กิ าร 9. นายศุภชัย เปการี นกั วชิ าการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ปฏิบัติการ นักวชิ าการตรวจเงนิ แผน่ ดินปฏบิ ัติการ 10. นางสาวปุณญาดา เล่ือนกลนิ่ นกั วิชาการตรวจเงินแผ่นดินปฏิบัติการ นักวชิ าการตรวจเงินแผน่ ดินปฏบิ ตั กิ าร 11. นางสาวบษุ ยวรรณ กุลยวน นักวชิ าการตรวจเงินแผน่ ดินปฏิบัตกิ าร นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดนิ ปฏิบตั ิการ ๑2. นางสาวรงุ่ ทพิ ย์ เหลืองประสาทพร ๑3. นางสาวทฆิ มั พร ยอดปัญญา ๑4. นางสาวธญั ญาเรศ ยานปนิ ๑5. นางสาวจริญญา เหย็บแม ๑6. นางสาวประภาวรินท์ เทพแกว้ 17. นางสาวอจั จมิ า ชน่ื สวุ รรณรัตน์ 18. นางสาวอรณัชชา อไุ รเวศ 19. นางสาวอมรรตั น์ ประเสริฐทรพั ย์ 20. นางสาวชนาภา จนั ทะรกั ษา 21. นางสาวนภสั วรรณ ยะอนันต์ 22. นางสาวพชั รมี นต์ ออ่ นละมัย เรมิ่ ประชุมเวลา 09.00 น.

2 ระเบียบวาระท่ี 1 เรอ่ื งแจง้ เพือ่ ทราบ ผงพ. 19 แจ้งใหท้ ปี่ ระชุมทราบ ดังนี้ 1. การรกั ษาระเบยี บวนิ ยั การแตง่ กายให้เหมาะสม และการรกั ษาเวลาปฏบิ ตั ริ าชการอย่างเคร่งครัด การใช้อำนาจให้ใช้ในหน้าท่ีและมีความเหมาะสม รวมถึงการมสี ่วนรว่ ม การรู้รักสามคั คีมีความเป็นหนึ่ง และการแสดง ความคิดเห็นเพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปทเ่ี ปน็ หน่ึง ควรแสดงความเห็นแบบสร้างสรรค์ 2. การเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVIC - 19) ตอ้ งรจู้ ักบริหารจัดการ จำกดั ขอบเขตตามทรัพยากรท่ีมีอยู่ เช่น เวลา คน เครอื่ งมือเคร่อื งใช้ 3. การเสนอรายงานผู้สอบบบัญชีของกองทุนที่ผ่านมามีการเสนอรายงานผู้สอบบัญชีไม่ถูกต้อง เนอื่ งจากเดมิ ทปี่ ฏบิ ตั ติ ามกันมาเสนออธิบดี ซง่ึ ทถ่ี กู ควรเสนอคณะกรรมการกองทนุ 4. การตรวจนบั พัสดุประจำปขี องหนว่ ยงานให้ดูด้วยว่าเปน็ ไปตามระเบยี บพัสดุหรือไม่ 5. การประมาณการแผนที่จะจัดส่งรายงานการเงิน ต้องประมาณการเผื่อระยะเวลาที่ลงนาม หรอื ระยะเวลาให้ผู้สอบทานด้วย เนอ่ื งจากอาจมีการแก้ไขหรือต้องหาข้อมลู เพ่มิ เตมิ 6. การเตรียมขอ้ มูลเพือ่ ตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย (CA) 7. ทบทวนแนวการตรวจสอบใหมโ่ ดยให้ ชช. สอบทาน 8. รวบรวมแบบถาม - ตอบ ของ นตง.ชพ. และ ผอ. ตั้งแตป่ ี 2561 ถงึ ปจั จบุ นั ส่งพร้อมกับการ นำส่งงบการเงนิ โดยใสแ่ ฟ้มรวมส่วนของผอ. และสว่ นของหวั หนา้ กล่มุ แยกเปน็ ปี ๆ 9. สรุปและรวบรวมกฎหมายหรือคำสั่งที่ให้ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติงบการเงินของทุกหน่วย (มอบหมายใหแ้ ตล่ ะคนจัดทำสรุปแลว้ รายงาน) 10. สรปุ และรวบรวมกฎหมายหรือคำส่ังการส่งงบการเงินใหผ้ ู้ใดของทุกหน่วย (มอบหมายให้แต่ละคน จดั ทำสรปุ แลว้ รายงาน) 11. การเปิดเผยการใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐให้สื่อมวลชนเพื่อประโยชน์ในการ โฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ ให้ประสานงานแจง้ ใหห้ นว่ ยรับตรวจมีการปฏิบัตติ ามระเบียบดังกลา่ ว 12. การจดรายงานการประชุม ในการประชุมแต่ละครั้งให้จัดผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการจดรายงาน การประชุม ให้เรียงลำดับตามกลุ่ม โดยการประชุมในวันที่ 1 เมษายน 2564 มอบหมายให้กลุ่ม 1 และวันที่ 2 เมษายน 2564 มอบหมายให้กลุ่ม 2 ในการประชมุ ครง้ั ต่อไปกจ็ ะมอบหมายให้เปน็ หน้าท่ขี องกล่มุ ลำดบั ถดั ไป มติที่ประชุม : รับทราบ

3 ระเบยี บวาระที่ 2 เร่อื ง การจดั ทำรายงานของผูส้ อบบัญชี ประชุมหารือการจัดทำรายงานของผู้สอบบัญชีเพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยมีเรื่องท่ี พิจารณาหารอื รว่ มกนั ดังน้ี 1. หนา้ รายงานผสู้ อบบญั ชี วรรคความเหน็ ย่อหนา้ แรก สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบรายงานการเงินของ...... ............(หน่วยงาน) ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่............. งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน และงบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบ งบการเงิน รวมถึงหมายเหตุสรปุ นโยบายการบัญชีท่ีสำคัญ ให้แสดงเฉพาะงบที่ส่งให้ตรวจสอบ เนื่องจากตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.2/ว 479 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2563 เรื่องรูปแบบการนำเสนอรายงานการเงินของรัฐ หน้า 2 ข้อ 3 องค์ประกอบของรายงาน การเงิน กำหนดการจัดทำรายงานการเงินอย่างน้อยต้องประกอบด้วย (1) งบแสดงฐานะการเงิน (2) งบแสดงผลการ ดำเนินงานทางการเงิน (3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน และ (4) หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซ่ึงแต่ละหนว่ ยงานมีการจัดทำไม่เหมือนกัน จึงควรปรบั หน้ารายงานผู้สอบบัญชีให้สัมพันธ์กับงบการเงินท่ีหน่วยรับตรวจ สง่ ให้ตรวจสอบ ข้อความบรรทัดสุดท้าย “รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ” คำว่า “รวมถึง” ใหต้ ิดกบั คำวา่ “สรปุ นโยบาย” และตัดคำว่า “หมายเหต”ุ ออก 2. รายงานฐานะการเงินงบประมาณ และ/หรือ รายงานรายได้แผ่นดิน ไม่ต้องแสดงในวรรคแรก เนื่องจากตามรูปแบบการนำเสนอรายงานการเงินของหน่วยงานของรัฐ (หน้า 5) หัวข้อ ข้อมูลหลักที่แสดงในแต่ละ องค์ประกอบของรายงานการเงิน ข้อ 4 หมายเหตุประกอบงบการเงิน ย่อหน้า 2 ระบุว่า “ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำ รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจา่ ย รายงานฐานะเงินกันไวเ้ บิกเหล่ือมปี และรายงานรายได้แผ่นดินแสดงไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงนิ ซ่ึงนำเสนอพรอ้ มกับองค์ประกอบอ่นื ในรายงานการเงิน” 3. เพิ่มวรรคข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น สำหรับหน่วยงานที่มีทุนหมุนเวียนภายใตส้ งั กัดแต่ยงั ไม่ได้ จัดทำรายงานการเงินรวม เนื่องจากมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 35 เรื่องรายงานการเงินรวม ยังไม่ประกาศใช้ ซง่ึ ตามรปู แบบการนำเสนอรายงานการเงินของหนว่ ยงานของรัฐ (หน้า 2) ขอ้ 4 ขอบเขตของข้อมูลในการรายงานการเงิน ระบุวา่ \"การแสดงรายการขอ้ มูลทางการเงินและบัญชีในรายงานการเงนิ ให้หนว่ ยงานของรัฐจัดทำรายงานการเงินให้มี ขอ้ มลู ทางการเงินและบัญชี ประกอบด้วย เงนิ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ เงนิ รายได้แผ่นดิน และเงินอื่นใด รวมทั้ง การกอ่ หนี”้ ตวั อยา่ ง ข้อมูลและเหตุการณ์ทเี่ นน้ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 เกณฑ์ การจัดทำรายงานการเงนิ ซ่ึงอธบิ ายเกี่ยวกับการจดั ทำรายงานการเงินรวม ตามหลักการและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชภี าครฐั และนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561 กำหนดให้ รายงานการเงินที่หน่วยงานของรัฐจัดทำขึ้น ต้องเป็นรายงานการเงินที่รวมเงินทุกประเภท หากมีหน่วยงานภายใต้ การควบคุม หน่วยงานของรัฐต้องจัดทำรายงานการเงินรวมที่รวมหน่วยงานย่อยทุกแห่งที่อยู่ภายใต้การควบคุมของ หน่วยงานของรัฐนั้น ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับท่ี 35 เรอ่ื ง รายงานการเงินรวม (เมอื่ มกี ารประกาศใช้) และ

4 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0410.2/ว 2 ลงวันที่ 28 มกราคม 2562 เรื่อง แนวปฏิบัติในการจัดทำรายงาน การเงินภาพรวมสำหรับหน่วยงานของรัฐ ซึ่งกระทรวงการคลังยังมิได้ประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับดังกล่าว เป็นผลให้กรม.....มิได้นำทุนหมุนเวียนท่ีไม่เป็นนิติบุคคล คือ กองทนุ ..... ทีอ่ ย่ภู ายใต้การควบคุมมารวมในรายงานการเงิน ของกรม..... ทง้ั นี้ สำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ มไิ ดแ้ สดงความเหน็ อย่างมีเง่ือนไขในเรอ่ื งดังกล่าว 4. วรรคข้อมูลอื่น หน่วยงานที่มีการจัดทำรายงานประจำปี ต้องเปิดวรรคข้อมูลอื่น โดยดูตัวอย่าง ได้จากแนวทางการจัดทำรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับหน่วยงานของรฐั เล่มที่ 1 (กุมภาพันธ์ 2563) และเล่มที่ 2 (มิถนุ ายน 2563) 5. พิจารณาปรับข้อความในหนังสือยนื ยันการปฏิบัติงานสอบบัญชี โดยให้ชื่องบการเงนิ สอดคล้อง กับหน้ารายงานของผู้สอบบัญชี และบันทึกเสนอเซ็นหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีให้สรุปเสนอด้วยว่างบ การเงินสอดคล้องกับหน้ารายงานของผูส้ อบบญั ชี 6. หนา้ รายงานของผู้สอบบญั ชี เสนอ..... ใหพ้ ิจารณาวา่ ต้องเสนอใคร ตามพระราชบัญญัติ กฎหมาย หรือระเบียบใด (มอบหมายให้แตล่ ะคนจดั ทำสรปุ แลว้ รายงาน) 7. วันท่ีในรายงานของผู้สอบบญั ชี จะต้องเปน็ วนั เดยี วกบั วนั ท่ีในหนงั สือรบั รอง ซง่ึ ต้องประสานกับ ผงพ. ก่อนว่าจะลงวันที่ใด โดยอาจจะต้องประสานล่วงหน้าเพื่อแจ้งให้หน่วยรับตรวจสามารถดำเนินการได้ทันเวลา เนื่องจากบางหน่วยงานใช้ระบบ e-office ทำให้ไม่สามารถล็อคเลขหนังสือรับรองเพื่อให้ตรงกับวันที่ในหน้ารายงาน ของผสู้ อบบญั ชีได้ มติที่ประชมุ : รบั ทราบ ระเบยี บวาระที่ 3 เรื่อง รูปแบบการนำเสนอรายงานการเงินของหน่วยงานของรัฐ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0410.2/ว 479 ลงวนั ท่ี 2 ตุลาคม 2563 ประชุมหารือการจัดทำรายงานการเงินหน่วยงานของรัฐ สำหรบั ปีส้นิ สุดวันท่ี 30 กันยายน 2564 เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปในแนวทางเดียวกนั โดยมเี รื่องทีพ่ ิจารณาหารือร่วมกนั ดงั น้ี งบการเงนิ เรอื่ งท่พี ิจารณา มตทิ ีป่ ระชุม 1. การลงนามในงบการเงนิ “ลงช่ือ.......” ใหต้ ัดออก ไมต่ อ้ งใส่ ลงชื่อ...................................... ลงชือ่ ...................................... (.............................................) (.............................................) ให้ทบทวนผู้มีอำนาจลงนามในงบการเงินว่าเป็นไปตาม ผู้อำนวยการกองคลังหรอื หัวหน้าหน่วยงานของรฐั ระเบยี บหรือคำส่งั ใดของหนว่ ยงาน ผดู้ ำรงตำแหน่งอนื่ ใดทปี่ ฏิบตั ิงาน ผู้บริหารของหน่วยงานลงนามในงบการเงินทุกหน้า เชน่ เดยี วกัน โดยหวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐอยทู่ างดา้ นขวา 2. งบแสดงฐานะการเงนิ (หนา้ 7 - 9) 2.1 บัญชที ด่ี ิน อาคาร และอปุ กรณ์ กรณหี น่วยงานไมม่ ีทด่ี นิ หรือ ให้ใส่ตามชื่อบัญชี หากที่ดิน หรืออาคาร ที่หน่วยงาน อาคาร ให้ใส่ชื่อตามบัญชี “ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์” หรือใส่ตาม ใช้เป็นที่ดินราชพัสดุ หรือเช่า ให้เปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุ รายการทรพั ยส์ ินทหี่ น่วยงานมอี ย่จู ริง เช่น อาคาร และอุปกรณ์ ประกอบงบการเงิน

5 เรอ่ื งท่ีพจิ ารณา มติทีป่ ระชมุ 2.2 บัญชีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หากหน่วยงานใด ควรใส่เพราะเปน็ รายการทางบญั ชี ซงึ่ ณ วนั ส้นิ งวดบญั ชี ไม่มีเงนิ สด ควรใส่คำวา่ เงนิ สดด้วยหรือไม่ ไม่มียอดคงเหลือ แตใ่ นระหว่างงวดมีรายการเคลือ่ นไหว 2.3 รูปแบบ/การตเี ส้น (หนว่ ย:บาท) (หน่วย : บาท) ตัวหนา ก่อนและหลงั เครื่องหมาย : เคาะ 1 ปี 25x2 25x1 ใช้เลขอารบคิ 25x2 25x1 ท่ดี ิน อาคาร และอปุ กรณ์ - สุทธิ ตัด “- สุทธอิ อก” ออก รวมสินทรัพย์ xx . รวมสินทรพั ย์ ใช้ตามรูปแบบ รวมหน้ีสนิ xx . รวมหนสี้ นิ ขีดเส้นใตเ้ สน้ เดยี ว xx . รวมสนิ ทรพั ย์สทุ ธิ/ส่วนทนุ xx . รวมสินทรพั ย์สทุ ธ/ิ สว่ นทนุ ขีดเส้นใตเ้ สน้ เดียว xx . รวมหนส้ี นิ และสนิ ทรพั ยส์ ทุ ธ/ิ สว่ นทนุ xx . รวมหนสี้ นิ และสินทรพั ย์สทุ ธ/ิ สว่ นทนุ ใช้ตามรูปแบบ รายไดส้ งู /(ตำ่ )กว่าคา่ ใช้จา่ ยสะสม ตัด “/” ออก หากยอดคงเหลือสูงกว่าทั้ง 2 ปี ใช้ “รายได้สูงกว่า 3. งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงนิ (หน้า 10) ค่าใช้จ่ายสะสม” 3.1 รายไดส้ ูง/(ตำ่ )กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ หากยอดคงเหลือต่ำกว่าทั้ง 2 ปี ใช้ “รายได้ต่ำกว่า 3.2 รายได้สงู /(ตำ่ )กวา่ ค่าใชจ้ ่ายสทุ ธิ คา่ ใชจ้ ่ายสะสม” หากยอดคงเหลอื ปีหนงึ่ สงู กว่าและอีกปหี นง่ึ ต่ำกว่า ใช้ “รายไดส้ ูง(ตำ่ )กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสะสม” ถา้ ไม่มรี ายการใหต้ ัดออก ตัด “/” ออก หากยอดคงเหลือสูงกว่าทั้ง 2 ปี ใช้ “รายได้สูงกว่า คา่ ใชจ้ ่ายสะสม” หากยอดคงเหลือต่ำกว่าทั้ง 2 ปี ใช้ “รายได้ต่ำกว่า ค่าใชจ้ า่ ยสะสม” หากยอดคงเหลอื ปีหนึง่ สงู กว่าและอีกปีหน่งึ ตำ่ กว่า ใช้ “รายได้สงู (ตำ่ )กว่าคา่ ใชจ้ ่ายสะสม” 4. งบแสดงการเปลยี่ นแปลงสนิ ทรพั ย์สทุ ธิ/ส่วนทุน (หนา้ 11) ปรับขนาดตัวอกั ษรให้อยูห่ น้าเดียวกัน ขนาดตวั อกั ษร อาจจะเลก็ กว่า 16 ได้ โดยขอ้ ความด้านบนที่เปน็ ช่อื หน่วยงาน ชอ่ื งบ งวดบัญชี และขอ้ ความดา้ นล่างท่เี ป็นลงชื่อ ใช้ตวั อักษร ขนาด 16 หัวตาราง รายได้สูง/(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ปรับให้ เหมอื นกบั งบแสดงฐานะการเงนิ หวั ตารางของปเี ปรียบเทยี บ ใหใ้ สเ่ ฉพาะกรณขี ้ึนหน้าใหม่ หากอยู่ต่อจากปีปัจจบุ นั ในหนา้ เดียวกนั ไมต่ ้องใส่

6 หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ภาคผนวก) มติทป่ี ระชุม เรือ่ งท่ีพจิ ารณา ไม่ต้องมี สารบัญ หน้าแรกของหมายเหตุประกอบงบการเงิน รูปแบบตาม ให้ใสห่ วั กระดาษหน้าแรกหน้าเดียว หน้าถดั ไปไมต่ อ้ งใส่ ตัวอย่างไม่มีหัวกระดาษ (ชื่อหน่วยงาน ชื่องบ และงวดปี ช่อื หนว่ ยงาน................... บญั ช)ี หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน สำหรบั ปีส้นิ สดุ วนั ท.่ี .............. หมายเหตุ 1 ข้อมูลทว่ั ไป ให้ทบทวนข้อมลู ท่วั ไปของหนว่ ยงานให้เป็นปัจจบุ นั ทุกปี ให้สรุปในบันทึกข้อความเสนองบการเงินด้วยว่าข้อมูลทั่วไป มกี ารเปลย่ี นแปลงไปจากปกี อ่ นหรือไม่ กรม ก เปน็ สว่ นราชการในสังกดั กระทรวง กรม ก ย่อหน้าใหต้ รงกบั คำว่า “ข้อมลู ” หน่วยงานมีสถานทีต่ ้งั หลกั อย่ใู นกระทรวง ข หนว่ ยงาน ให้ใสช่ ่อื หน่วยงาน เช่น กรม ก กรอบกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกบั การดำเนนิ งาน ให้ใส่กฎหมายการจัดตั้ง หรือกฎหมายหลัก ๆ ที่สำคัญ โดย ให้ทบทวนทุกปีว่ามกี ารเปลีย่ นแปลงไปจากปีกอ่ นหรือไม่ และสรุปไว้ ในบันทกึ ข้อความเสนองบการเงนิ ดว้ ย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25x2 หนว่ ยงานไดร้ ับการ A ใช้ยอดตาม พรบ.งบประมาณ จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี จำนวน.....A.....บาท B ใชย้ อดสุทธิ ไม่ตอ้ งอธบิ ายแผนงาน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 25x1 จำนวน.....B.....บาท) โดยแยก C ใส่ชื่อแผนงานตาม พรบ.งบประมาณ และเล่มขาวคาดแดง เปน็ งบ.............เพอื่ ใชจ้ า่ ยในแผนงาน......C..... หากงบประมาณตาม พรบ.ที่ได้รับการจัดสรรมจี ำนวนตา่ งกับ งบสุทธิตามตารางรายงานฐานะงบประมาณ ให้ อธิบายการ เปลี่ยนแปลงงบประมาณดังกล่าว เช่น มีการโอนกลับงบประมาณ จำนวน...บาท โอนเงินเบิกแทนกัน จำนวน...บาท หรือ ได้รับการ จัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จำนวน.....บาท (จำนวนเงินให้ ใส่ยอดเงินรวมของแต่ละแผนงานที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องแยก เป็นงบดำเนินงาน/งบลงทนุ ) การเปิดเผยข้อมูลงบประมาณตามหมายเหตุ 1 จัดเรียงตามที่ เปิดเผยในรายงานฐานะเงินงบประมาณและจะต้องกระทบยอดกับ งบประมาณสุทธิตามตารางรายงานฐานะเงนิ งบประมาณได้ กรม ก มีหน่วยงานระดับหน่วยเบิกจ่ายภายใต้สังกัด กรณีหน่วยงานมีหน่วยเบิกจ่ายมากกว่า 1 หน่วย จำนวน 76 แห่ง ซึ่งเป็นหน่วยเบิกจ่ายในภูมิภาค และ ใช้ตามรปู แบบน้ี มีหน่วยเบิกจ่ายในส่วนกลางอีก 1 แห่ง ซึ่งรับผดิ ชอบบริหาร กรณีหนว่ ยงานมีหนว่ ยเบิกจา่ ยเดยี ว ไม่มีหน่วยเบกิ จา่ ยภายใต้ จัดการเงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณที่ได้รับการ สงั กัด ให้พิจารณาปรบั ขอ้ ความทขี่ ดี เส้นใตใ้ หเ้ หมาะสมกบั โครงสร้าง จัดสรรของแต่ละแห่ง หน่วยเบิกจา่ ยดงั กลา่ วไม่เปน็ หน่วยงานท่ี ของหนว่ ยงานแตล่ ะหนว่ ย เชน่ เสนอรายงาน และไม่มีการจัดทำงบการเงินแยกกัน รายการ “กรม ก มีหน่วยงานระดับหน่วยเบิกจ่าย จำนวน 1 แห่ง บัญชีของหน่วยเบิกจ่ายทุกแห่งจึงได้นำมาแสดงรวมไว้ใน ได้แก่ หน่วยเบิกจ่ายในส่วนกลาง ซึ่งรับผิดชอบบริหารจัดการ รายงานการเงินฉบบั นี้ เงนิ งบประมาณ และเงนิ นอกงบประมาณทไี่ ดร้ ับการจัดสรร” เพ่มิ ย่อหนา้ ชื่อย่อที่ใช้เรยี กแทนหน่วยงาน ใหเ้ พ่มิ ย่อหน้า ชือ่ ยอ่ ทใี่ ช้เรยี กแทนหน่วยงาน ดังน้ี เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงเรียก กรม ก ว่า “หนว่ ยงาน”

7 เรือ่ งทพ่ี ิจารณา มติทป่ี ระชุม หลังจากยอ่ หน้านีเ้ ป็นต้นไป ให้ใช้คำว่า “หน่วยงาน” แทนชื่อ กรม ก ยกเว้นชือ่ เฉพาะ เช่น ชอื่ ตามระเบียบ ใหใ้ ชช้ ื่อเต็ม หมายเหตุ 2 เกณฑก์ ารจัดทำรายงานการเงนิ รายงานการเงินของกรม ก ฉบับนี้ จัดทำขึ้นตาม กรม ก ใหใ้ ชค้ ำว่า “หนว่ ยงาน” และตัดขอ้ ความท่ีขีดเส้นใต้ออก พระราชบัญญัติวินัยการเงนิ และการคลงั ของรฐั พ.ศ. 2561 ดังน้ี รายการที่ปรากฎในรายงานการเงินฉบับนี้เป็นไปตาม รายงานการเงินของหน่วยงานฉบบั น้ี จดั ทำขน้ึ ตามพระราชบัญญัติ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐท่ี วินัยการเงินและการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 รายการที่ปรากฎใน กระทรวงการคลังประกาศใช้ (หรืออืน่ ๆ ระบุ...) ซึง่ รวมถึงหลักการ รายงานการเงินฉบับนี้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและ และนโยบายการบัญชีภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและ นโยบายการบัญชีภาครัฐทก่ี ระทรวงการคลังประกาศใช้ นโยบายการบัญชีภาครัฐ ยกเว้นเรื่อง.... ที่เป็นไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ (หรืออน่ื ๆ ระบุ) รายงานการเงินของกรม ก ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่เสนอ ให้พิจารณาปรับขอ้ ความทขี่ ีดเส้นใต้ให้เหมาะสมกับโครงสร้าง รายงานตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ รวมรายการบัญชีที่ ของหนว่ ยงานแต่ละหน่วย เช่น เกิดขน้ึ ทัง้ ทหี่ นว่ ยงานในสว่ นกลาง และหน่วยงานในสว่ นภูมิภาค กรณมี ีหนว่ ยงานเฉพาะในสว่ นกลาง และหน่วยงานในต่างประเทศ ที่อยู่ภายใต้สังกัดกรม แต่ไม่ รายงานการเงินของกรม ก ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่เสนอ รวมถึงรายการบัญชีของทุนหมุนเวียนสนับสนุนการผลิต รายงานตามมาตรฐานการบญั ชีภาครัฐ รวมรายการบญั ชีท่ีเกดิ ขึ้นใน พลังงานทดแทน ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงาน แต่ถือ สว่ นกลาง ไมว่ ่ารายการดังกล่าว….. เป็นหน่วยงานที่เสนอรายงาน และต้องจัดทำรายงานการเงิน กรณีมีหนว่ ยงานในส่วนกลาง และหนว่ ยงานในส่วนภูมภิ าค แยกต่างหากจากกรม ก ตามกฎหมาย ไม่วา่ รายการดังกล่าวจะ รายงานการเงินของกรม ก ซึ่งถือเป็นหน่วยงานท่ีเสนอ เกิดจากเงินงบประมาณ และเงนิ นอกงบประมาณทุกประเภท รายงานตามมาตรฐานการบญั ชภี าครฐั รวมรายการบญั ชีที่เกดิ ขึ้นทั้งที่ ที่หน่วยงานมีอำนาจในการบริหารจัดการตามกฎหมาย หน่วยงานในส่วนกลาง และหน่วยงานในส่วนภูมิภาค ที่อยู่ภายใต้ รายการที่ปรากฏในรายงานการเงิน รวมถึง สินทรัพย์ หนี้สิน สังกัดกรม ไมว่ า่ รายการดงั กล่าว….. รายได้ และค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นของรัฐบาล และอยู่ภายใต้การ กรณีมีหน่วยงานในส่วนกลาง และทุนหมุนเวียนภายใต้ ควบคุมของรัฐบาลในภาพรวม แต่ให้หน่วยงานเป็นผู้รับผดิ ชอบ สังกดั ในการดูแลรักษา และบริหารจัดการให้แก่รัฐบาล ภายใน รายงานการเงินของกรม ก ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่เสนอ ขอบเขตอำนาจหนา้ ท่ีตามกฎหมาย และรวมถึงองค์ประกอบ รายงานตามมาตรฐานการบญั ชีภาครัฐ รวมรายการบัญชที เี่ กดิ ขึ้นใน ของรายงานการเงินซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานที่ ส่วนกลาง แต่ไมร่ วมถงึ รายการบัญชขี องทุนหมนุ เวียนสนับสนุนการ ใช้เพอ่ื ประโยชน์ในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานเอง ผลิตพลังงานทดแทน ที่อยู่ภายใต้การควบคมุ ของหน่วยงาน แต่ถือเป็น หนว่ ยงานที่เสนอรายงาน และตอ้ งจดั ทำรายงานการเงนิ แยกตา่ งหาก จากกรม ก ตามกฎหมาย ไม่ว่ารายการดงั กล่าว….. กรณีมีหน่วยงานในส่วนกลาง หน่วยงานในส่วนภูมิภาค และทุนหมนุ เวยี นภายใตส้ งั กดั รายงานการเงินของกรม ก ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่เสนอ รายงานตามมาตรฐานการบัญชีภาครฐั รวมรายการบัญชที ี่เกิดข้ึนทั้งที่ หน่วยงานในส่วนกลาง และหน่วยงานในส่วนภูมิภาค ที่อยู่ภายใต้ สังกัดกรม แต่ไม่รวมถึงรายการบัญชีของทุนหมุนเวียนสนับสนุนการ ผลิตพลังงานทดแทน ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงาน แต่ถือ

8 เรอ่ื งทีพ่ ิจารณา มติท่ีประชุม เป็นหน่วยงานที่เสนอรายงาน และต้องจัดทำรายงานการเงินแยก ต่างหากจากกรม ก ตามกฎหมาย ไม่ว่ารายการดังกล่าว….. กรณีหน่วยงานที่ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ และ พจิ ารณาเปิดเผยข้อมูลเพ่มิ เติมตามข้อมลู ของแต่ละหน่วยงาน ไมม่ รี ายได้แผน่ ดนิ ต้องเปดิ ขอ้ มูลทว่ั ไปเพิม่ เติมหรือไม่ เชน่ กองทุนไม่ได้จัดทำรายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปี ปัจจุบันและปีก่อน เนื่องจากกองทุนไม่ได้ขอรับการสนับสนุนเงิน จากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และไม่ได้จัดทำ รายงานรายได้แผ่นดิน เนื่องจากรายได้ของกองทุนเป็นรายได้ จาก…………….ตามระเบยี บ……………. หมายเหตุ 3 มาตรฐานและนโยบายการบญั ชภี าครฐั ฉบับใหม่ ให้เตมิ คำว่า “การบญั ชภี าครัฐ” หลงั คำว่า มาตรฐาน ในระหว่างปีปัจจุบัน กระทรวงการคลังได้ประกาศใช้ หมายเหตุ 3 มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการ มาตรฐานการบัญชภี าครัฐและนโยบายการบัญชภี าครัฐฉบับใหม่ บญั ชีภาครัฐฉบับใหม่ และฉบับปรบั ปรงุ ใหม่ ดงั นี้ ตดั คำวา่ “ในระหวา่ งปปี ัจจบุ นั ” ออก มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชี วันที่มีผลบังคับใช้ดูจากมาตรฐานแต่ละฉบับ ส่วนใหญ่จะอยู่ ภาครัฐที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันท่ี หน้าสุดท้ายของมาตรฐาน เรมิ่ หรอื หลงั วันที่ 1 ตลุ าคม 25x1 กรณีมีการประกาศใช้หลายฉบับ ให้แต่ละฉบับ ย่อหน้าชื่อเรื่อง - มาตรฐานการบญั ชภี าครัฐ ฉบบั ท่ี ...... เรื่อง............ ให้ตรงกัน หากชื่อเรื่องบรรทัดเดียวไม่พอ บรรทัดที่ 2 ย่อหน้าใหต้ รง กับชือ่ เร่อื งบรรทัดแรกแลว้ ย่อเขา้ ไป 3 เคาะ เชน่ - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบบั ท่ี x1 เรื่อง xxx - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบบั ท่ี x2 เร่อื ง xxx xxx - มาตรฐานการบญั ชภี าครฐั ฉบบั ท่ี x3 เร่ือง xxx ฝ่ายบริหารเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบาย ตดั คำว่า ยกเว้นออก การบัญชีภาครัฐฉบับใหม่ข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็น สาระสำคญั ตอ่ รายงานการเงินในงวดท่ีนำมาถือปฏบิ ัติ ยกเวน้ ..... หมายเหตุ 4 สรปุ นโยบายการบัญชีทสี่ ำคญั 4.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด - เงินสด หมายถงึ คำว่า เงนิ สด ไม่มี - และยอ่ หนา้ ใหต้ รงกบั คำวา่ เงนิ สด ดงั นี้ 4.1 เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด เงนิ สด หมายถึง กรณีข้อ 4.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดมีต่อหน้า ถัดไป ให้พิมพ์หัวข้อหมายเหตุในหน้าถัดไปก่อนเริ่มเนื้อหารายการ เก่ียวกบั เงินสดในเรอ่ื งต่อไป และให้ (ต่อ) เช่น หมายเหตุ 4 สรปุ นโยบายการบญั ชที ี่สำคัญ (ต่อ) 4.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด (ตอ่ ) เงนิ ฝากคลงั หมายถงึ 4.3 เงินให้กู้ หากหนว่ ยงานไหนไม่มกี ไ็ มต่ ้องเปดิ 4.4 เงินลงทนุ พจิ ารณาการเปดิ นโยบายการบัญชีตามรายการที่หนว่ ยงานมี

9 เรอื่ งทีพ่ ิจารณา มตทิ ี่ประชุม เปดิ นโยบายการบญั ชีตามทีห่ น่วยงานใช้ วิธีใดวิธีหนึง่ 4.5 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลอื วดั มูลค่าด้วยราคาทุนตาม วิธเี ขา้ กอ่ นออกกอ่ น/ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนกั /เฉพาะเจาะจง หรือ มูลค่าสุทธทิ ่จี ะได้รบั แลว้ แต่มลู ค่าใดจะตำ่ กวา่ 4.6 วสั ดคุ งเหลอื วัสดุคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์..... เปิดนโยบายการบญั ชีตามทหี่ นว่ ยงานใช้ วธิ ีใดวธิ ีหนงึ่ หน่วยงานวัดมูลค่าวัสดุคงเหลือในราคาทุนตามวิธีเข้าก่อน ออกกอ่ น/ถัวเฉลยี่ ถว่ งนำ้ หนัก/เฉพาะเจาะจง 4.7 ท่ดี ิน อาคาร และอุปกรณ์ ย่อหนา้ ท่ี 1 ถึงย่อหนา้ ท่ี 5 ในนโยบายการบัญชีให้ใช้แบบนี้ และให้ระบุว่า ที่ดิน หรืออาคาร ท่ไี ม่ไดบ้ ันทึกอยใู่ นนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของใคร ในสว่ นของรายการหนา้ งบแสดงฐานะการเงนิ และหมายเหตุข้อมลู เพม่ิ เติม ให้แสดงตามท่หี น่วยงานมีกรรมสทิ ธิ์ ย่อหนา้ ที่ 6 ยอ่ หนา้ ท่ี 6 - ค่าเสื่อมราคาบันทึกเปน็ ค่าใชจ้ า่ ยในงบ ใหต้ ดั ขอ้ ความที่ขดี เสน้ ใต้ออก เช่น แสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตาม - ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดง อายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ (ดูตารางการกำหนดอายุ ผลการดำเนินงานทางการเงิน คำนวณโดยวธิ ีเส้นตรงตามอายุการให้ การใช้และอัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร ตามหนังสือ ประโยชนโ์ ดยประมาณ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 43 กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 43 ลงวันที่ 29 มกราคม ลงวนั ที่ 29 มกราคม 2562 เรอื่ ง คู่มือการบัญชภี าครฐั เรอ่ื ง ท่ีดิน 2562 เรื่อง คู่มือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และ อาคาร และอุปกรณ์ ดังนี้ อุปกรณ)์ ดังนี้ ให้ตรวจสอบนโยบายอายุการใช้งาน และขอ้ มูลในระบบวา่ เป็นไปตามทเ่ี ปดิ ไวใ้ นนโยบายหรอื ไม่ 4.10 เงินกู้ พิจารณาการเปิดนโยบายการบัญชีตามรายการที่หน่วยงานมี หากหนว่ ยงานไหนไม่มกี ไ็ มต่ อ้ งเปดิ 4.11 เจ้าหนต้ี ามสญั ญาเช่าการเงิน พิจารณาการเปิดนโยบายการบัญชีตามรายการที่หน่วยงานมี หากหนว่ ยงานไหนไมม่ กี ็ไม่ต้องเปิด 4.15 รายไดจ้ ากการขายสินคา้ และบรกิ าร พิจารณาการเปิดนโยบายการบัญชีตามข้อมูลจริงของ หนว่ ยงาน 4.17 รายได้จากการอดุ หนนุ และบรจิ าค ยอ่ หน้าท่ี 4 ให้เติม “ไดแ้ ก่ รายไดร้ อการรับรู้” ต่อท้าย - เงอื่ นไขของสินทรพั ย์ทโ่ี อน กำหนด ให้เพิ่มในส่วนของสินทรัพย์รับบริจาคไว้ในย่อหน้านี้ โดยให้ ให.้ ....จงึ เกิดหนีส้ ินขน้ึ ด้วย เติมคำวา่ “ไดแ้ ก่ รายไดร้ อการรบั รู”้ ไว้ทา้ ยข้อความ - เงื่อนไขของสินทรัพย์ที่โอน กำหนดให้.....จึงเกิดหนี้สินขึ้น ดว้ ย ได้แก่ รายได้รอการรบั รู้

10 เรือ่ งทีพ่ จิ ารณา มตทิ ่ีประชุม หมายเหตุ 5 เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด พ ิ จ า ร ณ า ก า รเ ป ิ ด เ ผ ย ข ้ อ ม ู ล เ พ ิ ่ ม เต ิ ม เ ห ม ื อ น เ ง ิ น ฝ า กค ลั ง เงนิ ฝากสถาบนั การเงิน โดยยอดคงเหลือจะต้องสอบยันกันได้กับเจ้าหนี้อื่นระยะสั้น หรือ เงินรับฝากระยะสน้ั เช่น เงินฝากสถาบันการเงิน จำนวน......บาท ประกอบด้วย เงินฝากธนาคารประเภท กระแสรายวนั และออมทรพั ย์ ดังน้ี (หนว่ ย : บาท) 25x2 25x1 ประเภทกระแสรายวนั เงนิ ฝากธนาคาร (เงนิ งบประมาณ) xx xx เงินฝากธนาคาร (เงินนอกงบประมาณ) -- ประเภทออมทรัพย์ เงนิ ฝากออมทรพั ยท์ ี่สถาบันการเงนิ xx xx เงนิ ฝากไม่มีรายตัว xx xx รวม เงนิ ฝากสถาบันการเงิน xx xx รวมเงินฝากสถาบันการเงิน หลังคำว่า รวม ให้เคาะ 1 (ใหเ้ หมือนกนั ทงั้ งบ) หมายเหตุ 6 ลกู หน้ีระยะสนั้ ใหเ้ ติมคำว่า “อนื่ ” หลังคำวา่ ลกู หนี้ หมายเหตุ 6 ลกู หนอี้ นื่ ระยะสน้ั รายไดค้ ้างรับ รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารค้างรบั รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารค้างรับ และรายได้ค้างรับจาก และรายได้ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง จะรวมเปิดเผยเป็น กรมบัญชีกลาง ให้รวมจำนวนแล้วเปิดเผยเป็นรายการรายได้ค้างรับ รายการรายได้ค้างรับรายการเดียว หรือแยกเปดิ เผยรายการ รายการเดียว ลูกหนก้ี ารคา้ เปิดเผยข้อมูลให้สอดคล้องกับหน้างบแสดงฐานะการเงิน โดย แยกลกู หนก้ี ารคา้ ออกจากลูกหนอี้ ่ืนระยะสั้น ลกู หน้ีเงินยมื กรณีมีลูกหนี้เงินยืมครบกำหนดชำระวันที่ 30 ก.ย. ให้เพ่ิม ปี 25x2 ลูกหนี้เงินยมื ยังไม่ถึง เกนิ กำหนด คอลมั น์เปน็ คอลมั นท์ ี่ 2 “ถงึ กำหนดชำระ” ปี 25x1 กำหนดชำระ ชำระ กรณีปีปัจจุบันหรือปีเปรียบเทียบไม่มียอดคงเหลือ ให้ใส่ปี xx xx xx xx xx เปรยี บเทียบท้ัง 2 ปี xx ลกู หนเ้ี งนิ ยมื ยังไม่ถึง ถึงกำหนด เกินกำหนด กำหนดชำระ ชำระ ชำระ ปี 25x2 xx xx xx xx ปี 25x1 - --- หมายเหตุ 8 เงนิ ลงทุนระยะสน้ั เงินฝากธนาคาร เปิดเผยข้อมูลเปรียบเทียบ 2 ปีแบบเดิม และ ให้ใสอ่ ตั ราดอกเบย้ี ดว้ ย เชน่ (หน่วย : บาท) เงนิ ฝากประจำ 6 เดอื น 25x2 25x1 xx xx เงนิ ฝากประจำ 12 เดอื น xx xx

11 เรือ่ งที่พจิ ารณา มตทิ ่ปี ระชุม หมายเหตุ 10 วสั ดคุ งเหลอื กรณียอดคงเหลือมีรายการเดียวเหมือนหน้างบแสดงฐานะ การเงนิ ไม่ตอ้ งเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน หมายเหตุ 11 สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี นอ่ืน รายการสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หากยอดคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 20 ของยอดรวมสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ให้เปิดเผยข้อความอธิบาย เพม่ิ เติมว่า สนิ ทรัพย์หมนุ เวียนอื่น ส่วนใหญ่เปน็ อะไร ค่าใชจ้ า่ ยจา่ ยลว่ งหนา้ – เงนิ ทดรองอนื่ ๆ - ให้ใช้ขีดสั้น และ ๆ ให้เคาะ 1 เช่น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - เงินทดรองอ่นื ๆ (ใหเ้ หมอื นกนั ท้งั งบ) หมายเหตุ 14 เงินลงทนุ ระยะยาว ให้พิจารณาการจัดประเภทด้วยว่าควรจัดอยู่ในเงนิ ลงทุนระยะยาว หรือเงินลงทุนระยะสั้น (ใช้ชื่อว่า “............ที่จะครบกำหนดภายใน 1 ปี” ) หมายเหตุ 15 ที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ ให้เปิดเผยรายการเคลื่อนไหวระหว่างต้นงวดถึงวันสิ้นงวด ตัวอย่างตามรูปแบบไม่ได้เปิดรายการเคลื่อนไหว เนื่องจากตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.2/ว 479 ลงวันที่ ระหวา่ งตน้ งวดถึงวนั ส้ินงวด 2 ตุลาคม 2563 หน้า 13 ข้อ 5 ย่อหน้าที่สอง ระบุว่า “มาตรฐาน การบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐอาจมีข้อกำหนดเกี่ยวกับ การเปิดเผยข้อมูลไว้โดยเฉพาะ ซึ่งทำให้ต้องมีการนำเสนอข้อมูล เพิ่มเติม หรือนำเสนอในลักษณะที่แตกต่างจากรายการที่แสดงไว้ หน่วยงานต้องพิจารณาเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐดังกล่าว” ซ่ึง ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 17 หน้า 193 ย่อหน้า 80 กำหนดให้หน่วยงานต้องเปิดเผยข้อมูลรายการกระทบยอดของมูลค่า ตามบญั ชรี ะหว่างวนั ต้นงวดถึงวนั สิน้ งวด ให้พิจารณารูปแบบการนำเสนอเป็นแนวตั้งหรือแนวนอนตาม ความเหมาะสมของข้อมลู กรณีมีสินทรัพย์รับบริจาค ค่าเสื่อมราคาประจำปี ให้แยกแสดง รายการคา่ เส่ือมราคาของสนิ ทรพั ย์รบั บรจิ าค ดงั นี้ คา่ เสอื่ มราคาจากการดำเนินงานปกติ ค่าเสือ่ มราคาจากสินทรัพยร์ บั บริจาค หมายเหตุ 15 ทด่ี นิ อาคาร และอุปกรณ์ (หน่วย : บาท) ที่ดนิ อาคาร ครภุ ัณฑ์ รวม ราคาทนุ ยอดยกมา ณ วันท่ี 1 ต.ค. 25x1 xx xx xx xx ซือ้ เพ่ิม โอนเปล่ียนประเภท - xx xx xx รบั โอน โอน - (xx) xx - จำหน่าย ปรบั ปรุง/บริจาค xx xx xx xx ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี 30 ก.ย. 25x2 ซือ้ เพม่ิ - - (xx) (xx) โอนเปล่ยี นประเภท - . - . (xx) (xx) - . - . (xx) (xx) xx xx xx xx - xx xx xx - (xx) xx -

12 เรอ่ื งทีพ่ ิจารณา มตทิ ี่ประชุม หมายเหตุ 17 สินทรพั ยไ์ มม่ ตี ัวตน รับโอน xx xx xx xx ตัวอย่างตามรูปแบบไม่ได้เปิดรายการเคลื่อนไหว โอน - - (xx) (xx) ระหว่างตน้ งวดถึงวนั ส้นิ งวด หมายเหตุ 18 สินทรพั ย์หมนุ เวยี นอื่น จำหน่าย - . - . (xx) (xx) หมายเหตุ 19 เจา้ หนี้ระยะส้ัน ปรบั ปรุง/บริจาค - . - . (xx) (xx) เจ้าหน้กี ารค้า ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ 30 ก.ย. 25x3 xx xx xx xx หมายเหตุ 20 เจ้าหนเี้ งินโอนและรายการอดุ หนุนระยะสนั้ หมายเหตุ 25 หนี้สนิ หมนุ เวียนอ่นื คา่ เสื่อมราคาสะสม ยอดยกมา ณ วนั ที่ 1 ต.ค. 25x1 - xx xx xx คา่ เสอื่ มราคาประจำปีจากการดำเนนิ งาน) - xx xx xx คา่ เสื่อมราคาประจำปีจากสนิ ทรัพย์ - xx xx xx บรจิ าค จำหนา่ ย - . (xx) (xx) (xx) ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี 30 ก.ย. 25x2 - xx xx xx คา่ เสอ่ื มราคาประจำปีจากการดำเนินงาน) - xx xx xx คา่ เสอื่ มราคาประจำปีจากสินทรพั ย์ - xx xx xx บริจาค จำหนา่ ย - . (xx) (xx) (xx) ยอดคงเหลือ ณ วนั ที่ 30 ก.ย. 25x3 - . xx xx xx มลู คา่ สทุ ธิตามบัญชี ณ วนั ท่ี 30 ก.ย. 25x2 xx xx xx xx ณ วนั ท่ี 30 ก.ย. 25x3 xx xx xx xx เปิดเผยรายการเคล่อื นไหวเหมือนทด่ี ิน อาคาร และอปุ กรณ์ พิจารณาข้อมูลของแต่ละหน่วย หากมีรายการเดียวให้เปิดเผย ขอ้ มลู แบบอธบิ ายเป็นข้อความบรรยาย ให้เติมคำว่า “อนื่ ” หลงั เจา้ หน้ี หมายเหตุ 19 เจ้าหนอี้ ่นื ระยะสัน้ เจา้ หนี้การค้าจะไม่แสดงในเจา้ หนอี้ ่ืนระยะส้ัน เน่ืองจากหน้างบ แสดงฐานะการเงนิ แสดงรายการเจา้ หนี้การค้าแยกต่างหากจากเจ้าหนี้ อื่นระยะสั้น รับสนิ คา้ /ใบสำคญั รวมอยู่ในเจา้ หน้กี ารคา้ ให้พิจารณาข้อมูลของแต่ละหน่วย หากมีมากกว่า 1 รายการ เปิดเผยข้อมูลตามรูปแบบในตัวอย่าง หากมีรายการเดียวให้เปิดเผย ขอ้ มูลแบบอธิบายเปน็ ข้อความบรรยาย ใหเ้ ปิดเผยรายการเคลอื่ นไหวกระทบยอดกบั รายได้รอการรับรู้ ให้พิจารณาข้อมูลของแต่ละหน่วย หากมีมีมากกว่า 1 รายการ เปิดเผยข้อมูลตามรูปแบบในตัวอย่าง หากมีรายการเดียวให้เปิดเผย ขอ้ มูลแบบอธิบายเปน็ ข้อความบรรยาย รายการหนี้สินหมุนเวียนอื่นควรเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมว่าเป็น รายการอะไร หากมีรายการที่มียอดคงเหลือเกินร้อยละ 20 ให้แสดง แยกรายการ

13 เรอ่ื งท่พี ิจารณา มตทิ ป่ี ระชมุ หมายเหตุ 27 เจ้าหนต้ี ามสัญญาเช่าการเงิน พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลตามข้อมูลจริงของแต่ละหน่วย ซึ่ง จะตอ้ งสอดคล้องกับบญั ชที ่ีดิน อาคาร และอปุ กรณ์ รายการสินทรัพย์ หมายเหตุ 30 ภาระผกู พัน จากสัญญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันตามสัญญาจ้างเหมาบริการ เปิดเผยข้อมูลตาม ระยะเวลาของสัญญาเหมือนภาระผกู พันข้ออน่ื ๆ กรณีงวดงานเดือนกันยายนของปีกรรมการยังไม่มีการตรวจรับ งานยอดจะแสดงที่ภาระผูกพัน แต่หากมีการตรวจรับงานแล้วยอดจะ บนั ทึกเปน็ เจา้ หน้ี หมายเหตุ 30 ภาระผูกพัน (หน่วย : บาท) ไมเ่ กนิ 1 ปี 25x2 25x1 จสำญั นญวนา คจงำเสนหัญวลญนือเตางานิ ม จสำัญนญวนา ตจคาำมนงเสวหนญั ลเญืองนิ า xx xx xx xx เกิน 1 ปี แตไ่ ม่เกนิ 5 ปี xx xx xx xx เกนิ 5 ปี xx xx xx xx รวม xx xx xx xx หมายเหตุ 31 หนีส้ นิ ท่ีอาจจะเกิดขน้ึ คดคี วาม เปิดหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น จะไม่เปิดรายได้/สินทรัพย์ที่อาจจะ เกิดขึ้น จะเปิดได้หากมีหลักฐานชัดเจน หรือหากจำเป็นต้องเปิดให้ เปลี่ยนชอ่ื เป็นคดีความทีส่ ำคญั หากบนั ทกึ เปน็ เจ้าหนแ้ี ล้วไม่ต้องเปิดหนี้สนิ ทีอ่ าจจะเกิดข้นึ จัดทำจดหมายบันทึกสอบถามความคืบหน้า และให้สรุปผล ในบันทึกข้อความเสนองบการเงินด้วย ให้พจิ ารณาเพ่มิ ขอ้ มูลในหนังสือรบั รองผู้บริหาร หมายเหตุ 32 การแกไ้ ขข้อผิดพลาดของงวดก่อน พิจารณาการเปิดเผยข้อมลู ตามความเหมาะสมของแตล่ ะงบ หมายเหตุ 33 องค์ประกอบอ่ืนของสนิ ทรัพย์สทุ ธิ/ส่วนทุน ยอดคงเหลอื ต้นงวด ใหเ้ ปลยี่ นเป็น “ยอดยกมา” ยอดคงเหลือต้นงวด ยอดคงเหลือปลายงวด ให้เปล่ยี นเปน็ “ยอดคงเหลอื ” การเปล่ยี นแปลงเพิ่มขึ้น/(ลดลง) ในระหว่างงวด ยอดคงเหลอื ปลายงวด หมายเหตุ 34 รายได้จากงบประมาณ หกั เบิกเกนิ ส่งคืนเงนิ งบประมาณ ให้แยกรายการเบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณของปีปัจจุบัน รายการเบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณของเงินกันไว้ แสดงอยู่ในรายได้จากงบประมาณปีปัจจุบัน และรายการเบิกเกิน เบิกเหลื่อมปีจะแสดงรวมในรายได้จากงบประมาณปีปัจจบุ ัน ส่งคืนเงินงบประมาณของเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี แสดงอยู่ในรายได้ หรือแยกออกมาแสดงในรายได้จากงบประมาณปกี อ่ น ๆ จากงบประมาณปีกอ่ น ๆ

14 เรือ่ งท่ีพจิ ารณา มติที่ประชมุ หมายเหตุ 36 รายได้จากการอดุ หนนุ และบรจิ าค ให้เตมิ คำวา่ “อืน่ ” หลงั คำวา่ การอุดหนนุ รายไดจ้ ากการช่วยเหลือเพือ่ การดำเนนิ งาน หมายเหตุ 36 รายไดจ้ ากการอดุ หนนุ อืน่ และบรจิ าค จากหนว่ ยงานภาครัฐ รายได้ดังกล่าวให้แยกแสดงรายการเป็นรายได้จากการอุดหนุน จากหน่วยงานภาครฐั หมายเหตุ 41 คา่ ใช้สอย ค่าแก๊สและน้ำมันเชื้อเพลิง ตามผังบัญชีจะแสดงอยู่ที่ค่าวัสดุ คา่ แก๊สและนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ ซง่ึ กรณีท่แี สดงอยู่ท่ีค่าวัสดุจะเป็นหน่วยงานท่มี กี าร stock นำ้ มัน คา่ จัดหาสนิ ทรพั ย์มลู คา่ ตำ่ กวา่ เกณฑ์ ค่าแก๊สและน้ำมันเชื้อเพลิง และค่าจัดหาสินทรัพย์มูลค่า ต่ำกว่าเกณฑ์ หากงบการเงินปีก่อนจัดอยู่ที่ค่าวัสดุ การจัดทำ งบการเงินในปีปัจจุบันจะต้องจดั ประเภทรายการใหม่ให้อยู่ในค่าใช้ สอย หมายเหตุ 45 คา่ ใช้จา่ ยจากการอดุ หนุนและบรจิ าค ให้เติมคำว่า “อื่น” หลังคำวา่ การอดุ หนุน คา่ ใชจ้ ่ายอดุ หนนุ - หนว่ ยงานภาครัฐ หมายเหตุ 45 คา่ ใชจ้ า่ ยจากการอดุ หนนุ อื่นและบริจาค คา่ ใชจ้ ่ายอดุ หนนุ เพื่อการดำเนนิ งาน - คา่ ใช้จ่าย 3 รายการดังกลา่ ว ใหแ้ ยกแสดงรายการเป็นค่าใช้จ่าย ให้รัฐบาล ตปท. จากการอุดหนนุ จากหน่วยงานภาครฐั ค่าใช้จา่ ยอดุ หนนุ เพ่ือการดำเนนิ งาน - อปท. เร่ืองอื่น ๆ เร่อื งทพ่ี ิจารณา มตทิ ป่ี ระชุม รายไดร้ อการรบั รู้ ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 23 เรื่อง ให้แต่ละกลุ่มประสานงานกับหน่วยรับตรวจทุกหน่วยก่อนวา่ รายได้จากรายการไม่แลกเปลี่ยน ให้ถือปฏิบัติกับรายงาน จะเลือกปฏิบัติตามแนวทางใด โดยจะพิจารณารูปแบบการเปิด การเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ข้อมูลรายได้รอการรับรู้ในภายหลัง เมื่อได้ข้อมูลจากการ ตลุ าคม 2563 เป็นตน้ ไป ดังนั้น สินทรัพยท์ ี่ได้มาจากรายการ ประสานงานกับหนว่ ยรบั ตรวจแล้ว ใหม้ กี ารติดตามและสรุปผลการ ไม่แลกเปลี่ยนที่ไม่มีเงื่อนไข ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ประสานงานกบั หน่วยรับตรวจแจ้งใหผ้ อ. ทราบดว้ ย เป็นต้นไป จะรับรู้เป็นรายได้ในปีที่ได้มา ส่วนสินทรัพย์ทีไ่ ด้มาก่อนวันท่ี 1 ตุลาคม 2563 ได้บันทึกไว้ เปน็ รายไดร้ อการรับรู้ ซงึ่ แนวทางปฏิบตั สิ ามารถดำเนนิ การได้ ดังน้ี 1. สินทรัพย์ท่ีไดม้ าต้งั แต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 รับรู้ เป็นรายได้ในปีที่ได้มา ส่วนสินทรัพย์ที่ได้มาก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ซึ่งได้บันทึกไว้เป็นรายได้รอการรับรู้ ก็ให้ ทยอยรับรรู้ ายได้ตามหลกั เกณฑ์เดมิ จนครบกำหนดอายกุ ารใช้ งาน ซึ่งการเปิดเผยนโยบายการบัญชีจะต้องเปิดเผยเป็น 2 ช่วง

15 มตทิ ป่ี ระชมุ เรอ่ื งทีพ่ ิจารณา 2. สนิ ทรัพยท์ ่ไี ด้มาตัง้ แต่วันท่ี 1 ตลุ าคม 2563 รับรู้ เป็นรายได้ในปีที่ได้มา ส่วนสินทรัพย์ที่ได้มาก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ซึ่งได้บันทึกไว้เป็นรายได้รอการรับรู้ หากจะ นำมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 23 มาใช้กับสินทรพั ย์ท่ี ได้มากอ่ นวันที่ 1 ตลุ าคม 2563 ใหป้ รับงบการเงินยอ้ นหลงั ปิดประชุมเวลา 16.30 น. (นางสาวนัยนา พลกูล) (นายสโรจน์ เอกจรรยา) นักวชิ าการตรวจเงินแผ่นดินชำนาญการพิเศษ นกั วิชาการตรวจเงินแผ่นดนิ ชำนาญการพิเศษ ผ้สู รุปรายงานการประชุม ผู้ตรวจรายงานการประชุม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook