Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธอร์นไดรก์ ebook

ธอร์นไดรก์ ebook

Published by วีรภัทร์ ดาวเรือง, 2021-03-12 16:23:07

Description: ธอร์นไดรก์ ebook

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบสัมพนั ธ์เชือ่ มโยงของธอร์นไดก์ (Thorndike’s Connectionism) เอด็ เวริ ด์ ลี ธอร์นไดก์ (Edward Lee Thorndike ; 1874-1994) บิดาแหง่ จิตวิทยาการศกึ ษา

เอ็ดเวริ ์ด ลี ธอรน์ ไดก์ (Edward Lee Thorndike ; 1874-1994) บดิ าแห่งจิตวทิ ยาการศึกษา ประวัตนิ ักทฤษฎี ผู้เป็นเจ้าของทฤษฎีน้ี ได้แก่ เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดก์ (Edward Lee Thorndike ; 1874- 1994) นกั จติ วิทยาชาวอเมริกัน ท่ีมีช่ือเสียงซ่ึงได้รับการยอมรับอย่างมากคนหน่ึง จนได้รับเกียรติยก ย่องให้เป็นบิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา ท้ังนี้เนื่องจากเป็นนักจิตรวิทยาคนแรกท่ีทาการทดลองเพื่อ ศึกษาเรื่องเกี่ยกับการเรียนรู้อย่างจริงจัง เขาเร่ิมต้นศึกษาตั้งแต่ขณะเป็นนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย โคลมั เบีย โดยได้เสนอเป็นวิทยานิพนธ์เรื่องการเรียนรู้เพ่ือขอรับปริญญาเอกด้านจิตวิทยาเม่ือปี ค.ศ. 1898 ซ่งึ ก่อนหน้านธ้ี อรน์ ไดก์เห็นว่าการอธิบาย พฤติกรรมการเรียนรู้ว่าเกิดจากวิญญาณหรือจิตใจ นั้นเป็นเร่ืองนามธรรมท่ีไม่สามารถพิสูจน์ได้ เขาจึงได้พยายามทดลองด้วยการสร้างสถานการณ์การ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ขึ้นมาโดยไดท้ ดลองกบั สัตวห์ ลายชนิด ผลจากการทดลองปรากฏว่าเขาได้พบทฤษฎีการ เรียนรู้ทฤษฎีใหม่ และให้ช่ือทฤษฎีน้ีว่าทฤษฎีสัมพันธ์เช่ือมโยงของธอร์ นไดก์ (Thorndike’s Connectionism)หรือ S-R bond ซ่งึ หมายถึงขอ้ ต่อ (bond) ทเ่ี ชื่อมโยงระหว่างส่ิงเร้า (stimulus) กับการตอบสนอง (response) ธอนรน์ ไดก์ เกิดทเ่ี มืองวลิ เลียมสบ์ รู ์ก (Wil-liamsburg)รัฐแมสชาชูเซทส์ (Massachusetts) เม่ือวันที่ 31 สิงหาคม 1874 เป็นบุตรคนที่ 2 ในจานวนพ่ีน้องทั้งหมด 3 คน เขาได้เข้าศึกษาใน สถาบันที่มีช่ือเสียงหลายแห่ง ได้แก่ เวสเลยัน (Wesleyan) ฮาร์วาร์ด (Harvard) และโคลัมเบีย (Columbia) ธอร์นไดก์สาเร็จการศึกษาชั้นปริญญาเอกทาง จิตวิทยาเม่ืออายุเพียง 24 ปี (ค.ศ. 1898) วิทยานิพนธ์เรื่อง “เชาวน์ปัญญาของสัตว์” ของเขาเป็นงานวิจัยแบบทดลองท่ีมีช่ือเสียง มากเร่ืองหน่งึ งานเชยี นของธอร์นไดกม์ ีมาก ส่วนใหญ่แลว้ เกี่ยวกบั เรอ่ื งทางการศกึ ษาและจติ วทิ ยา

แนวคิดสาคัญของทฤษฎีการเรยี นรแู้ บบสัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยงของธอร์นไดก์ หลกั การเรยี นรู้ตามทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดก์มีใจความสาคัญอยู่ที่ว่า การเรียนรู้ เกิดจากการสร้างความสัมพันธ์บางอย่างระหว่างสิ่งเร้า (stimulus) กับพฤติกรรมการตอบสนอง (response) ในระยะเวลาพอสมควร กลา่ วคือ เมือ่ มสี ถานการณห์ รอื สิง่ ทีเ่ ปน็ ปญั หาเกิดข้ึน ร่างกายจะ เกิดความพยายามที่จะแก้ปัญหาน้ัน โดยแสดงฤติกรรมตอบสนองออกหลาย ๆ รูปแบบ ในลักษณะ แบบลองผิดลองถูก (trial and error) จนกว่าจะพบวิธีท่ีดีและเหมาะสมที่สุดในการแก้ปัญหา ซ่ึง ร่างกายจะเลือกพฤติกรรมตอบสนองที่พอใจที่สุดนั้นไว้เพียงวิธีเดียว และจะนาพฤติกรรมตอบสนอง ดังกลา่ วไปเชือ่ มโยงกับสงิ่ เร้าหรือปญั หานน้ั ทาใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ข้นึ ว่า ถา้ มีสิ่งเร้าหรือปัญหาเช่นน้ีอีก จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองเช่นไร ส่ิงสาคัญในการเรียนรู้ที่ธอร์นไดก์ให้ความสาคัญอย่างมาก ได้แก่ แรงเสริม (reinforcement) คือความพึงพอใจที่ร่างกายได้รับ เพราะจะทาให้การเชื่อมโยง ระหวา่ งสง่ิ เรา้ กบั พฤติกรรมตอบสนองมีความแนน่ แฟ้นมากยงิ่ ขน้ึ ทฤษฎคี วามสมั พันธ์เชอ่ื มโยงของธอร์นไดก์ (Thorndike’s connectionism theory) เช่ือว่า ส่ิงเรา้ หน่งึ ๆ ยอ่ มทาใหเ้ กดิ การตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งท่ีตอบสนองท่ีดีท่ีสุด และได้อธิบาย ด้วยทฤษฎีการเช่ือมโยง (Connectionism theory) ซึ่งกล่าวถึงการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้า (Stimulus-S) กับการตอบสนอง (Response-R) โดยมหี ลักการเบือ้ งต้นวา่ การเรียนรเู้ กิดจากการ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยท่ีการตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ หลาย รูปแบบ จนกวา่ จะพบรปู แบบทด่ี ีหรือเหมาะสมท่ีสดุ เราเรยี กการตอบสนองเช่นน้ีว่า การลองถูกลองผิด (Trial and Error) นั้นคือการเลือกตอบสนองของผู้เรียนจะกระทาด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากาหนด หรือชี้ช่องทางในการปฏิบัติให้และเม่ือเกิดการเรียนรู้ข้ึนแล้ว การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไป เหลอื เพียงการตอบสนองรปู แบบเดยี วที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทาให้การเช่นน้ันเช่ือมโยงกับสิ่งเร้า ท่ีตอ้ งการให้เรียนรู้ต่อไปเรื่อย ๆ ทฤษฎีการเชื่อมโยง ธอร์นไดก์สามารถสรุปออกเป็นกฎการเรียนรู้ 3 กฎใหญ่ ๆ

การทดลองตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอรน์ ไดก์ ธอรน์ ไดคไ์ ดท้ ดลองโดยสร้างกรงไม้ (Puzzle Box) ขน้ึ มา ข้างในกรงนจี้ ะมีคานไมซ้ ึ่งผูก เสือกแขวน เอียงไว้ เชอื กน้จี ะตอ่ ไปยังประตู ถ้าหากกดคานไม้นีป้ ระตกู จ็ ะเลอื่ นขึน้ และเปิดออก รูปการทดลอง ในการทดลอง ธอร์นไดคไ์ ดน้ าแมวไปขังไวใ้ นกรงท่ีสรา้ งขึ้น แลว้ นาปลาไปวางลอ่ ไว้นอก กรงให้ หา่ งพอประมาณ โดยแมวไม่สามารถยนื เทา้ ไปเขียได้ ช่วงทดลองจะเปน็ ชว่ งทีแ่ มวหิวและต้องการอาหาร แมวจึงเกิดปัญหาวา่ จะออกจากกรงไปกนิ ปลาได้อยา่ งไร จากการบันทึกการทดลองของธอร์นไดคพ์ บวา่ ระยะแรก ๆ แมวใชเ้ วลาแกป้ ญั หานาน มนั พยายามใชว้ ธิ ีการตา่ ง ๆ เพอื่ จะออกจากกรง จนกระทง่ั เท้า ของมนั ไปเหยียบถูกคานไมเ้ ข้าโดยบงั เอิญ ทาใหป้ ระตูกรงเปิดออก หลงั จากนนั้ แมวกส็ ามารถแกป้ ญั หา โดยออกจากกรงไดเ้ ร็วข้นึ ตามลาดบั จากการทดลองน้ี ธอร์นไดคอ์ ธบิ ายวา่ การตอบสนองซงึ่ แมวไดแ้ สดงออกมาเพ่ือจะแก้ปญั หานนั้ เปน็ การตอบสนองแบบเดาสมุ่ หรอื แบบลองผดิ ลองถกู (Trial and Error) แมวเปดิ ประตูไดโ้ ดยกดคาน ไม้อย่างบังเอญิ มากกวา่ อย่างตง้ั ใจหรือไดว้ างแผนมากอ่ น การทแ่ี มวเปดิ ประตกู รงไม้นไี้ ด้เร็วขน้ึ ๆ ในช่วงหลงั ๆ ก็แสดงวา่ แมวไดเ้ กดิ การเรยี นรู้ด้วยการสร้าง (Bond) ขึน้ ระหวา่ งค้านไม้ (S) กบั การกด หรอื เหยียบคานไม้ (R)น่นั เอง

ในการทดลอง ธอร์นไดคไ์ ด้นาแมวไปขงั ไวใ้ นกรงทส่ี รา้ งข้นึ แล้วนาปลาไปวางลอ่ ไวน้ อก กรงให้ ห่างพอประมาณ โดยแมวไม่สามารถยืนเท้าไปเขียได้ ช่วงทดลองจะเป็นช่วงที่แมวหิวและต้องการ อาหาร แมวจึงเกิดปัญหาว่า จะออกจากกรงไปกินปลาได้อย่างไร จากการบันทึกการทดลอง ของธอร์นไดคพ์ บว่า ระยะแรก ๆ แมวใช้เวลาแก้ปัญหานาน มันพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพ่ือจะ ออกจากกรง จนกระท่ังเท้าของมันไปเหยียบถูกคานไม้เข้าโดยบังเอิญ ทาให้ประตูกรงเปิดออก หลงั จากนัน้ แมวกส็ ามารถแก้ปญั หาโดยออกจากกรงได้เร็วข้ึนตามลาดบั จากการทดลองนี้ ธอร์นไดค์อธิบายว่า การตอบสนองซ่ึงแมวได้แสดงออกมาเพ่ือจะ แกป้ ญั หานัน้ เป็นการตอบสนองแบบเดาสุม่ หรอื แบบลองผิดลองถูก (Trial and Error) แมวเปิด ประตูได้โดยกดคานไม้อย่างบังเอิญมากกว่าอย่างต้ังใจหรือได้วางแผนมาก่อน การที่แมวเปิด ประตกู รงไม้นี้ได้เร็วขึ้น ๆ ในช่วงหลัง ๆ ก็แสดงว่า แมวได้เกิดการเรียนรู้ด้วยการสร้าง (Bond) ขน้ึ ระหว่างค้านไม้ (S) กับการกดหรอื เหยียบคานไม้ (R)นน่ั เอง ขน้ั ตอนการทดลอง (1) แมวมพี ลังขบั หรอื แรงจงู ใจ (Motive) อันเน่อื งมาจากการทอ่ี นิ ทรยี ์อยใู่ นภาวะทีไ่ มส่ มดลุ หรอื เกิดความตอ้ งการขนึ้ (2) พลงั ขบั หรือแรงจูงใจ จะกระตนุ้ ใหอ้ ินทรยี ์แสดงพฤตกิ รรมตอบสนองหลายๆ เพื่อจะหาทาง สนองความตอ้ งการน้ัน ๆ ในกรณขี องแมวทท่ี ดลองในกรงไม้ ธอร์นไดก์สังเกตเจอมันจะมีการ ตอบสนองดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ ในระยะแรก ซงึ่ เขยี นผงั แสดงไดด้ งั ภาพ สถานการณใ์ นกรงไม้หรือปญั หา R1 ขีดข่วนพื้น R2 สง่ เสียงฟอ่ ๆ และทาตัวโก่ง ผังการทดลอง R3 วิ่งไปรอบ ๆ R4 ผลักฝาผนงั และประตู R5 กดคานไม้ เปดิ ประตไู ด้

(3) การกดคานไม้และสามารถเปดิ ประตูไดค้ ร้งั แรกนน้ั เป็นไปดว้ ยความบงั เอิญ ซง่ึ ในระยะ นี้แมวยงั มองไม่ เหน็ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการกดคานไม้ แลว้ ทาให้ประตูเปิดออก หรืออาจกล่าวได้ว่า ระยะนี้ยงั ไม่สามารถ เช่อื มโยง หรือสรา้ งพนั ธะ (Bond) ระหวา่ งส่งิ เร้า (S) กับการตอบสนอง (R5) ใหเ้ กิดขน้ึ ได้ (4) แมวจะคอ่ ย ๆ ละทิง้ การตอบสนองที่ไม่ชว่ ยในการแก้ปญั หาออกไป หลงั จากทีไ่ ดท้ ดลอง ทาซา้ ๆ และ แนใ่ จวา่ ไมเ่ กิดประโยชน์ต่อการแก้ปัญหานั้น (5) เมื่อแมวตอบสนองไปเรือ่ ย ๆ กจ็ ะคอ่ ย ๆ คน้ พบว่ามีความสมั พนั ธบ์ างอย่าง ระหวา่ ง การกดคานไม้กับ การเปดิ ประตู การคน้ พบนี้จะเห็นไดจ้ ากการทใ่ี นตอน ดจากการท่ใี นตอนแรกแมวเพียงแต่เอาเทา้ ไป แตะปลายคานไม้เบา ๆ ซ่ึงไมม่ ีผลให้ประตูเปิด จึงได้ใชเ้ ท้า หน้ากดคานไมแ้ ล้วเทา้ หนา้ กดคานไม้แลว้ ประตูกเ็ ปิดออก ในขนั้ นี้จะเหน็ วา่ แมวได้ทิ้งกจิ กรรมอื่น ๆ เชน่ การส่งเสยี งฟอ้ ๆ และทาตัวโกง่ หรอื ขีดข่วนพน้ื ทิง้ ไป (6) การไดท้ ดลองและฝึกฝนแก้ปญั หาบ่อย ๆ จะมีผลให้พนั ธะ (Bond) ระหวา่ งสิง่ เรา้ เละฝกึ ฝนแกป้ ญั หาบ่อย ๆ จะมผี ลให้พนั ธะ (Bond ) ระหวา่ งส่ิงเรา้ (s) และอาการตอบสนอง (R5) มีความ เข้มแข็งมากยิง่ ขนึ้ และสามารถแก้ปญั หาได้อย่างถกู ตอ้ ง รวดเรว็ ขึน้ ธอรน์ ไดก์ ให้ขอ้ สังเกตว่า การเรยี นรูเ้ ป็นสง่ิ ท่จี ะคอ่ ย ๆ สะสมพอกพนู ขน้ึ ทีละน้อยมากกว่าที่จะ เกิดขึ้นอยา่ งทนั ทีทนั ใด หรอื กล่าวอกี นยั หนึง่ การเรยี นรูจ้ ะคอ่ ย ๆ พัฒนาขน้ึ ทลี ะนอ้ ยดว้ ยการลองผดิ ลองถกู ไม่ได้เกดิ ข้นึ อย่างพรวดพราด หรือเกิดความกระจา่ งแจ้งโดยทันที จากกราฟด้านลา่ งนนั้ เป็นการแสดงใหเ้ ห็น ถงึ การแกป้ ญั หาของแมว ซ่ึงจะใชเ้ วลาในการแก้ปญั หาน้อยลงเร่ือย ๆ หลงั จาก จะแกป้ ญั หาแบบลองผิดลอง ถกู แสดงวา่ แมวได้เกิดการเรียนรขู้ ้ึนทีละข้นั อย่างมีระบบ มไิ ด้เกดิ เรียนรู้อยา่ งพรวดพราดโดยทนั ทแี ต่ ประการใด การทดลอง

สรุป ธอร์นไดก์ ทดลองสรา้ งกรงปญั หาข้ึนเป็นอุปกรณ์ แลว้ ศึกษาเกยี่ วกบั การเรียนรู้จาก พฤติกรรมของแมวทีอ่ ดอาหารอยูใ่ นกรงแต่มปี ลาทูอยู่นอกกรงแมวจะแสดงอาการกระวนกระวาย เขยี่ กดั ตะกยุ วิ่งชน เพือ่ จะออกมากนิ ปลา แตก่ ็ออกไม่ได้ ในที่สดุ แมวยกขากดแผน่ ไม้ทผ่ี ูกเชือก ในกรง บังเอิญประตูเปดิ ออก แมวจึงออกมากินปลาได้ จากการทดลองนี้ ธอร์นไดก์ สรุปว่าการ เรียนรู้น้ันผู้เรียนตอ้ งมีความกระตอื รือร้นอยู่ตลอดเวลา และการเรยี นรู้จะคงสภาพอยู่ ก็ตอ่ เม่อื พนั ธะระหวา่ งส่งิ เร้ากับการตอบสนองยงั คงอยู่ โดยเฉพาะกรณขี องแมวประสบปญั หาซ่งึ ประกอบดว้ ยสง่ิ เร้าหลายอยา่ ง แมวพยายามตอบสนองต่อส่งิ เรา้ แตล่ ะอยา่ ง ๆ ไปอยา่ งเดาส่มุ จน ในทสี่ ุดกแ็ ก้ปญั หาได้ ซึ่งเป็นไปในลกั ษณะของการลองผดิ ลองถูก (Trial and Error)การลอง ผดิ ลองถูกน้นั เม่ือพบวา่ ตอบสนองในการแกป้ ญั หาไดก้ จ็ ะใช้การตอบสนองนน้ั แกป้ ญั หาเดิมเรอ่ื ย ๆ ไป จนเปน็ นิสยั หมายถึง การเกดิ การเรียนรู้ขึ้น (ชาตชิ าย มว่ งปฐม ,2557) กฎการเรยี นรู้

กฎการเรยี นรขู้ องทฤษฎีการเรียนรู้แบบสัมพนั ธ์เช่ือมโยงของธอร์นไดก์ ธอรน์ ไดกไ์ ด้สรปุ กฎของการเรียนรอู้ อกเปน็ 2 กฎใหญ่ๆ 1. กฎการเรยี นรู้หลกั 3 กฎ (Three Major Laws of Learning) ได้แก่ ก. กฎแห่งความพร้อม (law of readiness) ธอร์นไดกค์ ่อนขา้ งจะให้ความสาคญั กบั ความพรอ้ มอยา่ ง มากในการทจี่ ะทาให้เกดิ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ เขาเหน็ วา่ การเรยี นรจู้ ะเกดิ ขึ้นได้ถ้าบคุ คลนน้ั มคี วามพรอ้ มทาง ร่างกายและความพรอ้ มทางจิตใจ ซ่งึ หมายถึงความพงึ พอใจท่จี ะเรยี นรู้ในสงิ่ น้ัน ๆ กฎแหง่ ความพรอ้ มยงั สามารถ แบง่ เป็นกฏย่อยได้ดังนี้ • เมอื่ บคุ คลมีความพรอ้ มจะกระทากจิ กรรมหรือเรียนรู้ ถา้ ได้กระทาหรือเรียนรตู้ ามความตอ้ งการ บคุ คลนนั้ จะเกิดความพงึ พอใจจนทาให้เกิดการเรียนรูข้ ึ้น • เมือ่ บุคคลมคี วามพรอ้ มจะกระทากจิ กรรมหรอื เรียนรู้ ถ้าไมไ่ ด้กระทาหรอื เรยี นรตู้ ามความต้องการ บตุ คลน้ันจะเกิดความไม่พอใจ ไมส่ บายใจ และหงุดหงิดใจ • เมือ่ บดุ คลไม่พรอ้ มจะกระทากิจกรรมหรือเรยี นรู้ ถ้าถูกบังคบั ให้กระทาหรอื เรยี นรู้ จะทาให้เกิด ความคับขอ้ งใจ ไม่สบายใจ เครยี ด และเกิดความไม่พอใจข้ึนได้ ข. กฎแหง่ การฝึกหัด (law of exerise) ธอรน์ ไดก์กล่าววา่ เมอ่ื บดุ คลเกดิ การเรียนรแู้ ล้วควรไดร้ บั การฝกึ ฝนหรอื กระทาซ้า ๆ อยู่เสมอ ๆ เพ่ือสร้างความสัมพันธเ์ ชื่อมโยงระหวา่ งสง่ิ เร้ากับการตอบสนองใหแ้ น่นแฟ้น มัน่ คงยิ่งข้นึ กฎนี้แยกเปน็ 2 กฏยอ่ ยดงั นี้ • กฎแหง่ การใช้ (law of use) หมายความวา่ พฤดกิ รรมการเรยี นรูใ้ ด ๆ ก็ตามเมอ่ื เกดิ ข้ึนแลว้ ไดร้ ับ การกระทาซ้า ๆ อยเู่ รือ่ ย ๆ จะเกิดความชานาญและเป็นความเคยชิน พฤตกิ รรมน้นั จะคงทนเปน็ ระยะเวลายาว ยง่ิ ฝกึ มากเทา่ ใดยิง่ ถูกต้องมากข้ึนเทา่ น้ัน • กฎแหง่ การไม่ไดใ้ ช้ (law of disuse) หมายความวา่ พฤติกรรมการเรียนรูใ้ ด ๆ กต็ ามทเี่ กดิ ขนึ้ แล้วมีการเวน้ ระยะเวลานานและขาดการฝึกฝน พฤตกิ รรมเหล่าน้นั จะลดประสทิ ธภิ าพลงเรอื่ ย ๆ และมีแนวโน้มที่ พฤติกรรมการเรยี นรู้นน้ั จะค่อยๆ เลอื นหายไปไดใ้ นทส่ี ดุ สาหรับกฎขอ้ น้ี ธอร์นไดก์ไดถ้ ูกวจิ ารณ์อย่างมากว่าการกระทาซา้ ๆ และบอ่ ย ๆ ไมไ่ ด้ชว่ ยใหเ้ กิดการเรียนรู้ ที่แทจ้ รงิ เสมอไป แต่จะมลี กั ษณะเปนิ แบบนกแกว้ นกขุนทอง ท่ถี ึงแม้จะพูดได้คลอ่ งแตม่ ันจะนาไปใช้ประโยชนไ์ ม่ได้ ดงั นน้ั เท่ากบั วา่ การฝกึ ให้กระทาซา้ ๆ จะทาให้เกดิ ความชานาญกจ็ รงิ แตก่ ็จะชานาญเฉพาะพฤตกิ รรมนั้น ๆ ไม่ สามารถประยกุ ต์ใชใ้ นกรณีอน่ื ๆ ได้ แตธ่ อร์นไดกโ์ ตแ้ ยง้ วา่ ก่อนจะใชก้ ฎแหง่ การฝึกหัด บดุ คลนน้ั จะตอ้ งเกิดพฤตกิ รรมการเรียนรูท้ ่ีแท้จริงเสยี กอ่ นแลว้ จึงใหเ้ กิดการฝึกฝนในภายหลงั

ค. กฎแหง่ ผลการตอบสนอง (law of effect) กฎนม้ี ีใจความสาคัญท่วี า่ พฤตกิ รรมใดก็ตามเม่ือแสดงการ ตอบสนองแล้วไดร้ บั ความสุข ความพึงพอใจ และความภูมใิ จ รา่ งกายจะเลือกพฤติกรรมนนั้ กลับมาตอบสนองอีกครั้ง เมอื พบกบั ส่งิ เร้าหรอื สถานการณเ์ ดมิ แตถ่ ้าพฤติกรรมใดก็ตามทีแ่ สดงการตอบสนองแลว้ ไดร้ บั ความทกุ ข์ ความไม่ พอใจ และความผิดหวงั มีแนวโนม้ วา่ พฤติกรรมนั้นจะลดการตอบสนองลงจนหายไปในทส่ี ดุ ดงั นัน้ การใชักฎข้อนี้จงึ ควรจะเกดิ ขนึ้ หลังจากพฤตกิ รรมการเรยี นรไู้ ดเ้ กิดขึ้นแลว้ หรือขณะอยใู่ นระยะ ของการฝกึ ฝนฝึกหัด ซงึ่ จะมผี ลตอ่ การเชือ่ มโยงความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ เรา้ กบั การตอบสนองให้แนน่ แฟน้ ยง่ิ ขึน้ พฤตกิ รรมการเรยี นรูก้ ็จะมีดวามมนั่ คงถาวรมากข้ึนด้วย กฎข้อน้ขี องธอร์นไดก์ได้รบั ความนิยมอย่างแพรห่ ลาย โดยเฉพาะในวงการศกึ ษา ดว้ ยการใช้การเสรมิ แรงแกผ่ ู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ แมก้ ระท่ังสกินเนอร์เองก็นากฎขอ้ น้ีไปอธบิ ายทฤษฎีการเรยี นรู้ของคน โดยสกินเนอรเ์ รียกกฎแห่งผลการตอบสนองนี้ว่าเปน็ การเสริมแรง (reinforcement) นั่นเอง 2. กฎการเรยี นรู้บอ่ ย 5 กฎ (Five Subordinate Laws) เป็นกฎทส่ี นบั สนนุ กฎหลกั แบง่ เป็น 5 กฏยอ่ ย ไดแ้ ก่ ก. กฎแหง่ การแสดงพฤตกิ รรมตอบสนองหลายรูปแบบ (multiple responses) เม่อื บุคคลพบกับ สงิ่ เรา้ หรอื สถานการณ์ทเ่ี ปน็ ปญั หา บคุ คลจะแสดงพฤตกิ รรมตอบสนองออกมาหลายรปู แบบ และจะแสดง พฤติกรรมตอบสนองไปเรอ่ื ย ๆ จนกวา่ จะพบพฤตกิ รรมที่สามารถแก้ปญั หาได้ถกู ตอ้ ง พฤตกิ รรมตอบสนองจึงจะยุติ ลง จากน้ันบคุ คลจะคอ่ ย ๆ ลดพฤตกิ รรมตอบสนองอืน่ ๆ จนกระทงั่ เหลือวธิ ีท่ีถูกต้องที่สามารถแกป้ ญั หาไดด้ ที ส่ี ดุ เพียงวิธเี ดียว และเลือกวธิ กี ารแก้ปัญหานน้ั ตลอดไปกับสถานการณ์นัน้ ๆ ข. กฎแห่งการเตรยี มพรอ้ มหรือทัตนคติ (set of attiude) ธอรน์ ไดกเ์ ช่ือว่า การทบ่ี ุคคลจะสามารถเรยี นรูส้ ง่ิ ใด ๆ ไดด้ นี ัน้ จะตอ้ งเกิดความพร้อมหรอื มีทศั นคติท่ีดตี ่อส่ิงนนั้ เสยี ก่อน จึงจะทาใหก้ ารเรยี นร้เู กดิ ข้ึนไดง้ า่ ยและ ประสบความสาเร็จได้เป็นอยา่ งดี มากกว่าบุคคลทข่ี าดความพรอ้ มหรอื มีทัตนคตทิ ไี่ ม่ดตี อ่ ส่ิงทีจ่ ะเรียนรู้ เชน่ ถา้ นักศึกษามีความพรอ้ มและชอบวิชาจิตวิทยาทัว่ ไป จะทาให้นักศึกษาเรียนรไู้ ด้เร็วและประสบความสาเรจ็ ไดง้ ่ายกว่า นักศึกษาทีไ่ มพ่ รอ้ มหรือไมช่ อบวิชาน้ี ค. กฎการเลอื กพฤติกรรมตอบสนอง (law of partial activity) เมอื่ บคุ คลเผชญิ กบั สง่ิ เรา้ หรอื พฤติกรรมท่ี เปน็ ปญั หา บุคคลจะเลือกแสดงพฤดกิ รรมตา่ ง ๆ ทีเ่ หน็ ว่าเหมาะสมทสี่ ุดเพ่อื ใชใ้ นการตอบสนองสถานการณน์ น้ั และเม่ือ คน้ พบพฤติกรรมตอบสนองทแ่ี กป้ ัญหาไดแ้ ล้วกจ็ ะหยุดพฤติกรรมลองผิดลองถูกลง โดยหนั ไปเลือกพฤตกิ รรมทไี่ ด้ลอง กระทาไปแล้ว จนกระทั่งคน้ พบวิธีทดี่ ที ี่สดุ ในการแกป้ ญั หาได้แทจ้ รงิ บางคร้งั ถา้ วิธีการแก้ปญั หาทถี่ กู ต้องน้นั มีหลาย วิธี บคุ คลก็จะเลือกวธิ ที ่สี ะดวกและเสยี เวลาน้อยท่ีสุดในการแก้ปัญหาน้ัน ๆ เชน่ ถ้าผเู้ รียนได้พบวธิ แี กป้ ญั หาโจทย์ คณติ ศาสตรข์ อ้ หน่งึ ได้หลายวิธี ผ้เู รียนนัน้ จะเลอื กวธิ ที ี่งา่ ยที่สดุ ในการแกป้ ัญหาโจทย์ขอ้ นน้ั

ง. กฎแหง่ การตอบสนอง โดยอาศยั ประสบการณท์ ีม่ คี วามคล้ายคลึงหรอื เกีย่ วขอ้ งกัน (law of response analogy) เมอ่ื บคุ คลประสบกบั สถานการณท์ ่ีป็นปัญหาขึ้น บคุ คลนั้นมีแนวโน้มทจี่ ะนาเอาประสบการณ์จากการ แกป้ ญั หาในอดตี ที่มคี วามคลา้ ยคลงึ ใกลเ้ คยี ง หรือเก่ียวข้องกันมาใช้ในการแก้ปญั หากบั สถานการณท์ เี่ ป็นปญั หา ใหม่ แตอ่ าจไมใ่ ช่เปน็ การแสดงพฤตกิ รรมใหมท่ ัง้ หมด ดงั นน้ั ในการเรยี นรเู้ รื่องใดๆ ก็ตาม ถา้ เปน็ เรอ่ื งทมี่ คี วาม คล้ายคลึงกบั เร่ืองท่ีเคยเรียนรูม้ าแลว้ ผเู้ รยี นจะเรยี นรไู้ ด้ดีและเรว็ กว่าเร่อื งทย่ี งั ไม่เคยเรยี นรู้มาเลย จ. กฎแห่งการถ่ายโยงจากสง่ิ เรา้ เก่าไปสู่ส่ิงเรา้ ใหม่ (law of association shitting) บคุ คลจะเกดิ การ เรียนรไู้ ด้งา่ ยและเรว็ ข้นึ ถ้าบุดคลน้ันมองเหน็ ส่งิ เร้าใหมแ่ ละส่งิ เรา้ ที่เคยประสบมามดี วามสัมพันธก์ ัน จะทาให้การเรยี นรสู้ ่งิ เร้าใหม่กระทาได้ง่ายข้ึน เนอ่ื งจากผู้เรยี นจะเกดิ การเชอ่ื มโยงส่ิงเร้าเกา่ และสง่ิ เร้าใหมเ่ ขา้ ดว้ ยกัน ทาให้มองเหน็ ทางในการแกป้ ัญหาไดร้ วดเรว็ ขึน้ เชน่ ถ้านักศึกษาเคยเรียนพมิ พ์ดีดมาแลว้ เม่อื มา เรยี นคอมพวิ เตอร์ จะเรียนรวู้ ิธกี ารพิมพ์จากคอมพวิ เตอร์ได้เร็วกวา่ ปกติ การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีการเรียนรู้แบบสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดก์ ในการจัดการเรียนการสอน นายชาติชาย ม่วงปฐม (2557) กล่าวว่า การนาทฤษฎีความสมั พันธ์เช่ือมโยงสิ่งเร้าและการตอบสนอง ของธอร์นไดก์ไปประยกุ ต์ใช้สรปุ ได้ดงั นี้ 1. การจัดการเรียนการสอนควรเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดล้ องถกู ลองผิดบ้างจะทาให้ผ้เู รยี นเกดิ เรียนรวู้ ิธี แกป้ ญั หาด้วยตนเอง มีความภาคภมู ใิ จในการทาสิง่ ต่าง ๆ ทาใหจ้ ดจาการเรียนรู้ได้ดี 2. การจัดการเรียนการสอนควรเตรยี มความพรอ้ มของผู้เรยี นกอ่ นให้เรยี นรู้บทเรียน

เอ็ดเวริ ด์ ลี ธอร์นไดก์ (Edward Lee Thorndike ; 1874-1994) บิดาแห่งจติ วิทยาการศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook