Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Published by khaenapha.k, 2022-09-14 07:48:08

Description: คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 |วางแผน สร้างสรรค์ และน�ำ เสนอ 45 เกณฑก์ ารประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1 ประเด็นการประเมิน วางแผนการทำ�งานกอ่ น 2 วางแผนการท�ำ งานกอ่ น ลงมอื สรา้ งช้ินงานได้ ลงมอื สรา้ งชนิ้ งาน ระบุ 1. การวางแผนการ สอดคลอ้ งกบั ปัญหา โดย วางแผนการทำ�งานกอ่ น ข้นั ตอนการทำ�งาน ท�ำ งานกอ่ นลงมอื มรี ายละเอยี ดข้นั ตอนการ ลงมอื สร้างชน้ิ งาน ระบุ แต่ไม่ระบรุ ะยะเวลา สรา้ งชิ้นงาน ท�ำ งาน ระยะเวลาที่ใช้ใน ข้ันตอนการท�ำ งาน ระยะ หรือผู้รบั ผิดชอบ แต่ละขนั้ ตอน และผรู้ บั เวลาท่ใี ชใ้ นแต่ละข้นั ตอน 2. การเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ ผดิ ชอบไดค้ รบถว้ น และผรู้ ับผิดชอบ เลือกใช้วัสดุอปุ กรณ์ เหมาะสมกบั งาน แตข่ าดรายละเอียด ไมถ่ ูกต้องกบั งาน และใชอ้ ยา่ งถกู วิธี เลือกใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ ส่วนใดส่วนหนึ่ง ได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั กำ�หนดประเด็นการ 3. การทดสอบ งานและให้เหตผุ ลในการ เลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ ทดสอบ บนั ทึกผลการ ประเมนิ ผล เลือกใชไ้ ด้ ได้ถกู ตอ้ งกบั งาน แตไ่ ม่ ทดสอบ แต่ไม่สามารถ และปรับปรงุ แก้ไข สามารถให้เหตุผลในการ บอกแนวทางการปรบั ปรงุ ชนิ้ งาน กำ�หนดประเด็นการ เลอื กใชไ้ ด้ แกไ้ ข ทดสอบ บนั ทึกผลการ 4. การนำ�เสนอ ทดสอบ พรอ้ มแนวทาง ก�ำ หนดประเดน็ การ น�ำ เสนอผลงานการ ผลการทำ�งาน การปรับปรุงแก้ไขได้ ทดสอบ บันทึกผลการ ออกแบบแนวทางแก้ ดว้ ยรูปแบบท่ี ครบถว้ นทุกข้นั ตอน ทดสอบ พร้อมแนวทาง ปัญหาของกล่มุ ตนเองได้ เหมาะสม การปรับปรุงแกไ้ ขได้ แตข่ าดรายละเอยี ด ผู้ฟัง น�ำ เสนอผลงานการ บางสว่ น ไม่เขา้ ใจสิ่งท่นี �ำ เสนอใน ออกแบบแนวทางแก้ บางเนือ้ หา ปญั หาของกลุ่มตนเอง นำ�เสนอผลงานการ ตามกระบวนการทำ�งาน ออกแบบแนวทางแก้ ได้อย่างครบถ้วน ชดั เจน ปัญหาของกลมุ่ ตนเอง ผู้ฟังสามารถเข้าใจได้ ตามกระบวนการ แต่ขาด อยา่ งถกู ตอ้ ง รายละเอยี ดบางส่วน ผฟู้ ัง สามารถเขา้ ใจได้เป็น ส่วนมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

46 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 |วางแผน สรา้ งสรรค์ และนำ�เสนอ คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพ คะแนน 9-12 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5-8 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช ้ คะแนน 1-4 คะแนน หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ ** เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลสามารถปรับเปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม 9. แหลง่ เรียนรู้ www.youtube.com/watch?v=DtikLTpd1H8 ความร้พู นื้ ฐานงานชา่ ง 10. ขอ้ เสนอแนะ 10.1 บทบาทผู้สอน ควรเป็นผู้อำ�นวยความสะดวกในการทำ�กิจกรรมให้แก่ผู้เรียน โดยการจัดเตรียมอุปกรณ์ใน กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั หาอปุ กรณใ์ นการออกแบบเพอ่ื แกป้ ญั หาของผเู้ รยี น คอยใหค้ �ำ ปรกึ ษาระหวา่ งการท�ำ กจิ กรรมกลมุ่ โดยการ เข้าร่วมอภิปรายกลุ่มย่อย ร่วมรับฟังปญั หาและเสนอแนวทางแก้ปญั หาให้แกผ่ ู้เรยี น 10.2 บทบาทผู้เรียน ผู้เรียนต้องลงมือทำ�กิจกรรมด้วยตนเอง โดยการวางแผนแบ่งหน้าท่ีในการทำ�งาน รวมถึงการ ใหค้ วามรว่ มมือและยอมรบั ฟังในการทำ�กจิ กรรมกลุ่ม และทำ�ตามการวางแผนงานทีว่ างไวอ้ ยา่ งเครง่ ครดั 11. แนวค�ำ ตอบกิจกรรม เน่อื งจากกิจกรรมในบทนีเ้ ปน็ กิจกรรมทผี่ ู้เรยี นต้องด�ำ เนินการเพอ่ื แก้ปญั หาของกลมุ่ ค�ำ ตอบหรือแนวทาง การดำ�เนินงานจึงต้องเป็นไปตามสถานการณ์ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาของผู้เรียน ผู้สอนจึงควรให้ข้อเสนอแนะเพ่ือให้ ผเู้ รยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมใหบ้ รรลุตามจุดประสงค์ทีต่ ้ังไว้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เวลา 4 ชวั่ โมง คาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต 1. ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้ 1.1 ตัวชวี้ ดั 1) วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ ตดั สินใจเลือกใชเ้ ทคโนโลยี โดยคำ�นงึ ถึงผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม 2) คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึนโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยี 1.2 สาระการเรยี นรู้ 1) สาเหตหุ รอื ปจั จยั ตา่ ง ๆ เชน่ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ทำ�ใหเ้ ทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2) เทคโนโลยแี ตล่ ะประเภทมผี ลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกนั จงึ ตอ้ งวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บขอ้ ดี ขอ้ เสีย และตดั สินใจเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

48 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 | คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี โดยคำ�นงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ต่อชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม 2.2 คาดการณแ์ นวโนม้ เทคโนโลยีในอนาคต 3. ทักษะและกระบวนการท่เี ปน็ จดุ เน้น 3.1 ทกั ษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ 3.2 ทกั ษะการแกป้ ญั หา 3.3 ทักษะการส่ือสาร 3.4 ทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกับผู้อื่น 4. ความรเู้ ดิมทผ่ี เู้ รยี นต้องมี เทคโนโลยี เปน็ สง่ิ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งหรอื พฒั นาขนึ้ อาจเปน็ ไดท้ งั้ ชนิ้ งานหรอื วธิ กี าร เพอ่ื ใชแ้ กป้ ญั หา สนองความตอ้ งการ หรอื เพ่ิมความสามารถในการทำ�งานของมนุษย์ ส่งผลให้เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงการ เปลย่ี นแปลงเทคโนโลยนี นั้ อาจเปน็ การพฒั นา ปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ หรอื กลไกการท�ำ งาน ปรบั เปลย่ี นวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ เพอ่ื ให้เทคโนโลยีมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสูงขนึ้ 5. สาระสำ�คญั การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี รวมทง้ั การคาดการณแ์ นวโนม้ ของเทคโนโลยที จี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และต้องเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การเลือกใช้เทคโนโลยีเพ่ือสนองความต้องการของมนุษย์อย่างเหมาะสม จะช่วยในการ วางแผนการท�ำ งานและเปน็ ขอ้ มลู ในการเลอื กใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจ�ำ กดั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ รวมทงั้ เปน็ การพฒั นาขดี ความ สามารถของมนุษย์ในการสรา้ งเทคโนโลยแี หง่ อนาคตได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 | คาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต 49 6. ส่ือและอปุ กรณ์ 6.1 ใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม เรื่อง เวลา (นาที) 30 กิจกรรมท่ี 4.1 เลอื กใช้เทคโนโลยี 30 กจิ กรรมท้ายบท คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต 60 กจิ กรรมท้าทายความคดิ เลอื กใชแ้ ละคาดการณ์เทคโนโลยี 6.2 สื่ออ่ืน ๆ ภาชนะใสอ่ าหารท่ีทำ�จากโฟม (ใชใ้ นขนั้ นำ�เขา้ สบู่ ทเรยี น) คลปิ วิดโี อ เรือ่ ง ไมน่ า่ เชอ่ื ไปดูวา่ เปลอื กต้นกลว้ ยทำ�อะไรไดบ้ า้ ง จาก https://www.youtube.com/watch?v=AC-WU6G0FTI กระดาษปรฟู๊ /สเี มจิก (คละส)ี กระดาษโพสอทิ หรอื สติกเกอร์ 7. แนวทางการจดั การเรียนรู้ 1) ผสู้ อนน�ำ ภาชนะใสอ่ าหารทท่ี �ำ จากโฟมใหผ้ เู้ รยี นสงั เกต และรว่ มกนั อภปิ รายในประเดน็ การยอ่ ยสลายของภาชนะและ บรรจุภัณฑ์จากโฟมทีท่ กุ คนเคยเหน็ กนั ตามที่สาธารณะหรือแม่นำ้�ลำ�คลอง แล้วผสู้ อนถามผูเ้ รียนว่า หากเราต้องการจัดการขยะ จากโฟมที่ต้นทาง ควรใช้วิธีการอยา่ งไร แนวคำ�ตอบ ตัวอย่างเช่น เลิกซ้ืออาหารท่ีใช้บรรจุภัณฑ์ประเภทโฟม ใช้ภาชนะท่ีประดิษฐ์จากธรรมชาติแทนโฟม รณรงค์เลิกใช้บรรจุภณั ฑจ์ ากโฟม ปรับพฤตกิ รรมการท้ิงขยะให้ถกู ตอ้ ง 2) ผสู้ อนทบทวนความรเู้ ดมิ กอ่ นเรยี น โดยใหผ้ เู้ รยี นบอกเทคโนโลยที เ่ี ปน็ ชน้ิ งานทท่ี �ำ จากธรรมชาตซิ ง่ึ สามารถใชแ้ ทนโฟม และเทคโนโลยีทเ่ี ป็นวิธีการเพอ่ื ลดและหลกี เล่ยี งการใช้โฟม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

50 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 | คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนหาคำ�ตอบให้ได้มากที่สุดก่อน แล้วผู้สอนค่อยเพ่ิมเติมในรายละเอียดว่า โฟมไม่มีการย่อยสลายยกเว้นจะกำ�จัดด้วยการเผาซ่ึงผลเสียก่อให้เกิดควันพิษ โฟมผลิตมาจากวัสดุพอลิเมอร์ชนิดพอลิสไตรีน (polystyrene) เม่ือนำ�มาใช้บรรจุอาหารร้อนและอาหารทอด น้ำ�มันจากอาหารจะเกิดปฏิกิริยากับโฟม ทำ�ให้เกิดสารอันตราย ปะปนออกมากับอาหาร สารเหล่าน้ี ได้แก่ สารสไตรีน (styrene) และสารเบนซีน (benzene) ซึ่งมผี ลเสยี ต่อร่างกาย คือ ทำ�ลาย ระบบฮอร์โมนในร่างกาย มีผลต่อระบบประสาท เม็ดเลือดแดง ตับและไต เมื่อถูกผิวหนังหรือเข้าตาหรือสูดดมเข้าไป จะทำ�ให้ เยื่อเมือกเกิดการระคายเคือง มีอาการไอและหายใจลำ�บาก ปวดศีรษะ ง่วงซึม สำ�หรับสารเบนซีน จัดเป็นสารก่อมะเร็งใน กลุ่ม 2B ตามประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรม (พรรณพิสทุ ธิ์ สนั ติภราดร, 2559) 3) ผู้เรียนดูคลิปวิดีโอการนำ�เปลือกต้นกล้วยมาประดิษฐ์เป็นของใช้และภาชนะใส่อาหาร จากนั้นผู้เรียนและผู้สอนร่วม กนั อภปิ รายสรปุ ความรทู้ ีไ่ ด้จากคลิปในประเดน็ ต่อไปนี้ 3.1) สาเหตุใดที่ทำ�ใหต้ อ้ งมกี ารใช้ภาชนะจากวสั ดุธรรมชาติ แนวค�ำ ตอบ เนอื่ งจากภาชนะจากโฟมเกดิ โทษตอ่ รา่ งกาย โฟมเปน็ มลพษิ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ตน้ กลว้ ยเปน็ วสั ดทุ หี่ าไดง้ า่ ย ในทกุ ภาคของไทย เปน็ การเพิ่มมลู คา่ ของวัสดุท่มี ีในธรรมชาตใิ กล้ตวั ประกอบเปน็ อาชีพเสรมิ อาชีพหลักได้ 3.2) เทคโนโลยีจากวัสดธุ รรมชาตสิ ง่ ผลกระทบตอ่ ชีวิตและสังคม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดลอ้ มอย่างไร แนวคำ�ตอบ สง่ ผลกระทบดา้ นบวกมากกว่าด้านลบ ผลกระทบต่อชวี ิตและสังคม คือ - สุขภาพดีขึน้ ไมเ่ ส่ยี งต่อการเป็นโรคมะเร็ง ท่ีเกิดจากสารพิษตกคา้ งในบรรจุภัณฑพ์ ลาสตกิ เม่ือผ่านการใช้งานที่ ไมถ่ กู วธิ ี - เมื่อประชาชนสขุ ภาพดีรัฐกไ็ มต่ อ้ งส้นิ เปลืองงบประมาณทางดา้ นสาธารณสขุ - ประชาชนสุขภาพดี ทกุ คนมีความสขุ สามารถสร้างสรรคง์ านตอ่ องคก์ รและหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ - กลอ่ งโฟมเมอ่ื ทบั ถมกันตามทีต่ า่ ง ๆ โดยไมไ่ ดร้ ับการก�ำ จัดอย่างถกู วิธี กลายเป็นแหลง่ เพาะเชื้อโรคตา่ ง ๆ ได้ - การทบั ถมของขยะเม่ือมากเขา้ สง่ ผลใหเ้ กิดกลิ่นอนั ไม่พงึ ปรารถนาและอุจาดตา ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ - เกษตรกรผ้ปู ลกู กล้วยมีรายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ - ผู้ประกอบการประดิษฐภ์ าชนะสามารถขยายฐานการค้าได้ท้งั ในและต่างประเทศ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - มลพิษตอ่ ดนิ ไม่มกี ารย่อยสลายส่งผลให้เกิดปัญหาตอ่ การปลกู พชื - มลพษิ ต่ออากาศ หากมกี ารจดั การขยะจากโฟมดว้ ยการเผากอ่ ให้เกดิ ควนั พษิ - มลพษิ ทางน�ำ้ หากมกี ารทบั ถมสง่ ผลใหแ้ มน่ �ำ้ ล�ำ คลองตนื้ เขนิ และอดุ ตนั ทอ่ ระบายน�ำ้ สง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาน�้ำ ทว่ ม ในเขตเมอื ง 3.3) เมือ่ ผู้เรยี นมีความรูม้ ากขึน้ และเทคโนโลยมี คี วามก้าวหนา้ มากข้นึ ผ้เู รียนจะสรา้ งหรอื พัฒนาเทคโนโลยีในการ แกป้ ัญหาบรรจภุ ัณฑจ์ ากโฟมได้อย่างไร แนวคำ�ตอบ ใชส้ ่วนต่าง ๆ ของพืชที่หาไดง้ ่ายมาประดษิ ฐเ์ ปน็ ภาชนะโดยเนน้ การลดต้นทุนการผลิตให้ถกู ลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต 51 3.4) ผเู้ รยี นคดิ วา่ มวี สั ดจุ ากธรรมชาตใิ ดอกี บา้ ง ทส่ี ามารถน�ำ มาประดษิ ฐเ์ ปน็ บรรจภุ ณั ฑแ์ ทนโฟมได้ นอกจากตน้ กลว้ ย แนวคำ�ตอบ ไมไ้ ผ่ ใบทองกราว ใบเลบ็ ครุฑลังกา กาบห่อช่อดอกและผลของตน้ หมาก ใบและทางมะพร้าว 3.5) ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติมีราคาแพง ผู้เรียนจะมีแนวทางในการแก้ปัญหานี้อย่างไร เพ่ือให้สามารถนำ� มาใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ แนวคำ�ตอบ คิดคน้ รูปแบบในการประดิษฐ์ภาชนะจากธรรมชาติทีใ่ ชต้ ้นทนุ ต�ำ่ 4) แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม โดยคละความสามารถและคละเพศ ให้แต่ละกลุ่มจับสลากหัวข้อเร่ืองที่จะศึกษาใน หัวข้อ 4.1 การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยแี ละการเลือกใช้เทคโนโลยี ในหนังสอื เรียน 3 เร่ือง คือ กลุ่มที่ 1 การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยกี ารกำ�จัดขยะมลู ฝอย กลุม่ ที่ 2 การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีการบำ�บัดนำ้�เสยี กล่มุ ที่ 3 การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีการควบคุมมลพษิ ทางอากาศ จากนน้ั ร่วมกันอภิปรายผลการศกึ ษาการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยแี ละการเลือกใช้เทคโนโลยี 5) ผเู้ รียนรว่ มกนั อภปิ รายกรอบชวนคดิ ในหวั ข้อ 4.1 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยแี ละการเลอื กใช้เทคโนโลยี ดงั นี้ 5.1) กรอบชวนคิดในหัวข้อ 4.1.1 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอย เม่ือมีการค้นพบความรู้ ใหม่มากขนึ้ และเทคโนโลยมี ีความกา้ วหนา้ มากข้นึ ผเู้ รยี นจะสรา้ งหรอื พฒั นาเทคโนโลยีใดในการจดั การขยะมลู ฝอย เพือ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบในด้านลบต่อชวี ติ สงั คมและสง่ิ แวดล้อมใหน้ ้อยที่สุด แนวค�ำ ตอบ ผเู้ รยี นตอบตามความรแู้ ละความเขา้ ใจ โดยใหผ้ เู้ รยี นบอกเหตผุ ลการสรา้ งหรอื พฒั นาเทคโนโลยใี ดในการ จดั การขยะมูลฝอยนั้น (คำ�ตอบไมม่ ผี ิดหรอื ถูก เน้นให้ผ้เู รยี นเกดิ ความคดิ สร้างสรรค)์ เชน่ พัฒนาการตัดต่อพันธกุ รรมใหห้ นอน สามารถย่อยสลายพลาสติกได้ในเวลา 2 ช่ัวโมง จะไดไ้ มม่ ีพลาสติกตกค้างเปน็ ขยะมลู ฝอย 5.2) กรอบชวนคดิ ในหวั ขอ้ 4.1.2 การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยกี ารบ�ำ บดั น�้ำ เสยี เมอื่ มกี ารคน้ พบความรใู้ หมม่ าก ขึ้น และเทคโนโลยมี ีความก้าวหน้ามากข้นึ ผเู้ รียนจะคาดการณเ์ ทคโนโลยกี ารบำ�บัดนำ้�เสียของโรงเรียนและชมุ ชนของผู้เรยี นว่า จะมลี กั ษณะอยา่ งไร เพอื่ บ�ำ บดั นำ้�เสียให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากทีส่ ดุ และลดผลกระทบดา้ นลบให้ได้มากทีส่ ุด แนวค�ำ ตอบ ผเู้ รยี นตอบตามความรแู้ ละความเขา้ ใจ โดยใหผ้ เู้ รยี นบอกเหตผุ ลการสรา้ งหรอื พฒั นาเทคโนโลยใี ดในการ บ�ำ บดั น�้ำ เสยี นน้ั (ค�ำ ตอบไมม่ ผี ดิ หรอื ถกู เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค)์ เชน่ สรา้ งเครอ่ื งกรองน�ำ้ เสยี ดว้ ยวธิ กี ารแลกเปลยี่ น ประจุ การกรองสารอินทรีย์ และสามารถฆ่าเช้อื โรครวมไวใ้ นเครือ่ งเดียว โดยนำ�้ ทีผ่ า่ นการบ�ำ บดั สามารถน�ำ มากลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ 5.3) กรอบชวนคิดในหัวข้อ 4.1.2 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการบำ�บัดนำ้�เสีย โรงงานผลิตนำ้�มันพืชตั้งอยู่ใน นคิ มอตุ สาหกรรมทม่ี พี น้ื ทจ่ี �ำ กดั น�ำ้ เสยี จากโรงงานแหง่ นมี้ กี ารปนเปอ้ื นไขมนั และน�้ำ มนั ลอยบนพน้ื ผวิ ของน�ำ้ เสยี เปน็ จ�ำ นวนมาก ผู้เรยี นคิดว่าระบบบ�ำ บดั นำ้�เสยี แบบใดเหมาะสมกบั โรงงานน้ี แนวคำ�ตอบ ระบบบ�ำ บดั น้ำ�เสียแบบโคแอกกเู ลช่ัน (Coagulation) ซงึ่ สามารถบำ�บดั นำ้�เสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรม ที่มีสารแขวนลอยขนาดเล็กและมไี ขมนั หรอื นำ้�มันละลายอยู่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

52 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4 | คาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 5.4) กรอบชวนคิดในหัวข้อ 4.1.3 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศ เมื่อมีการค้นพบ ความรูใ้ หม่ ๆ มากข้ึนและเทคโนโลยมี ีความก้าวหน้ามากข้นึ เราจะคาดการณ์เทคโนโลยกี ารควบคมุ มลพษิ อากาศในอนาคตวา่ มี ลกั ษณะอยา่ งไร เพอื่ ให้เกิดประสิทธภิ าพ และลดผลกระทบดา้ นลบใหไ้ ด้มากทส่ี ุด แนวค�ำ ตอบ ผเู้ รยี นตอบตามความรแู้ ละความเขา้ ใจ โดยใหผ้ เู้ รยี นบอกเหตผุ ลการสรา้ งหรอื พฒั นาเทคโนโลยใี ดในการ ควบคุมมลพิษทางอากาศนั้น (คำ�ตอบไม่มีผิดหรือถูก เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์) เช่น พัฒนาเครื่องยนต์ท่ีสามารถ เผาไหม้เชื้อเพลิงได้สมบูรณ์ 100 % ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ และฝุ่นละอองในอากาศ เพราะว่าการแก้ปัญหาท่ีต้นทาง เป็นการแก้ ปญั หาที่ยัง่ ยนื ที่สุด 6) แตล่ ะกลุ่มทำ�กิจกรรมที่ 4.1 เร่ือง เลอื กใช้เทคโนโลยี โดยรว่ มกันวเิ คราะหส์ ถานการณ์ และอภิปรายถงึ ปญั หา กรอบ ของปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย แล้วเลือกเทคโนโลยีที่กลุ่มตนเองคิดว่าเหมาะสมกับสภาพปัญหาตาม สถานการณ์ท่ีกำ�หนดให้ โดยคำ�นึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม และอธิบายเหตุผลในการเลือกใช้เทคโนโลยีนั้น สุ่มตวั แทนกลมุ่ จำ�นวน 1 กลมุ่ มานำ�เสนอ 7) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั อภิปรายสรปุ ผลการท�ำ กิจกรรมท่ี 4.1 ในประเด็น กรอบของปัญหา เทคโนโลยที ี่เลอื กใช้ใน การแกป้ ัญหา และเหตุผลในการเลอื กใช้เทคโนโลยมี าแก้ปญั หา ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ การอภปิ รายเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นพจิ ารณาจากสาเหตขุ องปญั หา แนวทางแกไ้ ขปญั หา เปน็ พนื้ ฐานใน การตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีมาใช้ในการแก้ปัญหาให้เหมาะสมและคุ้มค่ากับสถานการณ์ โดยคำ�นึงถึงผลกระทบที่จะเกิดข้ึน ตอ่ ชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดล้อม 8) ผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ ศกึ ษาหวั ขอ้ 4.2 การคาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต ในหนงั สอื เรยี น โดยก�ำ ชบั ใหผ้ เู้ รยี นพจิ ารณาตาราง การคาดการณเ์ ทคโนโลยแี ตล่ ะประเภท เนน้ การพจิ ารณาปจั จยั หรอื สาเหตทุ ม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทง้ั 4 ดา้ น คอื ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ตา่ ง ๆ มนุษย์และสังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดลอ้ ม 9) ผูเ้ รียนและผสู้ อนอภิปรายเกีย่ วกบั กรอบขอ้ ความของดอ็ กเตอร์ ในหวั ขอ้ 4.2 ดงั นี้ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ กรอบขอ้ ความของดอ็ กเตอรใ์ นหวั ขอ้ 4.2 เปน็ ค�ำ ถามทต่ี อ่ เนอื่ งจากกรอบชวนคดิ ในหวั ขอ้ 4.1 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และการเลอื กใช้เทคโนโลยี ผู้สอนอาจมีการเช่ือมโยงคำ�ตอบดังกล่าวมาใช้ 9.1) กรอบขอ้ ความของดอ็ กเตอรใ์ นหวั ขอ้ 4.2.1 การคาดการณเ์ ทคโนโลยกี ารจดั การขยะมลู ฝอย ลองคาดการณว์ า่ เทคโนโลยีการจดั การขยะมลู ฝอยจะมพี ัฒนาตอ่ ไปอยา่ งไร แนวคำ�ตอบ ผู้เรียนตอบตามความรู้และความเข้าใจ (คำ�ตอบไม่มีผิดหรือถูก เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์) เช่น ในอนาคตเมอื่ มีประชากรมากขนึ้ จำ�นวนขยะอาจมากขนึ้ ตามไปด้วย เทคโนโลยใี นการจดั การขยะมูลฝอย ควรจะแกป้ ัญหา ท่ีแหล่งกำ�เนิดขยะ คือพัฒนาบรรจุภัณฑ์ท่ีสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ หรือบรรจุภัณฑ์ที่รับประทานได้เลย ซึ่งไม่ ก่อใหเ้ กดิ ขยะมูลฝอยตกคา้ งและลดปริมาณขยะลง 9.2) กรอบขอ้ ความของดอ็ กเตอรใ์ นหวั ขอ้ 4.2.2 การคาดการณเ์ ทคโนโลยกี ารบ�ำ บดั น�้ำ เสยี ในอนาคตเมอื่ มกี ารขยาย ตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ มากยง่ิ ขน้ึ จ�ำ นวนประชากรสงู ขน้ึ สง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หามลพษิ ทางน�้ำ มากขนึ้ เราจะคาดการณเ์ ทคโนโลยที จี่ ะ เกิดขน้ึ เพ่อื ชว่ ยแกป้ ญั หามลพษิ ทางน�ำ้ ไดอ้ ยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 | คาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต 53 แนวคำ�ตอบ ผู้เรียนตอบตามความรู้และความเข้าใจ (คำ�ตอบไม่มีผิดหรือถูก เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์) เชน่ พฒั นาสายพนั ธข์ุ องจลุ นิ ทรยี ใ์ หส้ ามารถบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี ทม่ี ที ง้ั สารอนิ ทรยี ์ และอนนิ ทรยี ไ์ ดใ้ นสายพนั ธเ์ุ ดยี ว จะท�ำ ใหก้ ารบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี เกดิ ข้นึ ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว 9.3) กรอบข้อความของดอ็ กเตอรใ์ นหวั ขอ้ 4.2.3 การคาดการณ์เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศ ในอนาคต มีแนวโน้มท่ีโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการขยายตัวมากขึ้น ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศตามมา ลองมาคาดการณ์หรือหาแนวทาง ในการพฒั นาเทคโนโลยีการควบคุมมลพษิ ทางอากาศให้เกิดผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มน้อยทีส่ ุด แนวคำ�ตอบ ผู้เรียนตอบตามความรู้และความเข้าใจ (คำ�ตอบไม่มีผิดหรือถูก เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์) เช่น สร้างเครอื่ งกรองท่ีสามารถกรองฝุ่นละอองที่มีขนาดนาโนเมตรได้ เพอ่ื เป็นการลดปญั หาฝุน่ ละอองขนาดเลก็ 10) ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมท้ายบท เร่ือง คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต โดยแต่ละกลุ่มค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจาก แหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ ทน่ี า่ เชือ่ ถอื พร้อมทั้งอ้างองิ แหลง่ ที่มาของข้อมลู ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ กิจกรรมท้ายบท ผเู้ รยี นศึกษาคน้ คว้า สอบถาม สังเกต สัมภาษณจ์ ากผ้ทู ีม่ สี ว่ นเกี่ยวข้องหรือ สถานประกอบการตา่ ง ๆ ได้ ขน้ึ อยกู่ ับบริบทของแต่ละโรงเรียน 11) ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนถึงปัญหาส่ิงแวดล้อมในข่าวตามส่ือต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแลก เปลย่ี นเรยี นรใู้ หไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ แลว้ ใหพ้ จิ ารณาวา่ ปญั หาในชมุ ชนใกลต้ วั ของผเู้ รยี นมอี ะไรบา้ ง และชมุ ชนแกป้ ญั หาเหลา่ นนั้ อยา่ งไร ผเู้ รยี นมแี นวคดิ ทจี่ ะแกป้ ญั หานนั้ ใหด้ ขี นึ้ อยา่ งไร จากนน้ั ทกุ กลมุ่ ท�ำ กจิ กรรมทา้ ทายความคดิ เรอ่ื ง เลอื กใชแ้ ละคาดการณเ์ ทคโนโลยี แต่ละกลุ่มเลือกปัญหาท่ีสนใจ โดยกลุ่มเลขคี่เลือกวิธีแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีท่ีเป็นวิธีการและกลุ่มเลขคู่เลือกวิธีแก้ปัญหาด้วย เทคโนโลยที ี่เปน็ ช้ินงาน ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ กจิ กรรมทา้ ทายความคดิ เปน็ กจิ กรรมเสรมิ ทช่ี ว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจเนอ้ื หาทเี่ รยี นมากยงิ่ ขนึ้ ผสู้ อน อาจพจิ ารณาตามความเหมาะสมของเวลา 12) ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นรายละเอยี ดแผนภาพการคาดการณเ์ ทคโนโลยขี องกลมุ่ ตนเองในกระดาษปรฟู๊ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ จัดแสดงผลงานไว้ซ่ึงจะแยกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นวิธีการ และส่วนที่เป็นชิ้นงาน ทุกกลุ่มจะมีตัวแทนอยู่ประจำ�จุดที่แสดง ผลงานกลุ่มละ 1 คน เพื่ออธิบายและตอบข้อซักถามให้กับผู้สอนและเพื่อน ๆ ส่วนท้ายสุดผู้ท่ีเป็นวิทยากรประจำ�กลุ่ม กจ็ ะเดนิ เวียนเพอ่ื ศกึ ษาผลงานของกลมุ่ อน่ื ๆ โดยมสี มาชิกรายอนื่ มาปฏิบัติหนา้ ที่แทน 13) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั ประเมนิ ผลงานของทกุ กลมุ่ โดยใชก้ จิ กรรม gallery walk ซงึ่ ทกุ คนจะเดนิ ศกึ ษางานจนครบ ทุกกลุ่ม ผู้เรียนพิจารณาว่ากลุ่มใดเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับปัญหามากที่สุด ให้ติดสติกเกอร์ที่ผลงานของกลุ่มน้ัน ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนจะมสี ติกเกอรจ์ ำ�นวน 2 ชน้ิ เลอื กติดกลุ่มวธิ กี าร 1 ช้ิน และเลือกติดกลุ่มชน้ิ งาน 1 ชน้ิ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม ข้อควรพิจารณาในการประเมินผลงาน เร่ือง เลือกใช้และคาดการณ์เทคโนโลยีเพ่ือใช้ในการ แกป้ ัญหา มีดังนี้ 1. การระบกุ รอบของปญั หา ตอ้ งกระชบั ชดั เจน 2. แนวทางการแกป้ ญั หา พิจารณาแนวทางท่ีเป็นไปไดอ้ ยา่ งหลากหลาย เชอื่ ถอื ได้ 3. เลอื กแนวทางทเี่ หมาะสม และมีเหตผุ ลประกอบ 4. ออกแบบระบบท�ำ งานของเทคโนโลยจี ากแนวทางทเ่ี ลอื กโดยใชร้ ะบบทางเทคโนโลยเี พอ่ื การท�ำ งานอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน 5. ชนิ้ งานหรือวธิ ีการแกป้ ญั หาสามารถนำ�ไปใช้ไดจ้ ริง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

54 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 | คาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 14) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายสรุปผลการประเมินของแต่ละกลุ่มโดยสรุปคะแนนจากจำ�นวนสติกเกอร์ที่เพ่ือน ๆ ติดไว้ กลุ่มใดได้จำ�นวนสติกเกอร์มากที่สุดจะได้นำ�ผลงานออกนำ�เสนอหน้าชั้น ผู้สอนและผู้เรียนทั้งชั้นร่วมกันสรุปอีกคร้ังว่า ผลงานท่ีทุกฝ่ายลงมติมาน้ันมีความเหมาะสมหรือมีจุดท่ีควรปรับปรุงตรงไหนอย่างไร หรือมีผลงานของกลุ่มอ่ืน ๆ ท่ีควร ยกมาเปน็ ตวั อยา่ งในการพจิ ารณาเพม่ิ เตมิ อกี หรอื ไม่ สว่ นผลงานทไ่ี มไ่ ดร้ บั การโหวตกม็ กี ารแสดงขอ้ คดิ เหน็ เพมิ่ เตมิ ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้เหมาะสมมากยิ่งขึน้ 8. การวดั และประเมนิ ผล รายการประเมนิ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือท่ีใชว้ ัด เกณฑ์การประเมนิ การผา่ น แบบประเมนิ กจิ กรรมที่ 4.1 1. การเลือกใชเ้ ทคโนโลยี ตรวจ เร่อื ง เลือกใชเ้ ทคโนโลยี คะแนน 15-21 หมายถึง ดี โดยคำ�นงึ ถงึ ผลกระทบที่ ใบกจิ กรรม คะแนน 8-14 หมายถงึ พอใช้ เกิดข้นึ ตอ่ ชีวิต สงั คม และ แบบประเมนิ กจิ กรรมทา้ ยบท คะแนน 1-7 หมายถงึ ปรับปรุง ส่ิงแวดลอ้ ม ตรวจ เรื่อง คาดการณ์เทคโนโลยี ใบกจิ กรรม ในอนาคต ผเู้ รยี นได้ระดับคุณภาพ พอใช้ 2. การคาดการณแ์ นวโนม้ ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผา่ น เทคโนโลยีในอนาคต สงั เกต แบบสังเกตพฤติกรรม พฤตกิ รรม ผเู้ รียนได้ระดับคุณภาพ ทักษะการคดิ อย่างมี พอใชข้ น้ึ ไป ถือว่าผ่าน วิจารณญาณ (ดเู กณฑก์ ารประเมนิ ในภาคผนวก) ทกั ษะการแก้ปัญหา ทกั ษะการสอื่ สาร ทักษะการทำ�งานร่วมกับผูอ้ ่นื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต 55 เกณฑ์การประเมิน 3 ระดับคะแนน 1 2 ประเดน็ การประเมิน ระบเุ ทคโนโลยีท่ใี ช้ในการ ระบเุ ทคโนโลยที ่ใี ช้ แกป้ ัญหาไดส้ อดคล้อง ระบเุ ทคโนโลยีที่ใช้ ในการแก้ปญั หาได้ 1. การเลือกใชเ้ ทคโนโลยี กับปัญหา อย่างน้อย ในการแก้ปญั หาได้ สอดคล้องกบั ปัญหา โดยคำ�นงึ ถงึ ผลกระทบ 3 เทคโนโลยี สอดคลอ้ งกบั ปัญหา 1 เทคโนโลยี ทเ่ี กิดขึ้นตอ่ ชวี ติ สงั คม ระบผุ ลกระทบของเทคโนโลยี 2 เทคโนโลยี ระบุผลกระทบของ และสง่ิ แวดลอ้ ม ได้ครบท้ัง 3 ดา้ น ระบผุ ลกระทบของ เทคโนโลยไี ด้ 1 ดา้ น 1.1 การระบเุ ทคโนโลยี เทคโนโลยไี ด้ 2 ดา้ น ที่ใช้ในการแก้ปัญหา ระบุเทคโนโลยที ่เี ลือกใช้ ระบเุ ทคโนโลยี และอธบิ ายเหตุผลในการ ระบเุ ทคโนโลยที ่เี ลือกใช้ ทเ่ี ลือกใช้ แตไ่ ม่ 1.2 การวเิ คราะหผ์ ลกระทบ เลอื กใช้เทคโนโลยีได้สมเหตุ และอธบิ ายเหตุผลในการ สามารถอธบิ ายเหตผุ ล ของเทคโนโลยตี อ่ ชวี ติ สมผลสอดคลอ้ งกับปญั หา เลือกใช้เทคโนโลยไี ด้ ในการเลือกใชไ้ ด้ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม และผลกระทบท่ีอาจเกดิ ข้ึน แตไ่ มส่ อดคลอ้ งกบั ปญั หา และผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลง 1.3 การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขน้ึ ได้ แตไ่ มใ่ ช้ และการอธบิ ายเหตผุ ล ทเ่ี กดิ ขนึ้ และคาดการณ์ วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลง ข้อมูลประกอบในการ เทคโนโลยีจากการ ที่เกิดขึน้ และคาดการณ์ คาดการณ์เทคโนโลยี 2. การคาดการณแ์ นวโนม้ เปลย่ี นแปลงด้านความ เทคโนโลยี จากการ จากการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยใี นอนาคต กา้ วหน้าของศาสตรต์ ่าง ๆ เปลี่ยนแปลงด้านความ ดา้ นความกา้ วหนา้ 2.1 ด้านความก้าวหนา้ โดยใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื กา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ ของศาสตร์ตา่ ง ๆ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ โดยใชแ้ หลง่ ข้อมูลทีไ่ ม่นา่ เชือ่ ถือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

56 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1 2.2 ดา้ นมนษุ ย์และ สงั คม วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลง 2 วเิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง ทเ่ี กิดขน้ึ และคาดการณ์ ที่เกดิ ขึ้นได้ แต่ไม่ใช้ 2.3 ดา้ นเศรษฐกิจ เทคโนโลยี จากการ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ข้อมลู ประกอบในการคาด เปลย่ี นแปลงดา้ นมนุษย์ ทเ่ี กิดข้นึ และคาดการณ์ การณ์เทคโนโลยี จากการ 2.4 ดา้ นสิง่ แวดล้อม และสงั คม โดยใช้แหล่ง เทคโนโลยี จากการ เปล่ียนแปลงดา้ นมนุษย์ ขอ้ มูลที่น่าเช่ือถือ เปลย่ี นแปลงด้านมนษุ ย์ และสงั คม และสงั คม โดยใชแ้ หลง่ วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง ขอ้ มลู ท่ีไม่นา่ เชื่อถือ วิเคราะหก์ ารเปล่ียนแปลง ทเ่ี กิดข้นึ และคาด ทเ่ี กิดขึน้ ได้ แตไ่ ม่ใช้ การณ์เทคโนโลยี จาก วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลง ขอ้ มลู ประกอบในการ การเปลีย่ นแปลงดา้ น ที่เกิดข้นึ และคาด คาดการณ์เทคโนโลยี จาก เศรษฐกิจ โดยใช้แหล่ง การณ์เทคโนโลยี จาก การเปล่ียนแปลงดา้ น ขอ้ มูลท่นี า่ เชอ่ื ถอื การเปลีย่ นแปลงด้าน เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ โดยใช้แหลง่ วิเคราะห์การเปลย่ี นแปลง ข้อมลู ท่ีไม่นา่ เช่ือถือ วเิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง ทเี่ กดิ ข้ึนและคาดการณ์ ทีเ่ กิดข้นึ ได้ แตไ่ ม่ใช้ข้อมูล เทคโนโลยี จากการ วเิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง ประกอบในการคาดการณ์ เปล่ยี นแปลงดา้ น ที่เกิดขน้ึ และคาดการณ์ เทคโนโลยจี ากการ สง่ิ แวดล้อม โดยใชแ้ หลง่ เทคโนโลยี จากการ เปล่ยี นแปลงด้าน ขอ้ มูลท่ีน่าเช่อื ถือ เปล่ยี นแปลงด้าน สิ่งแวดล้อม สงิ่ แวดลอ้ ม โดยใชแ้ หล่ง ข้อมูลทีไ่ ม่น่าเชือ่ ถือ เกณฑ์การตัดสินระดับคณุ ภาพ คะแนน 15 – 21 คะแนน หมายถงึ ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนน 8 - 14 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 7 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ ** เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลสามารถปรับเปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต 57 9. แหลง่ เรยี นรู้ www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/317/กลอ่ งโฟมบรรจอุ าหารอนั ตรายอยา่ มองขา้ ม/ พรรณพสิ ทุ ธ์ิ สนั ตภิ ราดร, (2559). กลอ่ งโฟมบรรจอุ าหาร อนั ตรายอยา่ มองขา้ ม. สบื คน้ เมอ่ื 17 กนั ยายน 2561 10. ข้อเสนอแนะ 10.1 กิจกรรมท่ี 4.1 เรือ่ ง เลอื กใช้เทคโนโลยี ผ้สู อนอาจให้คำ�แนะนำ�ผเู้ รยี นวา่ เทคโนโลยีทีเ่ ลอื กใช้น้นั ไม่จ�ำ เปน็ ตอ้ ง มผี ลกระทบกบั ชวี ติ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ครบทกุ ดา้ นเสมอไป หรอื ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ อาจมผี ลตอ่ ทง้ั ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ในประเด็นเดยี วกนั ก็ได้ และผลกระทบต่าง ๆ อาจมีความสมั พนั ธก์ นั 10.2 การทำ�กิจกรรมท้ังหมดในบทนี้ไม่เน้นคำ�ตอบถูกหรือผิด เน้นให้นักเรียนกล้าคิดนอกกรอบ ให้เกิดความคิด สร้างสรรค์ แต่อยู่บนฐานความรู้ หรือข้อมูลท่ีเป็นไปได้ และให้นักเรียนฝึกการบอกเหตุผล เพราะอะไร ทำ�ไมถึงเลือกวิธีนี้ เลือกวิธีอืน่ ไดห้ รอื ไม่ เพราะอะไร เป็นตน้ 10.3 ในการน�ำ เสนอ ควรมีการน�ำ เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น หรอื เปน็ การโตว้ าที ผ้สู อนควรกระตนุ้ ผู้เรียนใหเ้ กดิ การซักถาม ในประเดน็ ทีส่ งสัย ให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรกู้ นั ในชนั้ เรยี น 10.4 กิจกรรมทา้ ทายความคดิ เป็นกิจกรรมเสริมท่ใี ห้ผเู้ รยี นฝึกปฏิบัติเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจเนือ้ หาทเ่ี รยี นมากย่งิ ข้นึ ซึง่ ผ้สู อนอาจจัดกิจกรรมเสนอแนะนอกเวลาเรยี นหรือพจิ ารณาตามความเหมาะสมของเวลา เพราะกจิ กรรมที่ 4.1 และกจิ กรรม ท้ายบท ครอบคลมุ ตวั ช้วี ดั ทง้ั หมดแล้ว ในขณะท่กี จิ กรรมทา้ ทายความคิด เป็นกิจกรรมรวบยอดทั้งหมด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

58 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 11. แนวค�ำ ตอบกจิ กรรม กจิ กรรมที่ 4.1 เร่ือง เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ปัญหาต่อไปน้ี แล้ววิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา โดยคำ�นึงถึง ผลกระทบกับชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม สถานการณ์ หมู่บ้านแห่งหน่ึง ต้องการทำ�การเกษตรเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน แต่พบว่าพื้นที่ท่ีจะทำ�การเกษตรนั้น ดินมี สภาพขาดอนิ ทรยี วตั ถุ หรอื ขาดแรธ่ าตอุ าหาร ไมเ่ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื สง่ ผลใหผ้ ลผลติ ทไ่ี ดไ้ มเ่ ปน็ ไปตาม ทต่ี ้องการ ดังน้นั นักเรยี นจะแกไ้ ขปัญหาดินขาดอินทรียวตั ถนุ อ้ี ยา่ งไร ตารางการวเิ คราะห์เทคโนโลยี เทคโนโลยี ผลกระทบ สงั คม ชีวิต สิ่งแวดลอ้ ม 1. ไถกลบพืชสด สรา้ งอาหารใหส้ ง่ิ มีชวี ติ ในดนิ เพิ่มแหล่งทที่ �ำ กินของ ใชท้ ด่ี นิ วา่ งเปลา่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ เพ่ิมธาตุอาหารได้ โดยเฉพาะ ธาตไุ นโตรเจน เกษตรกร ดนิ มีความอุดมสมบรูณ์ ใชร้ ะยะเวลาเพาะปลูกนาน สร้างรายได้จากผลผลิตพืช เกษตรต้องทำ�การปลูกพืชสด ตระกูลถวั่ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ พื้ น ท่ี ท่ี ข า ด แร่ธาตุ เช่น ปอเทือง ถ่ัวพร้า และถว่ั มะแฮะ มีแหลง่ ท่องเท่ียวเพมิ่ ขน้ึ ใน ชมุ ชนุ เชน่ การปลูกปอเทือง 2. ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ สร้างอาหารใหส้ ิ่งมีชีวติ ในดนิ เพมิ่ แหลง่ ท่ที �ำ กินของ ชว่ ยปรับปรงุ โครงสร้างของดนิ ปุ๋ยหมัก ปุย๋ คอก การปลดปลอ่ ยธาตอุ าหารของ เกษตรกร ใหด้ ขี น้ึ เชน่ มคี วามสามารถใน ปยุ๋ อนิ ทรยี เ์ กดิ ขน้ึ ชา้ ท�ำ ใหก้ าร เปน็ ชุมชนทีป่ ลอดสารเคมี การอมุ้ น�ำ้ และธาตุอาหารไดด้ ี ปรบั ปรุงดินตอ้ งใชเ้ วลานาน ในการเพาะปลกู พืช ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ มีจำ�นวนจำ�กัด ไม่สามารถหา เพ่มิ รายได้ในการเพาะปลูก อาจส่งกลิ่นรบกวน ซ้ือในปรมิ าณมาก ๆ ได้ เปน็ เกษตรอนิ ทรยี ์ ผูใ้ ช้ตอ้ งผลิตขน้ึ เอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 | คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต 59 เทคโนโลยี ผลกระทบ 3. ป๋ยุ เคมี ชีวิต สังคม สิง่ แวดลอ้ ม มรี าคาแพง ถา้ มกี ารใสป่ ยุ๋ จ�ำ นวนมากจะสง่ ผล ถ้าใช้ในปริมาณมากและติดต่อ ผู้ใช้ปุ๋ยเคมีจะต้องมีความรู้ ต่อการใช้พ้ืนท่ีในอนาคต เช่น กันเป็นเวลานานจะทำ�ให้ดิน ความเข้าใจ จึงจะใช้ได้อย่างมี ก่อให้เกิดดินเค็ม หรือดินเปร้ียว เส่ือมสภาพ ประสิทธภิ าพ ดินไมร่ ่วนซุย เทคโนโลยที เ่ี ลอื กใชใ้ นการแกป้ ญั หา ปุย๋ อนิ ทรยี ์ เหตผุ ลใ นก ารเ ลอื ก ใช เ้ ทค โนโ ลย ี เป็นเทคโนโลยีท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ไม่ทำ�ให้ดินเส่ือมสภาพเมื่อใช้เป็นเวลานาน และยังสามารถผลิตไดเ้ องจากของเหลือใชท้ างการเกษตร และมีราคาถูก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

60 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี กิจกรรมทา้ ยบท เร่ือง คาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต จากการท่ีนักเรยี นได้ลงมอื ปฏิบตั เิ พือ่ แก้ปญั หา ในบทท่ี 1 – 3 นั้น ไม่ว่าจะเป็นการสรา้ งชิ้นงานหรือวธิ ีการ ถ้า นกั เรยี นมคี วามรมู้ ากขนึ้ ประกอบกบั ปญั หาความตอ้ งการของมนษุ ยแ์ ละสงั คม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดลอ้ ม เปลยี่ นแปลง ไป หรอื มเี ทคโนโลยใี หมท่ สี่ ามารถชว่ ยสนบั สนนุ การท�ำ งาน นกั เรยี นคาดการณว์ า่ เทคโนโลยขี องนกั เรยี นจะเปลย่ี นแปลง ไปจากเดิมอย่างไร โดยวิเคราะห์ปจั จัยในดา้ นตา่ ง ๆ ทมี่ ีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยี เทคโนโลยขี องนกั เรยี น คอื เคร่อื งบบี อัดขยะอัจฉรยิ ะ ความก้าวหน้าของศาสตรต์ ่าง ๆ มนุษย์และสังคม การเปล่ียนแปลง แหลง่ ขอ้ มลู การคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลง แหล่งขอ้ มูล การคาดการณ์ ที่เกิดข้ึน เทคโนโลยี ทเี่ กดิ ขึน้ เทคโนโลยี ระบบเซ็นเซอร์ตรวจ รจุ ิรตั น์ ชาวทองหลาง. ถังขยะทีส่ ามารถบบี การตระหนักถึง กฤตยิ า พตุ ต.ิ (2560). ถังขยะสามารถแยก ปรมิ าณขยะ และระบบ (2560). ระบบเปิด-ปดิ อดั ขยะไดเ้ องเมอ่ื ขยะ ปรมิ าณขยะท่ีเพมิ่ ขนึ้ การคาดการณ์การ ขยะและสง่ เขา้ ระบบ ไฮดรอลิก ถังขยะอตั โนมัติด้วย เตม็ ถงั ตามจ�ำ นวนประชากร เปลีย่ นแปลงของ รีไซเคลิ ไดท้ นั ที เซ็นเซอรต์ รวจจบั ความ ปริมาณขยะมลู ฝอยจาก เคล่อื นไหว. วทิ ยาลยั การขยายตวั ของอาคาร เทคนคิ มหาสารคาม ทีอ่ ยูอ่ าศยั ในอนาคต. วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปจั จยั หรอื สาเหตทุ ม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลง การเปลย่ี นแปลง เศรษฐกิจ การคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม การคาดการณ์ ทีเ่ กิดขน้ึ เทคโนโลยี ที่เกดิ ขน้ึ เทคโนโลยี แหล่งข้อมลู แหล่งข้อมูล ค่าจา้ งแรงงานคนใน สอบถามผรู้ ูเ้ รื่องแนว ถงั ขยะที่สามารถแยก ปรมิ าณขยะเพิม่ มาก สอบถามข้อมลู จากผ้รู ู้ วธิ กี ารรณรงค์ให้คดั การคดั แยกขยะสงู ขึน้ โน้มค่าแรงข้ันต�ำ่ ท่ี ประเภทขยะได้เอง ขน้ึ สง่ ผลตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ในเรื่องการคัดแยกขยะ แยกขยะในครวั เรอื น สำ�นกั งานแรงงาน ทีก่ รมควบคมุ มลพษิ จงั หวัด และองคก์ ารบริหารส่วน ต�ำ บล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 | คาดการณ์เทคโนโลยใี นอนาคต 61 กิจกรรมท้าทายความคดิ เรือ่ ง เลอื กใชแ้ ละคาดการณ์เทคโนโลยี ให้นักเรียนเลือกปัญหาท่ีกำ�หนดให้ต่อไปน้ี เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาและคาดการณ์เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา ดงั กลา่ วในตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2 ปญั หาทก่ี ำ�หนดให้ น้ำ�ทว่ มในฤดูฝน มลพษิ ทางอากาศ • • การจราจรแออดั ในตัวเมอื ง สารพษิ ตกคา้ งในส่ิงแวดลอ้ ม • • การอดุ ตันของทอ่ ระบายน�ำ้ ทงิ้ ไมม่ นี ำ�้ ใชส้ �ำ หรบั การเกษตรในฤดรู ้อน •• • ความหนาแน่นของประชากรท่กี ระจุกตัวในชุมชนเมือง ปญั หาทน่ี กั เรยี นเลอื ก คอื สารพษิ ตกค้างในสง่ิ แวดลอ้ ม เหตุผลหรือข้อมลู สนับสนุน จากรายงานการสำ�รวจขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ พบว่า ป ระเทศไทย มีการใชย้ าฆ่าแมลงมากเป็นอันดับ 5 ของโลก และมสี ารเคมีท่ีมพี ิษอันตรายปนเปือ้ นในพืช ผกั ผลไม้ ท่ี วางขายในท้องตลาด เกิดมลพิษทางอากาศเม่ือมีการพ่นยา มีสารพิษตกค้างในดินและนำ้� ซึ่งนอกจากเกษตรกรซ่ึงถือ เปน็ ตน้ น้�ำ ของการผลิตท่เี ส่ยี งแลว้ ผู้บริโภคกเ็ สีย่ งตอ่ อันตรายดา้ นสขุ ภาพด้วยเชน่ กนั ดังน้นั จะมวี ิธกี ารใดท่จี ะลดหรอื แกป้ ัญหาสารพษิ ตกคา้ งในสง่ิ แวดล้อมได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

62 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ตอนท่ี 1 เลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาจากปญั หาทนี่ ักเรยี นเลือกข้างตน้ เทคโนโลยีที่เลือกใช้ในการแกป้ ญั หา คอื การควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยวิธธี รรมชาติ เหตผุ ลในการเลือก คือ วัสดุหรือส่ิงท่ีเกิดตามธรรมชาติไม่ทำ�ให้เกิดสารพิษตกค้าง หาได้ง่าย ราคาถูก สามารถทำ�เองได้ สรุปแนวคดิ ได้ดงั นี้ กรอบของปญั หา 1. ยกเลกิ การใช้ยาฆ่าแมลง สารพษิ ตกค้างในสิ่งแวดลอ้ ม 2. รณรงค์การใช้เคมีภัณฑจ์ ากธรรมชาติ มผี ลกระทบต่อสขุ ภาพของผูใ้ ช้ 3. ควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ดว้ ยวิธีธรรมชาติ และผูบ้ ริโภค แนวทางการแกป้ ญั หา รวบรวมได้ 3 แนวทาง เลือกแนวทางการแกป้ ัญหา เหตุผลในการเลือก ควบคุมแมลงศตั รพู ชื ด้วยวธิ ธี รรมชาติ วสั ดหุ รอื สง่ิ ที่เกดิ ตามธรรมชาติ ไมท่ �ำ ใหเ้ กดิ สารพษิ ออกแบบระบบการทำ�งาน ตกค้าง หาไดง้ ่าย ราคาถูก ท�ำ เองได้ ของเทคโนโลยี ตวั ปอ้ น กระบวนการ ผลผลติ การควบคุมแมลงศตั รูพชื ชนิด ปริมาณ นำ�น้ำ�หมกั ชวี ภาพ พืชผกั ไมม่ ีแมลง ดว้ ยการใช้น้ำ�หมกั ชวี ภาพ อตั ราส่วน ไปพ่นที่ต้นพืช รบกวน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี น�ำ้ หมกั ชีวภาพ หรอื ผัก ข้อมลู ยอ้ นกลับ ปรมิ าณแมลงที่รบกวน

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 | คาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต 63 ตอนที่ 2 ให้นกั เรยี นคาดการณ์วา่ เทคโนโลยีทเ่ี ลอื กใชแ้ ก้ปญั หาจากตอนที่ 1 นน้ั เปลย่ี นแปลงไปจากเดิมอยา่ งไร เม่อื มคี วามรู้มากขน้ึ ประกอบกบั มนษุ ยแ์ ละสงั คม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดล้อม เปลยี่ นแปลงไป หรือมีเทคโนโลยี สมยั ใหม่ ทช่ี ว่ ยน�ำ มาสนบั สนนุ การท�ำ งาน โดยวเิ คราะหป์ จั จยั ในดา้ นตา่ ง ๆ ทม่ี ผี ลตอ่ การคาดการณเ์ ทคโนโลยี เทคโนโลยที เี่ ลอื กใชใ้ นการแก้ปัญหา คือ การควบคมุ แมลงศัตรูพชื ดว้ ยวธิ ีธรรมชาติ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ต่าง ๆ มนุษย์และสังคม การเปล่ยี นแปลง แหลง่ ข้อมลู การคาดการณ์ การเปลยี่ นแปลง แหล่งข้อมลู การคาดการณ์ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เทคโนโลยี ทเี่ กิดขน้ึ เทคโนโลยี เทคโนโลยชี วี ภาพ พกั ตร์ จันทร์สว่างกูล. พนั ธพุ์ ืชท่ที นทาน มีการตระหนักถงึ ส�ำ นกั โรคจากการ มาตรการในการห้ามใช้ ในการพัฒนาหรือ (2556). เทคโนโลยี ต่อแมลงศัตรพู ชื อนั ตรายที่เกิดจากการ ประกอบอาชพี และ สารเคมใี นการกำ�จดั ปรบั ปรงุ พันธพุ์ ืช ชวี ภาพ. ศนู ยข์ ้อมูล ให้สารเคมใี นการจ�ำ กัด สิ่งแวดล้อม. ผลกระทบ ศัตรพู ชื และส่งเสรมิ ทีส่ ามารถทนตอ่ เทคโนโลยชี วี ภาพ ศัตรูพืช ตอ่ สขุ ภาพจากสารเคมี การใชว้ ิธีธรรมชาติให้ แมลงศตั รพู ืช และความปลอดภยั ก�ำ จดั ศตั รพู ชื . สบื คน้ เมอ่ื มากขนึ้ ทางชีวภาพ. 17 ตุลาคม 2561 การเปล่ียนแปลง จาก http://envocc. ที่เกิดขึ้น เศรษฐกิจ ddc.moph.go.th แหลง่ ข้อมูล ปจั จยั หรอื สาเหตทุ ม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลง สงิ่ แวดลอ้ ม การคาดการณ์ การเปลย่ี นแปลง แหล่งขอ้ มลู การคาดการณ์ เทคโนโลยี ท่เี กิดขึ้น เทคโนโลยี มกี ารสง่ สินค้า สอบถามขอ้ มูลจากผรู้ ู้ พฒั นาสารกำ�จัดศตั รู มีสารพษิ ตกค้าง สอบถามข้อมูลจากผู้รู้ รณรงค์ไม่ให้เกษตรกร เกษตรกรรม ในเรอ่ื งมาตรการในการ พชื จากของเหลือใช้ ในสง่ิ แวดล้อมมากข้นึ ในเรอ่ื งสารพษิ ตกคา้ ง ใช้สารเคมีในการกำ�จัด ออกนอกประเทศ ส่งออกสินคา้ เกษตรจาก ทางการเกษตร ส่งผลใหพ้ ้ืนที่ท�ำ กนิ ในสง่ิ แวดลอ้ มจากศนู ย์ ศัตรพู ชื และหนั มาใช้ มากขึน้ ท�ำ ใหจ้ ะตอ้ ง กรมการคา้ ต่างประเทศ ให้มปี ระสิทธภิ าพ เสื่อมโทรมลง บรกิ ารและถ่ายทอด วิธีธรรมชาติแทน ไม่มสี ารพษิ ตกคา้ ง ประจ�ำ จังหวัด มากข้ึน เทคโนโลยีการเกษตร ในสนิ คา้ นัน้ ๆ ประจ�ำ ต�ำ บล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

65 ตัวอยา่ งเกณฑ์การประเมินกระบวนการและทกั ษะในวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ประเดน็ การ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรุง) 1. การระบปุ ญั หา ระบุปัญหาและเงอื่ นไข ระบปุ ัญหาและ ระบุปญั หาและ ไมส่ ามารถระบุ 2. การรวบรวมขอ้ มูล ของการแกป้ ญั หาได้ เง่ือนไขของการแก้ เงอื่ นไขของการแก้ ปัญหาและ และแนวคิดท่ี สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ปัญหาได้สอดคลอ้ ง ปญั หาได้สอดคล้อง เง่อื นไขของ เกยี่ วข้องกบั ปญั หา ทีก่ ำ�หนดไดค้ รบถ้วน กบั สถานการณท์ ี่ กับสถานการณท์ ี่ การแก้ปญั หา สมบูรณ์ ก�ำ หนด ก�ำ หนดบางส่วน 3. การออกแบบวธิ ี ไมส่ ามารถ การแก้ปัญหา รวบรวมขอ้ มลู ที่ รวบรวมข้อมลู ที่ รวบรวมขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มลู สอดคลอ้ งกับแนวทาง สอดคลอ้ งกบั แนวทาง ทส่ี อดคลอ้ งกบั ท่สี อดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ ง การแกป้ ัญหาได้ แนวทางการแก้ แนวทางการแก้ ครบถ้วนสมบูรณ์ อย่างครบถ้วน ปญั หาไดบ้ างสว่ น ปญั หา แต่ไม่สมบูรณ์ ไมส่ ามารถ ออกแบบชนิ้ งานหรอื ออกแบบชิน้ งาน ออกแบบชิ้นงาน ออกแบบชน้ิ งาน วิธกี ารได้สอดคล้องกับ หรือวิธกี ารได้ หรอื วธิ กี ารได้ หรอื วธิ กี าร แนวทางการแก้ปัญหา สอดคล้องกับ สอดคล้องกบั ไดส้ อดคลอ้ ง และเงื่อนไขทก่ี ำ�หนด แนวทางการแก้ แนวทางการแก้ กบั แนวทางการ โดยแสดงรายละเอียด ปญั หาและเงื่อนไข ปญั หาและเงอ่ื นไข แกป้ ญั หาและ ครบถว้ น สมบรู ณ์ ทก่ี �ำ หนด โดยแสดง ที่กำ�หนดบางสว่ น เงอ่ื นไขทก่ี �ำ หนด และสามารถส่อื สาร รายละเอยี ดได้ และ และสามารถส่อื สาร และไมส่ ามารถ ให้ผอู้ ื่นเขา้ ใจตรงกนั สือ่ สารใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจตรงกนั สอ่ื สารใหผ้ อู้ น่ื ตรงกัน เขา้ ใจตรงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

66 ประเดน็ การ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) 4. การวางแผนและ ด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หา มกี ารวางแผนในการ มกี ารวางแผนใน มกี ารวางแผนใน ด�ำ เนินการแก้ ท�ำ งานและด�ำ เนนิ การ การท�ำ งานและ การท�ำ งาน แต่ไม่ ปญั หาโดยไม่มี 5. การทดสอบ แกป้ ัญหาตามข้ันตอน ด�ำ เนนิ การแก้ ไดด้ �ำ เนินการแก้ การวางแผนใน ประเมินผล และ การท�ำ งานได้อย่าง ปญั หาตามขั้นตอน ปญั หาตามขั้นตอน การทำ�งาน ปรบั ปรุงแก้ไขวธิ ี ถกู ตอ้ งและเหมาะสม การท�ำ งานได้ ท่วี างแผนไว้ การแก้ปญั หาหรอื ไม่ก�ำ หนด ชิ้นงาน ก�ำ หนดประเด็นในการ ก�ำ หนดประเด็นใน ก�ำ หนดประเดน็ ใน ประเดน็ ในการ ทดสอบไดส้ อดคล้อง การทดสอบได้ การทดสอบได้ ทดสอบ และ 6. การนำ�เสนอวิธกี าร กับสถานการณท์ ี่ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั บนั ทึกผลการ แกป้ ัญหา ผลการ กำ�หนด และบันทกึ ผล สถานการณ์ที่ สถานการณท์ ่ี ทดสอบไม่ แก้ปัญหาหรือชน้ิ การทดสอบได้อยา่ ง ก�ำ หนด และบนั ทกึ ก�ำ หนด บนั ทกึ ชดั เจน ไม่ งาน ละเอยี ด ครบถ้วน ผลการทดสอบได้ ผลการทดสอบ ครบถ้วน ไม่มี มกี ารปรบั ปรงุ หรือ โดยขาดรายละเอยี ด แตไ่ มค่ รบถว้ น ขาด การปรบั ปรงุ เสนอแนวทางแก้ไข บางส่วน มีการ รายละเอยี ด มกี าร แกไ้ ขชิ้นงาน ท่สี อดคลอ้ งกับปัญหา ปรับปรุงหรอื เสนอ ปรบั ปรงุ หรอื เสนอ หรือวธิ กี ารเม่อื หากชน้ิ งานหรอื วิธีการ แนวทางแกไ้ ขท่ี แนวทางการแกไ้ ข พบขอ้ บกพร่อง มีข้อบกพร่อง สอดคล้องกับปัญหา ทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั หากชิ้นงานหรือวิธี ขอ้ บกพรอ่ งของ ไมส่ ามารถ น�ำ เสนอรายละเอียด การมีข้อบกพร่อง ชน้ิ งานหรอื วธิ กี าร น�ำ เสนอขน้ั ตอน ข้ันตอนการแก้ปัญหา การแกป้ ญั หา ไดช้ ัดเจน สอื่ สารให้ น�ำ เสนอรายละเอยี ด น�ำ เสนอข้นั ตอน ผู้อ่นื เข้าใจไดอ้ ยา่ ง ขน้ั ตอนการแกป้ ญั หา การแก้ปญั หาได้ ครบถ้วน สมบูรณ์ ได้ชดั เจน ส่ือสารให้ แต่มรี ายละเอยี ด ผู้อน่ื เขา้ ใจได้ ไมช่ ัดเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

67 ความคิดสร้างสรรค์ (แบ่งเป็น 4 ลักษณะ) ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน 4 (ดมี าก) 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรงุ ) 1. ความคิดริเรมิ่ พฒั นาชน้ิ งานหรือวิธี พัฒนาชิน้ งาน พัฒนาชน้ิ งาน พัฒนาชิ้นงาน 2. ความคดิ คลอ่ ง การเพอื่ แก้ปัญหาด้วย หรอื วิธีการเพ่อื แก้ หรอื วธิ ีการเพ่ือแก้ หรอื วิธีการเพื่อ ความคดิ ท่แี ปลกใหม่ ปัญหาดว้ ยความคดิ ปญั หาดว้ ยการผสม แกป้ ัญหาโดย 3. ความคดิ ยดื หย่นุ เหมาะสมตอ่ การใชง้ าน ที่แปลกใหม่ ผสานและดัดแปลง ไม่มีความคดิ จรงิ จากความคิดเดมิ แปลกใหม่ 4. ความคิดละเอียด ลออ มกี ารคดิ หาวิธกี ารแก้ มีการคิดหาวิธกี าร มกี ารคดิ หาวธิ กี ารแก้ ไมส่ ามารถคิดหา ปญั หาไดม้ ากกวา่ 2 วธิ ี แกป้ ัญหาได้ 2 วธิ ี ปญั หาไดเ้ พยี ง 1 วธิ ี วิธีการแกป้ ัญหา ในเวลาทก่ี ำ�หนด ในเวลาทีก่ �ำ หนด ในเวลาทก่ี �ำ หนด ได้ในเวลาท่ี ก�ำ หนด มกี ารคดิ หาวิธกี าร มกี ารคิดหาวิธี มีการคิดหาวธิ กี าร แก้ปญั หาโดยดดั แปลง การแก้ปัญหาโดย แกป้ ัญหาโดย ไมส่ ามารถคดิ หา สิง่ ทม่ี อี ยู่ หรือน�ำ สิ่งอื่น ดดั แปลงสงิ่ ทมี่ อี ยู่ ดดั แปลงสง่ิ ที่มีอยู่ วธิ กี ารแกป้ ญั หา มาทดแทนสงิ่ ทขี่ าดได้ หรอื น�ำ สง่ิ อ่นื มา หรอื นำ�ส่งิ อ่นื มา โดยดดั แปลง อยา่ งหลากหลาย ทดแทนสง่ิ ท่ขี าดได้ ทดแทนสง่ิ ทข่ี าดได้ สง่ิ ทม่ี อี ยู่ หรอื น�ำ แต่ยงั ไม่เหมาะสม สง่ิ อน่ื มาทดแทน มีการคิดแจกแจง มีการคิดแจกแจง กบั งาน สง่ิ ทข่ี าดได้ รายละเอยี ดของ รายละเอียดของ วธิ กี ารแกป้ ัญหาหรือ วิธีการแก้ปญั หา มกี ารคดิ แจกแจง ไมม่ กี ารคิด ขยายความคดิ ได้ หรือขยายความคิด รายละเอยี ดของวธิ ี แจกแจง อยา่ งครบถ้วน และมี ได้อยา่ งสมบูรณ์ การแกป้ ญั หาหรอื รายละเอยี ดของ รายละเอยี ดท่สี มบูรณ์ ขยายความคดิ แต่ วธิ กี ารแกป้ ญั หา ขาดความชดั เจน หรือขยายความ และสมบรู ณ์ คดิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

68 ประเดน็ การ 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรงุ ) ประเมนิ 3 (ด)ี 2 (พอใช้) การคิดวเิ คราะห์ แจกแจงองคป์ ระกอบ แจกแจงองคป์ ระกอบ แจกแจงองคป์ ระกอบ แจกแจง - แจกแจงองคป์ ระกอบ และอธิบายความ และอธบิ ายความ และสามารถอธบิ าย องค์ประกอบแต่ - อธิบายความสมั พนั ธ์ สมั พนั ธเ์ ชิงเหตผุ ล สัมพนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล ความสัมพนั ธ์เชิง ไม่สามารถอธบิ าย เชิงเหตุผล ระหวา่ งองค์ประกอบ ระหวา่ งองคป์ ระกอบ เหตุผลระหวา่ ง ความสมั พนั ธเ์ ชงิ เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจสาเหตุได้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจสาเหตไุ ด้ องค์ประกอบได้ เหตผุ ลระหว่าง การคิดอยา่ งมี อย่างถูกต้อง แตไ่ มช่ ัดเจน ไม่เหมาะสม องค์ประกอบได้ วจิ ารณญาณ - วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ วิเคราะห์และประเมิน วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ วเิ คราะห์และ - ลงข้อสรุป สถานการณ์ ดว้ ยหลกั ฐาน สถานการณ์ ดว้ ย สถานการณ์ ดว้ ย ประเมนิ ที่หลากหลาย แลว้ ลง หลักฐาน แล้วลง หลกั ฐาน แลว้ ลง สถานการณ์ การคิดเชงิ ระบบ ข้อสรปุ ไดอ้ ย่างสมเหตุ ข้อสรปุ ไดอ้ ยา่ ง ข้อสรปุ ไดไ้ ม่ แตไ่ ม่มีหลักฐาน - จำ�แนกองคป์ ระกอบ สมผล สมเหตสุ มผล สมเหตุสมผล ในการลงข้อสรุป - เชอื่ มโยงความ จ�ำ แนกองค์ประกอบ จำ�แนกองค์ประกอบ จำ�แนกองค์ประกอบ จำ�แนกองค์ สมั พันธ์ และเชอ่ื มโยงความ และเชอื่ มโยงความ ได้ แตเ่ ชื่อมโยงความ ประกอบ แต่ไม่ สมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบ สัมพนั ธข์ ององค์ สัมพนั ธข์ ององค์ สามารถเชื่อมโยง การสอื่ สาร ตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวเนอื่ งกนั ประกอบต่าง ๆ ท่ี ประกอบตา่ ง ๆ ที่ ความสัมพนั ธ์ของ - การนำ�เสนอ อย่างเปน็ ระบบได้ เกีย่ วเนอื่ งกันอย่าง เกย่ี วเนอ่ื งกนั อยา่ งเปน็ องคป์ ระกอบ - การอภปิ ราย ครบถว้ น และถูกต้อง เป็นระบบได้ครบ ระบบได้ไม่ชัดเจน ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี ว - การตอบค�ำ ถาม แตข่ าดรายละเอยี ด เนอ่ื งกนั ได้ นำ�เสนอ อภปิ ราย และ บางส่วน น�ำ เสนอ อภปิ รายและ การท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ตอบค�ำ ถามได้เข้าใจง่าย ตอบค�ำ ถามได้ แตม่ ี น�ำ เสนอ อภปิ ราย - มสี ว่ นรว่ ม และมีวิธีการที่น่าสนใจ น�ำ เสนอ อภิปราย วิธกี ารไมเ่ หมาะสม และตอบคำ�ถาม - รบั ฟังความคิดเห็น เหมาะสมกับลักษณะ และตอบคำ�ถามได้ กบั ลกั ษณะขอ้ มูล ได้ไมเ่ หมาะสมกบั ข้อมลู เข้าใจ เหมาะสมกบั ลักษณะข้อมูล ลักษณะขอ้ มลู มสี ว่ นรว่ มในการท�ำ งาน และรับฟังความคิดเหน็ มีสว่ นรว่ มในการ มสี ว่ นร่วมในการ ไมม่ ีส่วนรว่ มใน ของผ้อู ืน่ อย่างต้ังใจ ท�ำ งานและรบั ฟัง ท�ำ งาน แตไ่ ม่รบั ฟัง การท�ำ งานและ ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ความคิดเหน็ ของผอู้ นื่ ไมร่ บั ฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ ื่น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

69 ตวั อย่างเครอื่ งมือการประเมินในวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ตวั อยา่ งแบบสังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานเป็นกลุม่ คำ�ช้ีแจง การมีสว่ นรว่ มในการท�ำ งาน แบ่งเปน็ 4 ระดบั ดังนี้ ระดบั คะแนน 4 หมายถึง สมาชิกมากกวา่ ร้อยละ 79 มีส่วนร่วมในการท�ำ งานตามบทบาทหนา้ ท่ี ระดับคะแนน 3 หมายถึง สมาชิกรอ้ ยละ 60 - 79 มีสว่ นร่วมในการท�ำ งานตามบทบาทหน้าที่ ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ สมาชกิ รอ้ ยละ 40 - 59 มสี ว่ นร่วมในการทำ�งานตามบทบาทหนา้ ที่ ระดับคะแนน 1 หมายถึง สมาชิกน้อยกวา่ ร้อยละ 40 มีสว่ นร่วมในการท�ำ งานตามบทบาทหน้าท่ี กลมุ่ ที่ กลุ่มท่ี 43 21 สถานภาพของผปู้ ระเมิน ตนเอง เพ่ือน ครู เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 4 คะแนน 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดมี าก คะแนน 2 คะแนน 1 หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดี หมายถึง ระดบั คุณภาพ พอใช้ หมายถึง ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

70 ตัวอยา่ งแบบมาตรประมาณคา่ การตรวจผลงานการเลอื กวธิ ีการสรา้ งช้นิ งาน ค�ำ ช้ีแจง การเลอื กวิธกี ารสรา้ งชน้ิ งานเพื่อแกป้ ญั หาหรือสนองความต้องการจากสถานการณท์ ก่ี �ำ หนด แบ่งเป็น 4 ระดับ ดงั น้ี ระดบั คะแนน 4 หมายถงึ เลือกวธิ ีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการสอดคล้องกับปัญหา หรอื ความต้องการ โดยค�ำ นึงถงึ ทรพั ยากรและขอ้ จ�ำ กดั ท่มี อี ยู่อย่างเหมาะสม ระดบั คะแนน 3 หมายถึง เลอื กวธิ ีการแก้ปญั หาหรือสนองความต้องการสอดคล้องกบั ปญั หา หรอื ความตอ้ งการได้ โดยพจิ ารณาทรพั ยากรแต่ไม่ค�ำ นึงถึงขอ้ จำ�กดั ท่ีมี ระดบั คะแนน 2 หมายถึง เลอื กวธิ ีการแกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการสอดคลอ้ งกับปญั หา หรอื ความตอ้ งการโดยไมไ่ ด้พิจารณาทรัพยากรและขอ้ จ�ำ กดั ท่ีมี ระดับคะแนน 1 หมายถึง เลือกวิธกี ารแก้ปญั หาหรอื สนองความต้องการไมส่ อดคลอ้ งกบั ปัญหาหรือความตอ้ งการ กลุ่มท่ี กลมุ่ ที่ 43 21 สถานภาพของผูป้ ระเมนิ ตนเอง เพ่อื น ครู เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 คะแนน 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 2 คะแนน 1 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ดี หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

71 ตวั อย่างแบบสังเกตพฤติกรรม การใช้เครอ่ื งมอื ในการสร้างชิ้นงาน ชื่อ-สกลุ .............................................................................. เลขท.่ี ............... ห้อง ............... ค�ำ ชแ้ี จง ใหท้ �ำ เครอื่ งหมาย  ลงใน ที่ตรงกบั พฤตกิ รรมนกั เรียน ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ 1. เลือกเครอ่ื งมอื เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน 2. ใช้เคร่ืองมืออย่างถกู วธิ ี 3. ใชเ้ คร่อื งมือไดอ้ ย่างปลอดภัย 4. ท�ำ ความสะอาดเครือ่ งมือหลังการใชง้ าน 5. จัดเก็บเครือ่ งมือท่ีถกู วธิ ีหลงั การใช้งาน สถานภาพของผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน พ่อแม/่ ผ้ปู กครอง ครู เกณฑ์การประเมนิ แสดงพฤตกิ รรม แสดงพฤตกิ รรม 5 ดา้ น หมายถึง ดีมาก แสดงพฤติกรรม แสดงพฤติกรรม 3-4 ดา้ น หมายถึง ดี สรุปผลการประเมิน ผ่าน ไมผ่ ่าน 1-2 ด้าน หมายถงึ พอใช้ 0 ดา้ น หมายถึง ปรบั ปรุง มพี ฤตกิ รรม 3-5 ดา้ น มพี ฤติกรรม 0-2 ดา้ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผ้จู ัดท�ำ คณะที่ปรกึ ษา ผู้อำ�นวยการ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลมิ ปิจ�ำ นงค ์ ผ้ชู ่วยผูอ้ ำ�นวยการ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.วนิดา ธนประโยชนศ์ ักดิ์ ผู้อำ�นวยการส�ำ นักวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.ศรเทพ วรรณรตั น์ ผชู้ �ำ นาญ สาขาเทคโนโลยี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้จัดทำ�คู่มือครู นักวชิ าการอาวุโส สาขาเทคโนโลยี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายบุญวทิ ย์ รตั นทพิ ยาภรณ์ นกั วิชาการ สาขาเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสทุ ธิดา เชอื่ มกลาง ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านหนองหญ้าววั จ.บุรีรัมย์ ดร.นศุ วดี พจนานุกิจ ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรยี นเบญ็ จะมะมหาราช จ.อบุ ลราชธานี นายกฤษขจร  ศรถี าวร ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นท่าบ่อ จ.ชยั ภมู ิ นายพิรยิ ะ ทองเหลือง ช�ำ นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นโสกปลาดุก จ.ชยั ภมู ิ นางมณเฑียร คละเครือ นางวิรยิ ะสมร บัวทอง

คณะผ้พู จิ ารณาคมู่ ือครู นางสาวนารี วงศ์สโิ รจน์กลุ ผ้เู ช่ียวชาญพเิ ศษ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รวิวรรณ เทนอสิ สระ ผู้เชย่ี วชาญพิเศษ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศเิ ทพ ปิตพิ รเทพนิ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ นายกมลเทพ ชังช ู ผู้อำ�นวยการโรงเรียน โรงเรยี นปราโมชวิทยารามอินทรา กรุงเทพมหานคร นางสาวสุขสวัสดิ์ ปรียาโชติ ผจู้ ัดการโรงเรยี น โรงเรยี นปรียาโชติ จ.นครสวรรค์ นายกฤษขจร  ศรถี าวร ครชู ำ�นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านหนองหญา้ ววั จ.บรุ รี ัมย์ นายพริ ยิ ะ ทองเหลือง ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ กล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรยี นเบ็ญจะมะมหาราช จ.อบุ ลราชธานี นางรงุ่ อรณุ คีรีสตั ยกุล ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรยี นไตรประชาวิทยา จ.นา่ น นางวิริยะสมร บัวทอง ครชู ำ�นาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นโสกปลาดุก จ.ชัยภมู ิ นางสาวอรสิ รา ชดั เจน ครชู �ำ นาญการ โรงเรียนอนบุ าลนาคสมทุ รเดชอดุ ม จ.อบุ ลราชธานี คณะบรรณาธกิ าร ดร.เขมวดี พงศานนท์ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายบริหารเครอื ข่ายและพฒั นาครู สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวนารี วงศส์ ิโรจน์กลุ ผเู้ ชี่ยวชาญพเิ ศษ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รวิวรรณ เทนอสิ สระ ผู้เช่ียวชาญพิเศษ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี