Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้หลักการนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

ความรู้หลักการนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

Published by potetostikkyss2, 2021-02-06 16:27:13

Description: ความรู้หลักการนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

Search

Read the Text Version

ความหมายของเทคโนโลยกี ารศึกษา เทคโนโลยกี ารศึกษา หมายถึง การนาเอาหลกั แนวคิด วธิ ีการต่าง ๆ ท่ีต้งั อยบู่ นพ้นื ฐานทาง วิทยาศาสตร์ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หก้ บั กระบวนการการจดั การศึกษา ขอบขา่ ยของเทคโนโลยกี ารศึกษา 1.การออกแบบ คือ การนาเอาความรู้ท่ีมีอยมู่ าวางแผน 2.การพฒั นา คือ การเปล่ียนแปลงและแกไ้ ขการออกแบบเผอื่ ใหด้ ีข้ึน 3.การใช้ คือ การนาเอากระบวนการผลิต และออกแบบมาใชจ้ ริง 4.การจดั การ คือ การวางแผน ควบคุมใหเ้ ป็นไปตามแบบแผน 5.การประเมิน คือ การหาผลสรุปจากส่ิงที่เราสร้างข้ึน เพ่ือนามาปรับปรุงและแกไ้ ขในการ ทางานคร้ังตอ่ ไป

องค์ประกอบของเทคโนโลยที างการศึกษา 1. บุคลากร เป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั มากเพราะบุคลากรเป็นผทู้ ่ีดาเนินงานในกระบวนการเทคโนโลยี การศึกษาท้งั หมด 2. การเรียนรู้ 2.1 วสั ดุ คือ อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือที่นามาเป็นองคป์ ระกอบในกระบวนการสืบคน้ 2.2 เคร่ืองกลไก คือ กระบวนการในการทางาน การสืบคน้ หาขอ้ มูลในการเรียนรู้ตามข้นั ที่ไดม้ ีการ วางแผน 2.3 เทคนิค คือ ในการเรียนรู้ การทางานตามกระบวนการต่าง ๆ ตอ้ งมีเทคนิคในการทางาน 2.4 อาคารสถานท่ี คือ องคป์ ระกอบหน่ึงที่ขาดไม่ไดข้ องเทคโนโลยที างการศึกษา 2.5 เน้ือหาวชิ า คือ ผเู้ รียนตอ้ งมีความเขา้ ใจในเน้ือหา

3.การพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ คือ การปรับปรุงหรือการเปลี่ยนแปลงแหลง่ การเรียนรู้ใหด้ ีข้ึน และมี ประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึนกวา่ เดิม 3.1 การวจิ ยั คือ การคน้ ควา้ หาขอ้ มูล กระบวนการในการศึกษาอยา่ งมีหลกั การ เพื่อใหไ้ ดค้ วามรู้เป็นจริง 3.2 การออกแบบ คือ การคิดคน้ 3.3 การผลิต คือ การคิด สร้างสรรค์ ผลงาน 3.4 การประเมิน คือ การหาขอ้ สรุป 3.5 การใหค้ วามช่วยเหลือ คือ การช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆ 3.6 การใช้ คือ การนาเอากระบวนการ การผลิต และการพฒั นา 4.การจดั การ คือ การวางแผน ควบคุม จดั การสื่อใหเ้ ป็นแบบแผน วธิ ีการ กระบวนการนาเทคโนโลยี ทางการศึกษา

เทคโนโลยที างการศึกษากบั การจดั การศึกษา ช่วยทาใหร้ ะบบการจดั การศึกษาเก่ียวกบั เรื่องการเรียนการสอนดีมากยงิ่ ข้ึน ประโยชน์ของเทคโนโลยที างการศึกษา เช่น ทาใหก้ ารเรียนการสอนจดั การศึกษามีความหมาย 1.สามารถสอนเร่ืองความแตกตา่ งแตล่ ะบุคคลได้ 2.สามารถทาใหก้ ารจดั การศึกษาต้งั อยบู่ นรากฐานของวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ 3.ช่วยใหก้ ารศึกษามีพลงั มหาชน 4.สามารถทาใหก้ ารเรียนรู้อยแู่ ค่เอ้ือม 5.ทาใหเ้ กิดความเสมอภาคทางการศึกษา 6.นวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา

นวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา หมายถึง การนาเอาความกา้ วหนา้ ของวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ท้งั วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองจกั รกลไก มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประสิทธิภาพในการศึกษา นวตั กรรมการศึกษา คือ แนวคิดใหม่ ๆ เกี่ยวกบั การศึกษา ความสัมพนั ธ์ระหว่างนวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา นวตั กรรม คือ จุดเร่ิมตน้ ของเทคโนโลยี เพราะนวตั กรรม หมายถึง ส่ิงใหม่ ๆ ท่ีต้งั อยใู่ นระหวา่ ง การศึกษา วจิ ยั ท่ียงั ไม่ไดน้ าเขา้ มาใชใ้ นระบบอยา่ งจริงจงั และเทคโนโลยี คือ เคร่ืองมือ วสั ดุตา่ ง ๆ ท่ีนามา พฒั นางานใหม้ ีประสิทธิภาพ

เป้าหมายของนวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา 1.การขยายพิสยั ของทรัพยากรของการเรียนรู้ 1.1 คน 1.2 วสั ดุและเคร่ืองมือ 1.3 เทคนิคและวธิ ีการ 1.4 สถานที่ 2. การเนน้ การเรียนรู้แบบเอกตั บุคคล 3. การใชว้ ิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา 4. พฒั นาเครื่องมือ - วสั ดุอุปกรณ์ทางการศึกษา

แนวคดิ พืน้ ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา 1.ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 2.ความพร้อม 3.การใชเ้ วลาเพอ่ื การศึกษา 4.ประสิทธิภาพในการเรียน ประโยชน์ของนวตั กรรมของเทคโนโลยี 1.ช่วยใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ไดเ้ ร็วข้ึน 2.ช่วยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจบทเรียนเป็นรูปธรรม 3.ช่วยใหบ้ รรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน 4.ช่วยใหบ้ ทเรียนน่าสนใจ 5.ช่วยลดเวลาในการสอน 6.ช่วยประหยดั ค่าใช่จ่าย



ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยกี บั นวตั กรรม คาวา่ นวตั กรรม เป็นคาที่ใชค้ วบคู่กบั เทคโนโลยี เสมอๆ ในภาษาองั กฤษใชค้ าวา่ Innotech ความ จริงแลว้ นวตั กรรมและเทคโนโลยนี ้นั มีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งใกลช้ ิดเน่ืองจากนวตั กรรมเป็นเรื่องของการคิดคน้ หรือการกระทาใหม่ ๆเพ่ือใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในทางที่ดีข้ึนซ่ึงอาจจะอยใู่ นข้นั ของการเสนอความคิดหรือ ในข้นั ของการทดลองอยกู่ ไ็ ด้ ยงั ไม่เป็นที่คุน้ เคยของสงั คม ส่วนเทคโนโลยนี ้นั มุ่งไปท่ีการนาส่ิงต่าง ๆรวมท้งั วธิ ีการเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การทางาน หรือแกป้ ัญหาใหม้ ีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ถา้ หากพิจารณาวา่ นวตั กรรม หรือส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหม่น้ีน่าจะนามาใช้ การนาเอานวตั กรรมเขา้ มาใชน้ ้ี กจ็ ดั ไดว้ า่ เป็นเทคโนโลยดี ว้ ย และในการ ใชเ้ ทคโนโลยนี ้ีถา้ เราทาใหเ้ กิดวธิ ีการหรือส่ิงใหม่ ๆ ข้ึน ส่ิงน้นั กเ็ รียกวา่ เป็นนวตั กรรม เราจึงมกั เห็นคา นวตั กรรมและเทคโนโลยี อยคู่ วบคู่กนั เสมอ



ขอบข่ายของเทคโนโลยกี ารศึกษา เทคโนโลยกี ารศึกษา มี 5 ขอบขา่ ย ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 1.การออกแบบ Design 2.การพฒั นา Development 3.การใช้ Utilization 4.การจดั การ Management 5.การประเมิน Evaluation

1.การออกแบบ การออกแบบ (Design) คือ กระบวนการในการกาหนดสภาพของการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ 1.1 การออกแบบระบบการสอน (Instructional systems design) 1.2 ออกแบบสาร (message design) คือ การวางแผน เปลี่ยนแปลงสารเนน้ ทฤษฎีการเรียนท่ีประยกุ ต์ ความรู้บนพ้ืนฐานของความสนใจ การรับรู้ ความจา การออกแบบสารมีจุดประสงคเ์ พอื่ การสื่อความหมายกบั ผเู้ รียน 1.3 กลยทุ ธ์การสอน (instructional strategies) เนน้ ที่การเลือก ลาดบั เหตุการณ์ และกิจกรรมในบทเรียน ในทางปฏิบตั ิกลยทุ ธ์การสอนมีความสมั พนั ธ์กบั สถานการณ์การเรียน ผลของปฏิสัมพนั ธ์น้ีสามารถอธิบายได้ โดยโมเดลการสอน การเลือกยทุ ธศาสตร์การสอนและโมเดลการสอนตอ้ งข้ึนอยกู่ บั สถานการณ์การเรียน รวมถึงลกั ษณะผเู้ รียน ธรรมชาติของเน้ือหาวชิ า และจุดประสงคข์ องผเู้ รียน 1.4 ลกั ษณะผเู้ รียน (learner characteristics) คือ ลกั ษณะและประสบการณ์เดิมของผเู้ รียนที่จะมีผลต่อ กระบวนการเรียนการสอน การเลือก และการใชย้ ทุ ธศาสตร์การสอน

2. การพฒั นา การพฒั นา (Development) คือ กระบวนการเปลี่ยนการออกแบบ 2.1 เทคโนโลยสี ิ่งพมิ พ์ (print technologies) เป็นการผลิต หรือส่งสาร ส่ือดา้ นวสั ดุ เช่น หนงั สือ โสตทศั นวสั ดุ พ้นื ฐานประเภทภาพน่ิง ภาพถ่าย รวมถึงสื่อขอ้ ความ กราฟิ ก วสั ดุภาพสิ่งพิมพ์ ทศั นวสั ดุ ส่ิงเหล่าน้ีเป็นพ้นื ฐานของ การพฒั นา การใชส้ ่ือวสั ดุการสอนอ่ืนๆ ตวั อยา่ ง หนงั สือพมิ พ์ วารสาร แมกกาซีน 2.2 เทคโนโลยโี สตทศั นูปกรณ์ (audiovisual technologies) เป็นวธิ ีการในการจดั หา หรือส่งถ่ายสาร โดยใช้ เครื่องมืออุปกรณ์ หรือเครื่องมืออิเลก็ ทรอนิกส์เพื่อนาเสนอสารต่างๆ ดว้ ยเสียง และภาพ โสตทศั นูปกรณ์จะช่วย แสดงส่ิงที่เป็นธรรมชาติจริง ความคิดที่เป็นนามธรรม เพอ่ื ผสู้ อนนาไปใชใ้ หม้ ีปฏิสมั พนั ธก์ บั ผเู้ รียน ตวั อยา่ ง อปุ กรณ์โสตฯ โปรเจคเตอร์, เครื่องเสียง, ไมโครโฟน, ลาโพง, กลอ้ งวีดีโอ, กลอ้ งดิจิตอล, เครื่องฉายขา้ มศีรษะ 2.3 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (computer – based technologies) เป็ นวธิ ีการในการจดั หา หรือส่งถ่ายสารโดย การใชไ้ มโครโพรเซสเซอร์ เพ่อื รับและส่งขอ้ มูลแบบดิจิตอล ประกอบดว้ ย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ จดั การสอน โทรคมนาคม การส่ือสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ การเขา้ ถึงและใชแ้ หล่งขอ้ มูลในเครือข่าย 2.4 เทคโนโลยบี ูรณาการ (integrated technologies) เป็นวธิ ีการในการจดั หา หรือส่งถ่ายขอ้ มูลกบั ส่ือหลาย ๆ รูปแบบภายใตก้ ารควบคุมของคอมพวิ เตอร์

3.การใช้ การใช้ (Utilization) คือ ใชก้ ระบวนการ และแหลง่ ทรัพยากรเพอ่ื การเรียนการสอน 3.1 การใชส้ ื่อ (Media Utilization) เป็นระบบของการใชส้ ื่อ แหล่งทรัพยากรเพ่อื การเรียน โดยใช้ กระบวนการตามท่ีผา่ นการออกแบบการสอน 3.2 การแพร่กระจายนวตั กรรม (Diffusion of innovation) เป็ นกระบวนการส่ือความหมาย รวมถึงการวาง ยทุ ธศาสตร์ หรือจุดประสงคใ์ หเ้ กิดการยอมรับนวตั กรรม 3.3 วธิ ีการนาไปใช้ และการจดั การ (Implementation and Institutionalization) เป็ นการใชส้ ่ือการสอน หรือยทุ ธศาสตร์ในสถานการณ์จริงอยา่ งต่อเน่ืองและใชน้ วตั กรรมการศึกษาเป็นประจาในองคก์ าร 3.4 นโยบาย หลกั การและกฎระเบียบขอ้ บงั คบั (policies and regulation) เป็นกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของ สังคมที่ส่งผลตอ่ การแพร่กระจาย และการใชเ้ ทคโนโลยกี ารศึกษา

4.การจดั การ การจัดการ (Management) คือ ควบคุมกระบวนการทางเทคโนโลยกี ารศึกษา ตลอดจนการวางแผน จดั การ การประสานงาน และใหค้ าแนะนา 4.1 การจดั การโครงการ (Project Management) เป็ นการวางแผน กากบั ควบคุม การออกแบบ และพฒั นา โครงการ 4.2 การจดั การแหลง่ ทรัพยากร (Resource Management) เป็ นการวางแผน กากบั ควบคุมแหล่งทรัพยากร ที่ ช่วยระบบและการบริการ 4.3 การจดั การระบบส่งถา่ ย (Delivery System Management) เป็ นการวางแผน กากบั ควบคุมวธิ ีการซ่ึง แพร่กระจายสื่อการสอนในองคก์ าร รวมถึงส่ือ และวธิ ีการใชท้ ี่จะนาเสนอสารไปยงั ผเู้ รียน 4.4 การจดั การสารสนเทศ (Information Management) เป็ นการวางแผน กากบั ควบคุม การเกบ็ การส่งถา่ ย หรือกระบวนการของขอ้ มูลสารเพ่ือสนบั สนุนแหล่งทรัพยากรการเรียน

5.การประเมิน การประเมนิ (Evaluation) คือ การหาขอ้ มลู เพ่ือกาหนดความเหมาะสมของการเรยี นการสอน 5.1 การวเิ คราะหป์ ัญหา (Problem Analysis) เป็นการทาใหป้ ัญหาสนิ้ สดุ โดยการใชข้ อ้ มลู ตา่ งๆ แล วิธีการท่ีจะชว่ ยตดั สนิ ใจ 5.2 เกณฑก์ ารประเมิน (Criterion – Reference Management) เทคนิคการใชเ้ กณฑเ์ พ่ือการประเมนิ การ สอน หรอื ประเมินโครงการเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา 5.3 การประเมนิ ความกา้ วหนา้ (Formative Evaluation) มีการใชข้ อ้ มลู อย่างเหมาะสมจากการประเมนิ ความกา้ วหนา้ เพ่ือเป็นฐานในการพฒั นาต่อไป 5.4 การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) มีการใชข้ อ้ มลู อยา่ งเหมาะสมท่ีจะตดั สินใจกบั การ ดาเนินงานโปรแกรม หรอื โครงการต่อไป



การจดั ประเภทของเทคโนโลยกี ารศึกษา การจดั ประเภทของเทคโนโลยกี ารศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. เครื่องมืออุปกรณ์การสอนต่าง ๆ (Devices หรือ Hardware) เป็นการนาอุปกรณ์มาใชใ้ นการศึกษา 2. วสั ดุ (Materials หรือ Solfware) เป็ นการผลิตวสั ดุการสอนแนวใหม่ การนาเอาวสั ดุการสอนมา ใชต้ ลอดจนการผลิตบทเรียนสาเร็จรูปในแบบต่าง 3. วิธีการและเทคนิค (Methods and Techniques) ไดแ้ ก่ กระบวนการ กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีประยกุ ตม์ า ใชใ้ นการศึกษา การนาเทคโนโลยที างการศึกษามาใชใ้ นการจดั การศึกษาน้นั จะยดึ หลกั การทวั่ ไปเหมือนการ นาเทคโนโลยไี ปใชใ้ นสาขาวชิ าการอ่ืน ๆ

ประโยชน์ของเทคโนโลยกี ารศึกษา • ประโยชนส์ าหรับผเู้ รียน ผเู้ รียนจะไดร้ ับประโยชน์ดงั น้ี 1. ทาใหผ้ เู้ รียนมีโอกาสใชค้ วามสามารถของตนเองในการเรียนรู้อยา่ งเตม็ ที่ 2. ผเู้ รียนมีโอกาสตดั สินใจในการเลือกเรียนตามช่องทางที่เหมาะกบั ความสามารถของตนเอง 3. ทาใหก้ ระบวนการเรียนรู้ง่ายข้ึน 4. ผเู้ รียนมีอิสระในการเลือก 5. ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ 6. ทาใหก้ ารเรียนมีประสิทธิภาพมากข้ึน 7. ลดเวลาในการเรียนรู้และผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ไดม้ ากกวา่ เดิมในเวลาเท่ากนั 8. ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรู้ไดท้ ้งั ในแนวกวา้ งและแนวลึก 9. ช่วยใหผ้ เู้ รียนรู้จกั เสาะหาแหล่งการเรียนรู้ 10.ฝึกใหผ้ เู้ รียน คิดเป็นและสามารถแกป้ ัญหาดว้ ยตนเองได้

• ประโยชนส์ าหรับผสู้ อน ผสู้ อนจะไดป้ ระโยชน์ดงั น้ี 1. ทาใหป้ ระสิทธิภาพของการสอนสูงข้ึน 2. ผสู้ อนสามารถจดั กิจกรรมไดห้ ลากหลาย 3. ทาใหผ้ สู้ อนมีเวลามากข้ึน จึงใชเ้ วลาที่เหลือในการเตรียมการสอนไดเ้ ตม็ ท่ี 4. ทาใหก้ ระบวนการสอนง่ายข้ึน 5. ลดเวลาในการสอนนอ้ ยลง 6. สามารถเพ่มิ เน้ือหาและจุดมุ่งหมายในการสอนมากข้ึน 7. ผสู้ อนไม่ตอ้ งใชเ้ วลาสอนท้งั หมดอยใู่ นช้นั เรียนเพราะบทบาทส่วนหน่ึงผเู้ รียนทาเอง 8. ผสู้ อนสามารถแกป้ ัญหาความไม่ถนดั ของตนเองได้ 9. ผสู้ อนสามารถสอนผเู้ รียนไดเ้ น้ือหาที่กวา้ งและลึกซ้ึงกวา่ เดิม 10. ง่ายในการประเมิน เพราะการใชเ้ ทคโนโลยี มุ่งใหผ้ เู้ รียนประเมินตนเองดว้ ย

• ประโยชนต์ ่อการจดั การศึกษา ในแง่ของการจดั การศึกษาจะไดร้ ับประโยชน์ดงั น้ี 1. สามารถเปิ ดโอกาสของการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง 2. ทาใหล้ ดช่องวา่ งทางการศึกษาใหน้ อ้ ยลง 3. สามารถสร้างผเู้ รียนที่มีประสิทธิภาพมากกวา่ เดิม 4. ทาใหก้ ารจดั การและการบริหารเป็นระบบมากข้ึน 5. ทาใหล้ ดการใชง้ บประมาณและสามารถใชง้ บประมาณที่มีอยใู่ หค้ ุม้ ค่า 6. สามารถแกป้ ัญหาทางการศึกษาไดห้ ลายประการ

ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา • นวตั กรรมทางการศึกษา Educational Innovation เป็นคาศพั ทเ์ ทคโนโลยกี ารศึกษาซ่ึงนกั การศึกษาไดใ้ ชค้ าศพั ท์ บญั ญตั ิวชิ าการ 2 ลกั ษณะ คือ นวตั กรรมการศึกษา และนวตั กรรมทางการศึกษา ในบทเรียนน้ี ใชค้ าวา่ นวตั กรรมทางการศึกษาดว้ ยเหตุวา่ เป็นคาที่สื่อความหมายไดอ้ ยา่ งชดั เจนและไดร้ ับความนิยมใชใ้ นปัจจุบนั • ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา นวตั กรรมทางการศึกษา หมายถึง การนาแนวคิด วธิ ีการปฏิบตั ิ หรือสิ่งประดิษฐท์ ี่ไดร้ ับการพฒั นา ปรับปรุงหรือดดั แปลงใหม้ ีความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั การนามาใชใ้ นการจดั การศึกษา โดยมี วตั ถุประสงค์ เพื่อแกไ้ ขปัญหา เพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อใหเ้ กิดความสาเร็จสูงสุดแก่ ผเู้ รียน อญั ชลี โพธ์ิทอง และอปั ษรศรี ปลอดเปลี่ยว (2542 : 9), อรนุช ลิมตศิริ (2543 : 3)



ประเภทของนวตั กรรมทางการศึกษา นวตั กรรมท่ีนามาใชท้ ้งั ที่ผา่ นมาแลว้ และท่ีจะมีในอนาคตมีหลายประเภทข้ึนอยกู่ บั การประยกุ ตใ์ ช้ นวตั กรรมในดา้ นต่างๆ ซ่ึงจะขอแนะนานวตั กรรมการศึกษา 5 ประเภทดงั น้ี 1. นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร เป็นการใชว้ ธิ ีการใหม่ๆในการพฒั นาหลกั สูตรใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่น และตอบสนองความตอ้ งการสอนบุคคลใหม้ ากข้ึน เนื่องจากหลกั สูตรจะตอ้ งมีการ เปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ และของโลก นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตรไดแ้ ก่ การพฒั นาหลกั สูตรบูรณาการ หลกั สูตรรายบุคคล หลกั สูตร กิจกรรมและประสบการณ์ และหลกั สูตรทอ้ งถิ่น 2. นวตั กรรมการเรียนการสอน เป็นการใชว้ ิธีระบบในการปรับปรุงและคิดคน้ พฒั นาวธิ ีสอนแบบ ใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง การเรียนแบบมีส่วน ร่วม การเรียนรู้แบบแกป้ ัญหา การพฒั นาวธิ ีสอนจาเป็นตอ้ งอาศยั วธิ ีการและเทคโนโลยใี หม่ๆ เขา้ มาจดั การ และสนบั สนุนการเรียนการสอน

3. นวตั กรรมสื่อการสอน เนื่องจากมีความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ เครือข่ายและเทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทาใหน้ กั การศึกษาพยายามนาศกั ยภาพของเทคโนโลยเี หล่าน้ีมาใชใ้ น การผลิตส่ือการเรียนการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ท้งั การเรียนดว้ ยตนเอง การเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียน แบบมวลชน ตลอดจนสื่อท่ีใชเ้ พ่อื สนบั สนุนการฝึ กอบรมผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมที่ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือเพือ่ การวดั ผลและประเมินผล ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และทาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว รวมไปถึงการวจิ ยั ทางการศึกษา การวจิ ยั สถาบนั ดว้ ยการ ประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์มาสนบั สนุนการวดั ผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ 5. นวตั กรรมการบริหารจัดการ เป็นการใชน้ วตั กรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การใชส้ ารสนเทศมาช่วยในการ บริหารจดั การ เพอื่ การตดั สินใจของผบู้ ริหารการศึกษา ใหม้ ีความรวดเร็วทนั เหตุการณ์ ทนั ตอ่ การ เปล่ียนแปลงของโลก นวตั กรรมการศึกษาที่นามาใชท้ างดา้ นการบริหารจะเกี่ยวขอ้ งกบั ระบบการจดั การ ฐานขอ้ มูลในหน่วยงานสถานศึกษา



หลกั ในการพจิ ารณาการเป็ นนวตั กรรม 1.การคดั เลือกส่ิงท่ีนามาเป็นนวตั กรรมกจ็ ะตอ้ งเป็นส่ิงท่ีมีจุดเด่นและสามารถทางานน้นั ๆไดด้ ีกวา่ สิ่งเดิม 2.จะตอ้ งมีการคดั เลือกวา่ สิ่งท่ีจะนามาใชเ้ ป็นนวตั กรรมน้นั มีความเหมาะสมกบั ระบบการใชง้ านน้นั ๆหรือไม่ 3.ในการท่ีจะนาอะไรสกั อยา่ งมาทาเป็นนวตั กรรมน้นั จะตอ้ งมีการพสิ ูจน์จากงานวจิ ยั วา่ นวตั กรรมน้นั สามารถที่ จะใชไ้ ดผ้ ลจริงและไดผ้ ลท่ีดีกวา่ ของเดิมอยา่ งแน่นอน 4.จะตอ้ งมีการพิจารณาวา่ สิ่งท่ีจะนามาเป็นนวตั กรรมน้นั ตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชร้ ะบบหรือไม่

ลกั ษณะของนวตั กรรม - เป็นส่ิงใหม่ท่ีไม่เคยมีผใู้ ดเคยทามาก่อนเลย - สิ่งใหม่ที่เคยทามาแลว้ ในอดีตแตไ่ ดม้ ีการร้ือฟ้ื นข้ึน มาใหม่ - ส่ิงใหม่ที่มีการพฒั นามาจากของเก่าท่ีมีอยเู่ ดิม

1.นวตั กรรมใหม่อยา่ งสิ้นเชิง หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่งใหม่ที่ใหม่อยา่ งแทจ้ ริง สู่สงั คม โดยการ เปลี่ยนแปลงค่านิยม, ความเช่ือเดิม ตลอดจนระบบคุณคา่ ของสังคม อยา่ งสิ้นเชิง ตวั อยา่ งเช่นอินเตอร์เน็ต จดั วา่ เป็นนวตั กรรมหน่ึงในยคุ โลกขอ้ มูลข่าวสาร การนาเสนอระบบอินเตอร์เน็ต ทาใหค้ า่ นิยมเดิมที่เชื่อวา่ โลก ขอ้ มูลข่าวสารจากดั อยู่ ในวงเฉพาะท้งั ในดา้ นเวลา และ สถานท่ีน้นั เปลี่ยนไป อินเตอร์เน็ตเปิ ดโอกาส ให้ ความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มูลไร้ขีดจากดั ท้งั ในดา้ นของเวลา และระยะทาง การเปล่ียนแปลงในคร้ังน้ี ทาให้ ระบบคุณค่าของขอ้ มูลขา่ วสาร เปล่ียนแปลงไป บางคนเช่ือวา่ อินเตอร์เน็ตจะเขา้ มาแทนที่ระบบการส่งขอ้ มูล ขา่ วสารในระบบเดิม อยา่ งสิ้นเชิงในไม่ชา้ อาทิเช่น ระบบไปรษณีย์

2.นวตั กรรม ที่มีลกั ษณะคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป เป็นขบวนการการคน้ พบ หรือ คิดคน้ สิ่งใหม่โดยการ ประยกุ ต์ ใชแ้ นวคิดใหม่ หรือ ความรู้ใหม่ ท่ีมีลกั ษณะต่อเนื่องไม่สิ้นสุด โดยการประยกุ ตใ์ ช้ แนวคิดใหม่ หรือ ความรู้ใหม่ ของมนุษย์ และการคน้ คน้ เทคนิค หรือ เทคโนโลยใี หม่ นวตั กรรมที่มีลกั ษณะคอ่ ยเป็นค่อยไป จึงมี ลกั ษณะของการสะสมการเรียนรู้ อยใู่ นบริบทของสังคมหน่ึง ในปัจจุบนั สังคมไดเ้ ปล่ียนแปลงไปอยา่ งมาก เพราะผลของขบวนการโลกาภิวตั น์ ทาใหส้ ังคมมีลกั ษณะไร้ขอบเขต เป็นสังคมของชาวโลกท่ีมีความ หลากหลายทางดา้ นสังคมวฒั นธรรมและการเมือง ส่งผลใหน้ วตั กรรม มีแนวโนม้ ท่ีจะเป็น ขบวนการคน้ พบ ใหม่อยา่ งต่อเนื่องในระดบั นานาชาติ มากกวา่ ที่จะเป็นนวตั กรรมใหม่โดยสิ้นเชิง สาหรับสังคมหน่ึงๆ



Road Map การปฏิรูปการศึกษาไทย…ซ่ึงจะตอ้ งเร่ิมจาก จุดมุ่งหมาย, หลกั การ และ วธิ ีการ จดั การศึกษา รวมท้งั จะตอ้ งมีการปฏิรูปใหค้ รบท้งั 5 ดา้ น จึงจะสามารถตอบโจทยก์ ารปฏิรูปการศึกษาไทยใน ศตวรรษท่ี 21 น้ีได.้

จุดเปล่ียนสาคญั อยทู่ ่ี การปฏิรูปการเรียนรู้ (การเรียนการสอน) ซ่ึงจะตอ้ งพฒั นาครูใหป้ รับการเรียนเปล่ียนการสอนแบบ Teach Less, Learn More กล่าวคือ… 1. ใหน้ กั เรียนเรียนรู้จากการทาโครงการ (Project-based Learning) 2.จดั การเรียนการสอนตามความตอ้ งการ (On-demand) 3.จดั การเรียนการสอนใหเ้ หมาะกบั รายบุคคล (Personalized) 4.จดั การเรียนการสอนแบบใหผ้ เู้ รียนทางานร่วมกนั (Collaborative) 5.นาหอ้ งเรียนสู่ชุมชนโลก (Global Community) 6.นาผเู้ รียนใหเ้ รียนรู้ผา่ นเครือข่าย (Web-based) 7.มีการประเมินผเู้ รียนเป็นระยะ : เพ่ือปรับปรุงการเรียนรู้ (Formal Evaluations) 8.ใหค้ วามสาคญั ตอ่ การเรียนรู้เพอื่ ชีวิต (Learning for Life)

5. นาหอ้ งเรียนสู่ชุมชนโลก (Global Community) 6. นาผเู้ รียนใหเ้ รียนรู้ผา่ นเครือข่าย (Web-based) 7. มีการประเมินผเู้ รียนเป็นระยะ : เพือ่ ปรับปรุงการเรียนรู้ (Formal Evaluations) และ 8. ใหค้ วามสาคญั ต่อการเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning for Life)

ทกั ษะศตวรรษท่ี 21 7C) โดยที่พมิ พพ์ นั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยนิ ดีสุข (2557 : 1) เห็นวา่ ทกั ษะศตวรรษท่ี 21 ของ เดก็ ไทย คือ E (4R + E หมายถึง Ethical Person (ผมู้ ีคุณธรรม จริยธรรม) 4R หมายถึง Read (อ่าน), Write (เขียน), Arithmatics (เลข), Resoning (เหตุผล) 7C หมายถึง Creative Problem Solving Skills (ทกั ษะการแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ • Critical Thinking Skills (ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ) • Collaborative Skills (ทกั ษะการท างานอยา่ งร่วมพลงั ) • Communicative Skills (ทกั ษะการส่ือสาร) • Commuting Skills (ทกั ษะการใชค้ อมพิวเตอร์) • Career and life Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะชีวติ ) • Cross- Cultural Skills (ทกั ษะการใชช้ ีวติ ในวฒั นธรรมขา้ มชาติ)



แนวโน้มใน ด้านบวก • การพฒั นาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงกนั ทวั่ โลก ทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงทางสงั คม ช่องทางการดาเนินธุรกิจ เช่น การทาธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ดูหนงั ฟังเพลงและเกมส์ ออนไลน์ • การพฒั นาใหค้ อมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็นภาษา พดู ได้ อ่านตวั อกั ษรหรือลายมือเขียนได้ การแสดงผล ของคอมพิวเตอร์ไดเ้ สมือนจริง เป็นแบบสามมิติ และการรับรู้ดว้ ยประสาทสมั ผสั เสมือนวา่ ไดอ้ ยใู่ นที่น้นั จริง • การพฒั นาระบบสารสนเทศ ฐานขอ้ มูล ฐานความรู้ เพอ่ื พฒั นาระบบผเู้ ช่ียวชาญและการจดั การความรู้ • การศึกษาตามอธั ยาศยั ดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ การคน้ ควา้ หาความรู้ไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมงจากหอ้ งสมุดเสมือน การพฒั นาเครือข่ายโทร คมนาคม ระบบการสื่อสารผา่ นเครือข่ายไร้สาย เครือข่ายดาวเทียม ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ทาใหส้ ามารถคน้ หาตาแหน่งไดอ้ ยา่ งแม่นยา • -การบริหารจดั การภาครัฐสมยั ใหม่ โดยการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและเครือขา่ ยการสื่อสารเพ่อื เพิ่ม ประสิทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐท่ีเรียกวา่ รัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส์

แนวโน้มใน ด้านลบ • ความผดิ พลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ท้งั ส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ ท่ีเกิดข้ึนจากการออกแบบ และพฒั นา ทาใหเ้ กิดความเสียหายต่อระบบและสูญเสียค่าใชจ้ ่ายในการแกป้ ัญหา • การละเมิดลิขสิทธ์ิของทรัพยส์ ินทางปัญญา การทาสาเนาและลอกเลียนแบบ • การก่ออาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ การโจรกรรมขอ้ มูล การล่วงละเมิด การก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์

อ้างองิ • http://chantaradee.blogspot.com/p/blog-page_4.html • https://sites.google.com/site/educationtechnology56/thekhnoloyi-kar- suksa/khwam-samphanth-rahwang-thekhnoloyi-kab-nwatkrrm • https://www.gotoknow.org/posts/441188 • http://kob1991041.blogspot.com/2012/02/blog-post_3262.html • https://elearning.spm38.go.th/course/view.php?id=14&lang=en • https://sites.google.com/site/khunchayyoch/2 • https://sites.google.com/site/nwatkrrmkarsuksa/home/khna-phu-cad-tha • https://www.gotoknow.org/posts/384875 • http://www.peerapanasupon.com/?p=1062

วชิ า การสร้างสื่อและนวตั กรรม เสนอ อาจารย์ สุจิตรา จนั ทร์ลอย จดั ทาโดย นาย ศุภณฐั มหาทรัพย์ 614102033 ปี 3 หมู่2