บทที่ 3โครงสรา้ งเครอื ขา่ ย
โครงสรา้ งเครือขา่ ย3.1 ลกั ษณะการเชื่อมต่อเครือขา่ ย 3.1.1 การเช่อื มตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ (Point to Point) การเชอื่ มโยงเครือข่ายแบบจดุ ต่อจุด(Point-to-Point) คือการเช่อื มต่อระหว่างอปุ กรณ์สองอุปกรณ์ทเ่ี ชอ่ื มโยงเข้าถงึ กันเท่านนั้ โดยช่องทางการสอื่ สารจะถกู จับจองสาหรบั อุปกรณ์สองอปุ กรณ์เพ่อื ใชส้ อื่ สารระหวา่ งกนั อย่างไรกต็ าม หากโหนดคูใ่ ดท่ีไม่มสี ายส่งถึงกนั ก็สามารถส่ือสารผา่ นโหนดที่อยูต่ ดิ กันได้ เพื่อส่งทอดตอ่ ไปเร่อื ยๆ จนถึงโหนดปลายทางทตี่ อ้ งการ
ข้อดขี องการเช่อื มโยงแบบ (Point-to-Point) -สามารถใช้ความเร็วในการสอ่ื สารระหวา่ งกันได้อย่างเตม็ ท่ี จงึ เหมาะสมกับการที่ตอ้ งส่งข้อมูลไดค้ ราวละ มากๆ แบบ ต่อเนื่องกันไป -มีความปลอดภยั ในขอ้ มลู เพราะมีการเช่ือมตอ่ กันระหวา่ ง โหนดสองโหนดเทา่ น้ัน ขอ้ เสีย ของการเชือ่ มโยงแบบ (Point-to-Point) -ไม่เหมาะกบั เครือข่ายที่มขี นาดใหญ่ -หากเครือขา่ ยมจี านวนโหนดเพิ่มมากข้นึ กจ็ ะตอ้ งใชส้ ายในการเชอ่ื มโยงหรือสายในการสื่อสารเพิ่มมากข้ึนด้วย 3.1.2 การเชอ่ื มต่อแบบหลายจุด (Multipoint orMultidrop)
การเชือ่ มโยงเครือขา่ ยแบบหลายจดุ (Multipoint orMultidrop)คือ การเช่ือมโยงเครอื ข่ายท่ใี ชเ้ ส้นทางหรอื ลงิ ก์เพื่อการสื่อสารร่วมกนั หรือกลา่ วงา่ ยๆ คอื อปุ กรณต์ า่ งๆสามารถสอ่ื สารระหวา่ งกันได้ด้วยการใชล้ งิ ก์หรอื สายสื่อสารเพียงเสน้ เดียว ดงั น้ันวธิ กี ารเชอ่ื มโยงชนิดน้ีทาใหป้ ระหยัดสายสง่ ขอ้ มูลกวา่ แบบการเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยแบบจดุ ตอ่ โดยระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์สว่ นใหญแ่ ลว้ ใช้วิธกี ารเช่ือมโยงแบบหลายจุด ขอ้ ดขี องการเช่ือมโยงเครือข่ายแบบหลายจดุ-ประหยดั สายส่งขอ้ มูล-การเพ่มิ เตมิ โหนดสามารถเพ่ิมไดโ้ ดยง่ายด้วยการเชอื่ มต่อเขา้กบั สายส่งที่ใช้งานรว่ มกนั ไดท้ นั ที ขอ้ เสียของการเชื่อมโยงเครือขา่ ยแบบหลายจุด-หากสายส่งข้อมูลขาด จะมีผลกระทบต่อระบบเครือข่าย-ไมเ่ หมาะกับการสง่ ข้อมลู แบบตอ่ เนอื่ งที่มขี อ้ มลู คราวละมากๆในเวลาเดยี วกนั
3.2 ลักษณะของโครงสร้างเครอื ขา่ ยโครงสร้างของเครอื ข่าย (Network Topology) แบง่ เป็น 6ชนดิ 3.2.1 โครงสรา้ งแบบบัส (Bus Topology) เปน็เครอื ขา่ ยท่ีเชื่อมต่อคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณต์ ่าง ๆ ดว้ ยสายเคเบ้ิลยาว ตอ่ เน่ืองไปเรอ่ื ย ๆ โดยจะมคี อนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบลิ้ ในการสง่ข้อมูล จะมีคอมพิวเตอรเ์ พียงตัวเดยี วเทา่ นนั้ ทีส่ ามารถส่งขอ้ มูลไดใ้ นช่วงเวลาหนง่ึ ๆ การจดั ส่งข้อมูลวิธนี จ้ี ะต้องกาหนดวิธีการทีจ่ ะไมใ่ ห้ทกุ สถานสี ง่ ขอ้ มูลพร้อมกนั เพราะจะทาให้ข้อมูลชนกนั ข้อดี การเช่อื มต่อแบบบัส คอื ใช้สือ่ นาขอ้ มลู นอ้ ย ช่วยให้ประหยดั คา่ ใช้จา่ ย และถ้าเคร่อื งคอมพวิ เตอร์เครื่องใดเครอื่ งหนงึ่ เสียกจ็ ะไมส่ ง่ ผลต่อการทางานของระบบโดยรวม ข้อเสยี การตรวจจุดที่มปี ัญหา กระทาได้คอ่ นขา้ งยากและถ้ามีจานวนเคร่อื งคอมพวิ เตอรใ์ นเครือข่ายมากเกนิ ไป จะมีการสง่ ข้อมูลชนกนั มากจนเป็นปญั หา จาเป็นตอ้ งใช้วงจรสื่อสารและซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยเพื่อหลกี เลย่ี งการชนกนั ของสญั ญาณขอ้ มูล และถา้ มอี ปุ กรณ์ตัวใดตวั หน่งึ เสียหาย อาจสง่ ผลให้ทง้ั ระบบหยดุ ทางานได้
3.2.2 โครงสรา้ งแบบดาว (Star Topology) เป็นเครือข่ายที่เชอื่ มต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากบั อุปกรณท์ ่ีเปน็ จดุศูนย์กลาง ของเครอื ขา่ ย โดยการนาสถานตี า่ ง ๆ มาตอ่ รว่ มกนักับหนว่ ยสลับสายกลางการติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งสถานีจะกระทาได้ ดว้ ยการ ตดิ ต่อผา่ นทางวงจรของหนว่ นสลบั สายกลางการทางานของหนว่ ยสลับสายกลางจึงเป็นศูนยก์ ลางของการติดต่อ วงจรเช่ือมโยงระหว่างสถานีตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการติดต่อกัน ข้อดี ถา้ ต้องการเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์เครือ่ งใหมก่ ็สามารถทาไดง้ า่ ยและไม่กระทบต่อเครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ์ น่ื ๆ ในระบบ ขอ้ เสีย คา่ ใชจ้ า่ ยในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนขา้ งสูง และเมอื่ ฮับไม่ทางาน การสอ่ื สารของคอมพวิ เตอรท์ ัง้ ระบบกจ็ ะ
หยดุ ตามไปด้วย ข้อจากัด ถา้ ฮบั เสียหายจะทาให้ทัง้ ระบบตอ้ งหยดุ ซะงัก และมคี วามส้นิ เปลอื งสายสญั ญาณมากกว่าแบบอื่นๆ 3.2.3 โครงสรา้ งแบบวงแหวน (RingTopology)topology) เป็นเครอื ขา่ ยทีเ่ ชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์ด้วยสายเคเบลิ ยาวเส้นเดียว ในลกั ษณะวงแหวน การรับส่งข้อมลู ในเครือขา่ ยวงแหวน จะใชท้ ิศทางเดียวเทา่ นน้ั เมอื่คอมพวิ เตอร์เครอื่ งหน่งึ สง่ ข้อมูล มันกจ็ ะส่งไปยังคอมพวิ เตอร์เครือ่ งถัดไป ถา้ ข้อมูลทร่ี บั มาไม่ตรงตามทคี่ อมพิวเตอร์เครอื่ งต้นทางระบุ มันก็จะสง่ ผา่ นไปยัง คอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งถัดไปซงึ่
จะเปน็ ขนั้ ตอนอยา่ งนี้ไปเรอื่ ย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ถกู ระบตุ ามทีอ่ ยู่ ข้อดี ใชส้ ายเคเบิ้ลนอ้ ย และถ้าตดั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เสยีออกจากระบบ กจ็ ะไมส่ ่งผลต่อการทางานของระบบเครือขา่ ยน้ี และจะไมม่ ีการชนกันของข้อมลู ท่แี ตล่ ะเครอ่ื งส่ง ขอ้ เสีย ถ้าเครื่องใดเครอ่ื งหนึ่งในเครอื ขา่ ยเสยี หาย อาจทาให้ท้งั ระบบหยุดทางานได้
3.2.4 โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Topology) มีลกั ษณะเชอ่ื มโยงคลา้ ยกับโครงสรา้ งแบบดาวแต่จะมโี ครงสรา้ งแบบตน้ ไม้ โดยมีสายนาสญั ญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสรา้ งแบบนจ้ี ะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุม่จะประกอบดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอรร์ ะดับต่างๆกนั อยหู่ ลายเครอ่ื งแล้วตอ่ กนั เป็นช้นั ๆ ดูราวกับแผนภาพองคก์ ร แตล่ ะกลุม่ จะมโี หนดแมล่ ะโหนดลูกในกลมุ่ นน้ั ท่ีมกี ารสมั พนั ธ์กนั การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตวั กลางไปยงั สถานอี ืน่ ๆได้ท้ังหมด เพราะทกุ สถานจี ะอยู่บนทางเช่ือม และรับสง่ ข้อมูลเดียวกนั ดังน้นั ในแต่ละกลุม่ จะส่งขอ้ มูลไดท้ ีละสถานโี ดยไมส่ ง่ พรอ้ มกัน ขอ้ ดี 1. รองรบั การขยายเครอื ข่ายในแตล่ ะจดุ 2. รองรับอปุ กรณ์จากผผู้ ลติ ทแ่ี ตกตา่ งกัน ข้อเสยี 1.ความยาวของแตล่ ะเซก็ เมนต์อาจแตกตา่ งกันไปข้นึ อยู่กับสายสญั ญาณท่ใี ช้ 2.หากสายสญั ญาณแบ๊กโบนเสยี หาย เครอื ขา่ ยจะไม่สามารถสื่อสารกนั ได้ 3.การตดิ ต้ังทาได้ยากกวา่ โพโลยแี บบอนื่
3.2.5โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) เปน็เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่ผสมผสานระหว่างรูปแบบต่างๆหลายๆแบบเข้าด้วยกันคอื จะมีเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ยอ่ ย ๆ หลายๆ เครอื ข่ายเพอื่ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดในการทางาน ขอ้ ดี 1. ไม่ต้องเสียคา่ ใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนกั 2. สามารถขยายระบบไดง้ ่าย 3. เสยี ค่าใช้จ่ายน้อย ข้อเสยี 1. อาจเกิดข้อผดิ พลาดงา่ ย เนือ่ งจากทุกเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรต์ ่อยูบ่ นสายสัญญาณเพียงเส้นเดยี ว ดงั น้ันหาก มกี ารขาดทต่ี าแหนง่ ใดตาแหนง่ หนงึ่ กจ็ ะทาให้เครื่องอ่นื ส่วน
ใหญห่ รอื ท้งั หมดในระบบไมส่ ามารถใช้งานไดต้ ามไปดว้ ย 2. การตรวจหาโหนดเสยี ทาไดย้ ากเนื่องจากขณะใด ขณะหนึง่ จะมคี อมพิวเตอร์เพยี งเครอื่ งเดยี วเทา่ นัน้ ที่สามารถ ส่งข้อความออกมาบนสายสญั ญาณ ดงั นนั้ ถา้ มเี ครอื่ ง คอมพวิ เตอร์จานวนมากๆ อาจทาใหเ้ กดิ การคบั คั่งของเนต เวริ ก์ ซ่งึ จะทาใหร้ ะบบช้าลงได้ 3.2.6โครงสร้างแบบเมซ (Mesh Topology) เป็นการเช่ือมต่อคอมพวิ เตอรท์ ไี่ ดร้ บั ความนยิ มมากและมปี ระสิทธภิ าพสูงตามลาดับ เพราะเม่อื เสน้ ทางของการเช่อื มตอ่ ขอ้ มลู คู่ใดคู่หนงึ่ เกดิ ปญั หาหรอื ขาดจากกนั การติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างกันยังสามารถติดต่อกนั ไดด้ ว้ ยอุปกรณจ์ ัดเส้นทาง (Router) ซึ่งจะเช่อื มต่อเสน้ ทางใหม่ ไปยังจุดหมายปลายทางโดยอัตโนมตั ิ การเช่ือมตอ่ แบบเมชนมี้ กั เปน็ เครอื ข่ายแบบไรส้ าย
ข้อดี ในกรณีสายเคเบ้ลิ บางสายชารุด เครอื ข่ายทั้งหมดยงัสมารถใชไ้ ด้ ทาให้ระบบมีเสถียรภาพสงู นยิ มใชก้ บั เครือข่ายท่ีต้องการเสถียรภาพสูง และเครอื ข่ายทม่ี คี วามสาคญั ข้อเสยี สน้ิ เปลอื งค่าใชจ้ า่ ย และสายเคเบิล้ มากกวา่ การตอ่แบบอนื่ ๆยากตอ่ การตดิ ตั้ง เดินสาย เคลอื่ นย้ายปรับเปล่ียนและบารงุ รักษาระบบเครอื ข่าย
3.3 สว่ นประกอบของเครอื ขา่ ย สว่ นประกอบของเครอื ขา่ ย ( Network Component )ในชีวติ ประจาวนั ของเราน้ันเก่ียวข้องกบั เครือข่ายตลอดเวลาเพระทกุ การติดตอ่ สือ่ สารน้นั ตอ้ งผ่านระบบเครอื ขา่ ยมาแลว้ทงั้ ส้นิ ไม่ว่าจะเปน็ โทรศัพท์ SMS ATM วทิ ยุ โทรทศั น์ ลว้ นเป็นระบบเครือขา่ ยทั้งสิน้ โดยที่ Internet เป็นระบบเครอื ขา่ ยทีใ่ หญท่ ี่สดุ ในโลก ในที่นจ้ี ะกลา่ วถึงส่วนประกอบของระบบเครอื ข่าย ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย ·เคร่อื งบริการข้อมลู (Server) ·เครื่องลูกขา่ ยหรอื สถานี (Client) ·การ์ดเครอื ขา่ ย (Network Interface Cards) ·สายเคเบิลท่ีใชบ้ นเครอื ขา่ ย (Network Cables) ·ฮับหรือสวติ ช์ (Hubs and Switches) ·ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือข่าย (Network operatingSystem)3.3.1 เคร่ืองศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู โดยมกั เรียกว่า เครอื่ งเซิรฟ์ เวอร์ เปน็ คอมพวิ เตอร์ทท่ี าหนา้ ทบ่ี รกิ ารทรัพยากรให้กับเครอ่ื งลูกขา่ ย เช่น การบริการไฟล์ การบริการงานพมิ พ์ เป็นต้น เน่ืองจากเคร่ืองเซฟเวอรม์ ักตอ้ งรับภารกจิ หนักในระบบจึงมักใชเ้ คร่อื งท่มี ขี ดี ความสามารถมาเป็นเคร่ืองแมข่ า่ ย
3.3.2 เครอ่ื งลกู ขา่ ยหรือสถานเี ครอื ข่าย เคร่อื งลกู ขา่ ยเปน็คอมพวิ เตอรท์ ่เี ชอ่ื มตอ่ เข้ากบั ระบบเครอื ข่าย ซึง่ อาจเรียกวา่เวิร์กสเตชนั กไ็ ด้ โดยมกั เปน็ เคร่ืองของผู้ใชง้ านท่วั ไปสาหรบัตดิ ตอ่ เพ่ือขอใช้บริการจากเซิรฟ์ เวอร์ ซง่ึ สามารถจะขอหรือนาsoftware ทง้ั ขอ้ มูลจากเครอ่ื งแมข่ า่ ยมาประมวลผลใชง้ านได้และยังติดตอ่ สื่อสาร รับ-ส่งข้อมลู จากคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่นื ๆในเครือข่ายได้3.3.3 การด์ เครอื ขา่ ย แผงวงจรสาหรบั ใชใ้ นการเชื่อมต่อสายสญั ญาณของเครอื ข่าย คอมพวิ เตอรท์ กุ เครือ่ งในเครอื ข่ายจะต้องมีอุปกรณ์น้ี และหน้าทีของการด์ กค็ อื แปลงสญั ญาณของคอมพวิ เตอรส์ ง่ ผ่านไปตามสายสัญญาณทาใหค้ อมพวิ เตอร์ในเครอื ขา่ ยแลกเปลยี่ นขอ้ มูลกันได้3.3.4 สายเคเบิลทีใ่ ช้บนเครอื ข่าย เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์จาเปน็ ต้องมสี ายเคเบิลเพอื่ ใชส้ าหรับเชอื่ มตอ่ คอมพวิ เตอร์ต่างๆ ให้อยู่บนเครอื ข่ายเดยี วกันเพือ่ สอื่ สารกนั ได้ นอกจากน้ีเครือข่ายยงั สามารถสอื่ สารระหว่างกันโดยไม่ใช้สายก็ได้เรยี กว่า เครือข่ายไร้สายโดยสามารถใช้คลน่ื วิทยุหรืออินฟาเรดเปน็ ตัวกลางในการปลงสัญญาณ อีกท้ังยังสามารถนาเครอื ขา่ ยแบบมสี ายและเครือข่ายแบบไร้สายมาเชือ่ มตอ่ เขา้ ดว้ ยกนั เป็นเครอื ขา่ ยเดียวกันได้
3.3.5 ฮบั และสวติ ช์ เปน็ อุปกรณฮ์ ับและสวิตช์มักนาไปใชเ้ ปน็ศนู ยก์ ลางของสายเคเบลิ ท่ีเชอ่ื มตอ่ เครือข่ายเขา้ ไว้ดว้ ยกัน ซ่งึฮบั หรอื สวติ ชจ์ ะมีพอรต์ เพ่อื ให้สายเคเบลิ เช่อื มตอ่ เข้าระหวา่ งฮบั กบั คอมพิวเตอร์ โดยจานวนพอร์ตจะขน้ึ อยูก่ ับแตล่ ะชนดิเช่น แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอรต์ ยงั สามารถนาฮบั หรือสวิตช์หลายๆตัว มาเชอื่ มต่อเขา้ ดว้ ยกนั เพื่อขยายเครือขา่ ยไดอ้ ีกด้วย3.3.6 ระบบปฏิบัติการเครอื ข่าย เครื่องแม่ขา่ ยของระบบจาเปน็ ต้องตดิ ต้ังระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ข่ายไว้ เพื่อทาหนา้ ที่ควบคมุ และรองรับการทางานของเครือข่ายไว้ เครอื ข่ายทีม่ ีประสทิ ธิภาพจาเป็นต้องพึ่ง Software ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพตามดว้ ยเช่นกนั
3.4 รปู แบบของเครือขา่ ย 3.4.1. Client/Server เครือข่ายแบบ Client/Server เป็นรูปแบบหน่ึงของเครอื ขา่ ยแบบ server-based โดยจะมคี อมพวิ เตอรห์ ลกั เครื่องหน่ึงเป็น เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจะไม่ได้ทาหน้าที่ประมวลผลทั้งหมดให้เครื่องลูกข่ายหรือเครื่องไคลเอนต์ (client) แต่เซิร์ฟเวอร์จะทาหน้าท่ีเสมือนเป็นที่เก็บข้อมูลระยะไกล และประมวลผลบางอย่างให้กับเครื่องไคลเอนต์เท่าน้ัน เช่น ประมวลผลคาสั่งในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล (database server)เปน็ ต้น
ข้อด/ี ข้อดอ้ ยของ Client / Server-ใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการแบง่ ปนั การใช้งานทรพั ยากรแก่ไคลเอนตไ์ ดด้ กี ว่า เนอ่ื งจากคอมพวิ เตอรท์ ่ีถกู นามาใช้เปน็เซริ ์ฟเวอรม์ กั เป็นเครื่องท่ีมีประสทิ ธภิ าพสงู-การรกั ษาความปลอดภยั สามารถทาไดด้ กี วา่ เน่อื งจากการดูแลความปลอดภยั เปน็ ไปในรูปแบบรวมศูนย์ (Centralized) ผใู้ ชง้ านท่จี ะเข้ามาสู่เครอื ข่ายเพ่ือใช้งานเซริ ฟ์ เวอรจ์ ะตอ้ งได้รับอนุญาตเสียกอ่ น-ง่ายต่อการบรหิ ารจัดการหากเครือข่ายถกู ขยายขนาด รวมทง้ัมผี ใู้ ช้งานเพ่มิ ขึ้น-สามารถตดิ ตงั้ แอพพลิเคชัน (Application) ไว้ท่ีเซิร์ฟเวอร์เพยี งชุดเดียว และแบ่งใชง้ านแก่ผ้ใู ช้งานเป็นจานวนมาก ทาให้ประหยัดค่าใชจ้ ่ายในเรอื่ งซอฟต์แวรไ์ ดด้ ี-สามารถสารองหรอื ทาสาเนาข้อมูลทศ่ี ูนยก์ ลาง ทาให้สะดวกรวดเร็วขอ้ ดอ้ ยของการตอ่ แบบ Client / Server -ค่าใชจ้ า่ ยในการตดิ ต้ังเซริ ฟ์ เวอร์ 1 ตัวสูงกว่าคอมพวิ เตอร์ทัว่ ไป อกี ทัง้ ผดู้ แู ลจะตอ้ งมีความรู้พอสมควร - จะต้องมผี ดู้ ูแลและจดั การเซิรฟ์ เวอรเ์ ปน็ การเฉพาะ -Web Server ทาหนา้ ท่ี เครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ่มี ี ประสทิ ธภิ าพสงู ทาหน้าท่ีเปน็ Server ให้บรกิ าร World Wide Web (WWW) หรือที่รจู้ กั กนั วา่ Homepage
Web server คอื บรกิ าร HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) เพ่ือใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถอา่ นขอ้ มลู ทง้ั ภาพ และ เสียง จากเครอื่ งบรกิ าร ผา่ น Browser เช่นริ การ http://www.9inter.com หรอื http://localhost เปน็ ต้น - Mail server ทาหนา้ ท่ี เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ท่มี ีหนา้ ทใ่ี น การรับ (Incomming) และ ส่งอีเมล์ (Outgoing) รวมถึง ตอ้ งเก็บขอ้ มลู เหลา่ น้นั ไว้ในเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ตนเองดว้ ย , ดังน้ันคอมพิวเตอร์ทใี่ ชต้ ามบา้ นคงไมเ่ หมาะท่ีจะเอามา ทา Email Server แนน่ อน จึงต้องใชอ้ ปุ กรณ์ท่ีมคี วาม คงทนและมคี วามรวดเรว็ มากกวา่ ปกติ ซงึ่ เป็นชอ่ื เรยี ก ตามมาว่า Server หรือ Email Server น่ันเอง- File Server ทาหน้าท่ีจดั เกบ็ ไฟล์ โดยการจัดเกบ็ ไฟลจ์ ะทาเสมอื นเปน็ ฮารด์ ดิสก์รวมศูนย์ เสมือนว่าผู้ใช้งานทกุ คนมที ่ีเกบ็ขอ้ มูลอยทู่ เ่ี ดียว เพราะควบคมุ -บริหารง่าย การสารองข้อมลูการ Restore งา่ ย ขอ้ มูลดงั กล่าว Shared ใหก้ ับ Client ได้โดยส่วนมากขอ้ มลู ทอี่ ยู่ใน File Server คอื โปรแกรมและขอ้ มูล (Personal Data File) โดยปกตแิ ลว้ เซริ ์ฟเวอร์ไม่มีหนา้ ที่ตอ้ งประมวลขอ้ มลู เหลา่ น้ี เป็นเพยี งแหล่งเกบ็ ขอ้ มลูปัจจบุ นั File Server ไม่ได้ทาหนา้ ทเี่ พยี งจัดเก็บไฟลแ์ บบLocal แลว้ แต่มผี ใู้ ห้บรกิ ารพ้นื ท่ฟี รใี นฮารด์ ดิสก์หลายๆแห่ง
ใหบ้ รกิ ารพ้นื ทีฟ่ รผี ่านอนิ เตอร์เนต็ ดว้ ย เช่น 100 MB 200 MBซ่งึ เหมาะสาหรบั การเกบ็ ไฟลท์ ตี่ อ้ งการสารองไว้ - Print Server ทาหนา้ ที่ แบ่งใหพ้ รนิ เตอร์ทอี่ อกแบบมา สาหรบั การทางานมากๆ เชน่ HP Laser 5000 พมิ พไ์ ด้ 10 – 24 แผ่นตอ่ นาที พรนิ เตอรป์ ระเภทนี้ ความสามารถ ในการทางานสงู ถ้าหากซื้อมาเพื่อใช้งานเพียงคนเดยี ว แต่ ละวันพิมพ์ 50 แผ่น ก็จงึ ต้องมกี ระบวนการจัดการ แบง่ ปนั พรินเตอร์ดงั กลา่ วให้กับผ้ใู ชท้ ุกๆ คนในสานกั งาน หน้าทใ่ี นการแบ่งปัน ก็ประกอบด้วย การจัดคิว ใครส่ัง พิมพ์ก่อน การจัดการเรอื่ ง File Spooling เป็นของ เซริ ์ฟเวอร์ ท่มี ีชอ่ื ว่า Print Server3.4.2 Peer to Peer มีลกั ษณะอย่างไร และมีขอ้ ด-ี ขอ้ เสียอยา่ งไร เครอื ขา่ ยของคอมพิวเตอร์กาหนดให้ไฟลแ์ ละโฟลเดอรท์ ่ีจะใชร้ ว่ มกนั ได้ ระบบเครือขา่ ย peer-to-peer พบมากบ่อยในสานักงานขนาดเล็กทไี่ มไ่ ดใ้ ชไ้ ฟลเ์ ซริ ์ฟเวอร์เฉพาะ เครอื ขา่ ยpeer-to-peer คอมพวิ เตอร์เชอื่ มตอ่ กนั แตล่ ะคู่ (เชื่อมต่อ 1ต่อ 1) ไม่มี เซิรฟ์ เวอร์(server) เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทกุ เครอ่ื งความสามารถเทา่ กันเหมือนเพอื่ นกัน ซง่ึ สามารถใช้ไดท้ ั้งWindows, Mac and Linux ในระบบเครือขา่ ย peer-to-peer และสามารถใช้ขอ้ มลู รว่ มกันได้
ขอ้ ดขี องการตอ่ แบบ Peer to Peer· คอมพวิ เตอรห์ รอื โฮสต์ (Host) แต่ละตวั บนเครอื ขา่ ยตา่ งทาหนา้ ที่เปน็ ท้ังเซิรฟ์ เวอร์และไคลเอนต์ (Client) ในตัว· ไมต่ ้องตดิ ตัง้ เซริ ์ฟเวอร์ตา่ งหากเป็นการเฉพาะ· ไม่ต้องมกี ารวางแผนหรอื บรหิ ารจัดการทยี่ ุ่งยาก เม่อืเทยี บกบั เครือขา่ ยทใ่ี ช้เซริ ฟ์ เวอร์เปน็ คอมพวิ เตอร์หลกั· ผู้ใช้งานคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะคนทาหน้าที่ดแู ลรกั ษาความปลอดภยั กนั เอง· ผู้ใช้งานประจาเครือ่ งทาหน้าทเ่ี ปน็ ผู้ใชง้ านและบริหารจัดการคอมพิวเตอรก์ ันเองข้อดอ้ ยของการต่อแบบ Peer to Peer· มีข้อจากดั ทจ่ี านวนของผ้ใู ชง้ าน· เมอ่ื จานวนของผูใ้ ช้งานมีเพมิ่ ขนึ้ จะเกดิ ปญั หาเกีย่ วกับการบริหารจดั การขนึ้· ปัญหาของการรกั ษาความปลอดภัยเกิดขนึ้ เมอ่ื ปริมาณของผ้ใู ช้งานเพมิ่ มากขึ้น· การขยายเครอื ขา่ ยทาไดอ้ ยา่ งจากดั รวมทงั้ ไม่สามารถรองรบั การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยขี องเครือข่ายไดด้ ี
3.5 อุปกรณท์ ี่ใชเ้ ชื่อมตอ่ ระบบเครือขา่ ย 1. การด์ เครอื ขา่ ย (Network Interface Card) หรือการ์ดแลน หรืออีเทอรเ์ น็ตการด์ ทาหน้าทีใ่ นการเชื่อมต่อคอมพวิ เตอรท์ ใ่ี ชง้ านอยู่เข้ากบั ระบบเครอื ข่ายได้ เชน่ ในระบบแลนเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ุกเคร่ืองในเครือข่ายจะต้องมีการ์ดเครือขา่ ยทีเ่ ช่ือมโยงด้วยสายเคเบลิ จงึ สามารถทาใหเ้ ครือ่ งตดิ ต่อเครอื ข่ายได้ 2. ฮับ (Hub) คือ อุปกรณ์ท่ีรวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสท่ีรวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับ-ส่งผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ติดต่ออยู่บนฮับนั้น
ดังนั้นทุกสถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ท้ังหมดแต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่าน้ัน การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูแอดเดรส (address) ท่ีกากับมาในกลมุ่ ของขอ้ มลู หรอื แพ็กเกจ 3. สวิตช์ (Switch) คือ อปุ กรณร์ วมสัญญาณทม่ี าจากอปุ กรณร์ ับ-สง่ หลายสถานเี ชน่ เดยี วกับฮบั แตม่ ขี อ้ แตกตา่ งจากฮับ คอื การรบั -ส่งขอ้ มลู จากสถานีหรอื อุปกรณ์ตวั หนงึ่ จะไม่กระจายไปยงั ทกุ สถานเี หมือนฮับ ทั้งนเ้ี พราะสวติ ชจ์ ะรับกลมุ่ข้อมลู หรือแพก็ เกจมาตรวจสอบกอ่ น แล้วดวู า่ แอดเดรสของสถานหี ลายทางไปท่ใี ด สวิตช์จะลดปญั หาการชนกนั ของข้อมูล
เพราะ ไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทกุ สถานี และยังมีขอ้ ดใี นเรอื่ งการปอ้ งกันการดกั จบั ข้อมลู ทก่ี ระจายไปในเครอื ข่าย 4. บริดจ์ (Bridge) คอื อุปกรณท์ เี่ หมาะสมกบั เครอื ข่ายหลาย ๆ กลุ่มที่เชอื่ มตอ่ กนั เนื่องจากสามารถแบง่ เครอื ข่ายที่เชอ่ื มตอ่ กนั หลาย ๆ เซก็ เมนต์แยกออกจากกันได้ ทาให้ขอ้ มลูในแต่ละเซก็ เมนตไ์ มต่ ้องว่ิงไปท่วั ทง้ั เครือขา่ ย กลา่ วคือ บรดิ จ์สามารถอา่ นเฟรมขอ้ มลู ท่สี ง่ มาได้ว่ามาจากเครื่องในเซก็ เมนต์ใด จากน้ันจะทาการส่งข้อมูลไปยังเครื่องซึ่งอาจอย่ใู นเซก็ เมนต์เดยี วกันหรอื ตา่ งเซ็กเมนตก์ ไ็ ด้ ซง่ึ ความสามารถดังกลา่ วทาให้ชว่ ยลดปญั หาความคบั คั่งของขอ้ มูลในระบบได้
5. รพี ตี เตอร์ (Repeater) คือ อุปกรณ์ทวนสญั ญาณเพ่อื ให้สามารถสง่ ขอ้ มลู ถึงกนั ได้ระยะไกลขนึ้ คือ รีพีตเตอรจ์ ะปรบั รปู แบบเดิม เพ่ือไดส้ ญั ญาณสามารถสง่ ต่อไปได้อีก เช่นการเชือ่ มต่อเครอื ขา่ ยแลนหลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซง่ึ ความยาวของแต่ละเซ็กเมนต์นั้นจะมีระยะทางท่จี ากดั ดังนนั้ อุปกรณอ์ ย่างรีพีตเตอร์จะชว่ ยแก้ไขปัญหาเหลา่ นี้ได้
6. โมเด็ม (Modem) คือ อปุ กรณ์ท่ีทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถเช่ือมคอมพวิ เตอร์ท่ีอยู่ระยะไกลเขา้ หากนั ได้ดว้ ยการผา่ นสายโทรศัพท์ โดยโมเดม็ จะทาหนา้ ท่ีแปลงสญั ญาณ ซง่ึ แบ่งออกเปน็ ทั้งภาคส่งและภาครับโดยภาคสง่ จะทาการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใ์ ห้เปน็สญั ญาณโทรศพั ท์ (Digital to Analog) ในขณะทภี่ าครับนั้นจะทาการแปลงสญั ญาณโทรศัพท์กลบั มาเปน็ สัญญาณคอมพิวเตอร์ (Analog to Digital) ดงั น้ัน ในการเช่ือมต่อเครอื ข่ายระยะไกลๆ เช่น อินเทอรเ์ นต็ จึงจาเป็นต้องใชโ้ มเดม็โดยโมเด็มมที ั้งแบบภายใน (Internal Modem) ทมี่ ลี ักษณะเปน็ การด์ โมเดม็ ภายนอก (External Modem) ที่มีลกั ษณะ
เปน็ กลอ่ งแยกออกต่างหาก และรวมถงึ โมเดม็ ท่เี ป็น PCMCIAท่มี ักใช้กบั เคร่อื งคอมพวิ เตอรโ์ นต้ บุ๊ค โมเด็มภายนอกและภายใน
7. เราเตอร์ (Router) ในการเช่อื มโยงเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะตอ้ งมีการเช่ือมโยงหลายๆ เครือข่าย หรืออปุ กรณ์หลายอย่างเข้าดว้ ยกนั ดังน้นั จงึ มีเสน้ ทางเข้า - ออกของข้อมลู ได้หลายเส้นทาง และแตล่ ะเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือขา่ ยท่ีตา่ งกัน อุปกรณจ์ ดั เสน้ ทางจะทาหนา้ ทห่ี าเสน้ ทางท่ีเหมาะสมเพื่อใหก้ ารสง่ ขอ้ มลู เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การทอ่ี ปุ กรณ์จดั หาเส้นทางตอ้ งรับรู้ตาแหน่งและสามารถนาขอ้ มูลออกเสน้ ทางไดถ้ ูกตอ้ งตามตาแหน่งแอดเดรสทกี่ ากบั อยูเ่ ส้นทางนน้ั
8. เกตเวย์ (Gateway) คอื อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ท่ีช่วยในการสอ่ื สารขอ้ มูล หน้าทีห่ ลกั ของเกตเวย์ คอื ชว่ ยทาให้เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 2 เครือขา่ ย หรอื มากกวา่ ท่ีมลี ักษณะไม่เหมือนกนั คอื ลกั ษณะของการเชือ่ ต่อ (Connectivity) ของเครอื ข่ายท่ีแตกตา่ งกัน และมโี พรโตคอลสาหรบั การสง่ - รับขอ้ มูลตา่ งกนั เช่น LAN เครือหน่ึงเป็นแบบ Ethernet และโพรโตคอลแบบอะซิงโครนัส สว่ น LAN อีกเครือขา่ ยหน่งึ เป็นแบบ Token Ring และใชโ้ พรโตคอลแบบซิงโครนสั เพือ่ ให้สามารถติดตอ่ กนั ไดเ้ สมอื นเป็นเครือข่ายเดยี วกนั เพือ่ กาจัดวงใหแ้ คบลงมา เกตเวย์โดยทวั่ ไปจะใช้เปน็ เครอื่ งมือสง่ - รับข้อมูลกนั ระหวา่ ง LAN 2 เครือขา่ ยหรือ LAN กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ มนเฟรม หรือระหวา่ ง LAN กบั WAN โดยผ่านเครือขา่ ยโทรศัพทส์ าธารณะ เชน่ X.25 แพก็ เกจสวติ ซ์เครอื ข่าย ISDN เทเล็กซ์ หรอื เครือข่ายทางไกลอื่น
9. สายสัญญาณ เปน็ สายสาหรบั เชอื่ มต่อเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ตา่ งๆในระบบเขา้ ดว้ ยกนั หากเป็นระบบทม่ี ีจานวนเครื่องมากกวา่ 2 เคร่ืองกจ็ ะต้องต่อผ่านฮบั อีกทหี นึง่โดยสายสญั ญาณสาหรบั เชอื่ มตอ่ เครือ่ งในระบบเครอื ขา่ ย จะมีอยู่ 2 ประเภท คอื- สาย Coax มลี ักษณะเปน็ สายกลม คล้ายสายโทรทศั น์สว่ นมากจะเป็นสีดาสายชนิดนจ้ี ะใช้กบั การ์ด LAN ที่ใช้คอนเนก็ เตอรแ์ บบ BNC สามารถส่งสญั ญาณไดไ้ กลประมาณ 200เมตร สายประเภทน้ีจะตอ้ งใชต้ วั T Connector สาหรับเช่อื มตอ่ สายสญั ญาณกบั การด์ LAN ต่างๆในระบบ และตอ้ งใช้ตวั Terminator ขนาด 50 โอหม์ สาหรับปิดหัวและทา้ ยของสาย
- สาย UTP (Unshied Twisted Pair) เปน็ สายสาหรับการ์ด LAN ทีใ่ ชค้ อนเนก็ เตอรแ์ บบ RJ-45 สามารถสง่สัญญาณไดไ้ กลประมาณ 100 เมตร หากคุณใขส้ ายแบบน้ีจะต้องเลอื กประเภทของสายอีก โดยทวั่ ไปนิยมใช้กนั 2 รุน่คอื CAT 3 กบั CAT5 ซึ่งแบบ CAT3 จะมีความเรว็ ในการส่งสญั ญาณ10 Mbps และแบบ CAT 5 จะมีความเรว็ ในการสง่ข้อมูลท่ี 100 Mbps แนะนาว่าควรเลอื กแบบ CAT 5 เพื่อการอพั เกรดในภายหลังจะไดไ้ ม่ตอ้ งเดินสายใหม่ ในการใช้งานสายนี้ สาย 1 เส้นจะต้องใชต้ ัว RJ - 45 Connector จานวน 2 ตวัเพื่อเป็นตัวเชื่อมตอ่ ระหว่างสายสัญญาณจากการ์ด LAN ไปยังฮบั หรือเครอื่ งอ่นื เชน่ เดียวกบั สายโทรศพั ท์ ในกรณเี ป็นการเชื่อมตอ่ เคร่อื ง 2 เครอ่ื งสามารถใชต้ อ่ ผา่ นสายเพียงเสน้ เดยี ได้แต่ถ้ามากกว่า 2 เครอ่ื ง กจ็ าเป็นตอ้ งต่อผา่ นฮับ
จัดทาโดยนางสาวณฐั พร กลิ่นบหุ งา เลขท่ี 14ปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 1
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: