เอกภพ
เอกภพ (universe) คือ หวั งอวกาศอันกวา้ งใหญ่ ไพศาล ซงึ ประกอบดว้ ยกาแล็กซที ีมดี วงดาวอยู่ รวมกันนบั แสนล้านดวง เนบวิ ลา หลมุ ดาํ รวมถึง ทีวา่ งระหวา่ งดวงดาว เอกภพมคี วามหมายตรงตัววา่ โลกทีเปนหนงึ เดยี ว นนั หมายถึง ทกุ สงิ ทกุ อยา่ ง ในธรรมชาติล้วนเปนหนงึ เดยี วกันหรอื มตี ้นกําเนดิ จากสงิ เดยี วกันนนั เอง เอกภพเกิดขนึ ไดอ้ ยา่ งไรนนั ยงั ไมม่ คี ําตอบทีแนช่ ดั แต่นกั วทิ ยาศาสตรส์ ว่ นใหญ่ เชอื วา่ เอกภพเกิดขนึ จากการขยายตัวของจุดเล็ก ๆ ทีมคี วามรอ้ นและความหนาแนน่ สงู เมอื ประมาณ 13,700 ล้านปก่อน แนวคิดสาํ คัญ เอกภพ คือ อากาศอันกวา้ งใหญ่ ที ประกอบดว้ ย ทกุ สรรพสงิ ในธรรมชาติ เกิดจากการ ขยายตัวอยา่ ง รวดเรว็ ตามทฤษฎีบกิ แบง เมอื ประมาณ 13.700 ล้านป ก่อน โดยมหี ลักฐานทีสาํ คัญสนบั สนนุ 2 ประการ ไดแ้ ก่ การขยายตัวของเอกภพและการค้นพบ รงั สไี มโครเวฟ พนื หลัง
ทฤษฎีบกิ แบง (biz bang theory) เสนอโดย ฌอร์ณ เลอเมตว์ (Geoges Lemaire) นกั คาราศาสตร์ ชาวเบลเยียม เมอื พ ศ. 2470 โดยมี แนวคดิ ว่า เมอื ประมาณ 13,700 ลา้ นป ก่อน จดุ เรมต้นของเวลาและเอกภพ กําเนติ ขึนจากจดุ เล็ก ๆ ทมี ีสภาวะร้อน จดั และมีความหนาแน่นสงู มากเกิดการ ขยายตวั เมือเวลาผ่านไป เอกภพ มีววัฒนาการจนเกิดสสารต่าง ๆ เกดิ กา แลก็ ชี ดาวฤกษ์ ระบบสรุ ยะ โลก รวม ถงึ สิงมีชีวตต่าง ๆ บนโลก Georges lemaître
ใน พ.ศ. 2491 ทฤษฎีบกิ แบงไดม ีการพัฒนาตอ โดย จอรจ กามอฟ (Gcorge Gamow) นักฟิสกิ สช าวอเมริกนั ไดเสนอแนวคดิ เกี่ยวกบั การเกดิ ธาตแุ ละปรมิ าณ ของธาตุตาง ๆ ในเอกภพ โดยเสนอวา ธาตุในเอกภพเกิดข้ึนจากการ รวมกนั ของ อนุภาคมูลฐาน เชน ควารก โฟตอน อเิ ลก็ ตรอน นิวตริโน ในอตั ราสว นทีเ่ หมาะสม ทําใหเ กิดไอโซโทป ของธาตุไฮโตรเจน หลงั จากนัน้ เม่ือเกิดปฏิกิริยาเทอรมอ นิวเคลยี รฟิวชนั (hermonuclear fusion) จึงเกดิ ฮาตุที่หนักข้ึน ในลําตบั ถัดไป และ เม่อื ศึกษาเกีย่ วกับปริมาณของธาตใุ นเอกภพ พบวา มีธาตไุ ฮโตรเจนประมาณรอ ยละ 75 และ ธาตุซีเลียมประมาณรอ ยละ 24 จะเห็นไดวา เอกภพประกอบดว ยธาตเุ บา เป็นสว นใหญ คือ ไฮโตรเจนและฮีเลียม George gammow
ววิ ฒั นาการของเอกภพ 1 เรมตันการเกิดบิกแขง เอกภพได้ถือกําเนิดขึนและเวลาเรมเดนิ ไปข้างหน้า เมอื เวลาผ่านไป 10กําลงั -36 วนาที เอกภพมีอณุ หภูมิสูงถงึ 10\"27 เคลวน และขยายตัวออกอย่างรวดเร็ว เรยกวา่ อินเฟลชนั (ifation) ในชว่ งนีมเี ฉพาะรังสีคอสมกิ พลงั งานสงู เทา่ นัน ยังไมม่ ีอนุภาคใด ๆ เกิดขนึ 2 เม่อื เวลาผา นไป 10 '-12วนิ าที เกิดอนุกาคมลู ฐานตา ง ๆ ข้ึน ไดแ ก ควารก อิเลก็ ตรอน โฟตอน และนิวตริโน รวมถึงปฏิอนุกาค อนุภาคและปฏอิ นภุ าค จะหักลางกนั และหายไป แตใ นขณะนัน้ มี จํานวนของอนุภาคมากกกวาปฏอิ นุกาศ จงึ ทําใหเกดิ สสารตาง ๆ ในเอกภพไดตงั เชน ปัจจุบนั 3 เม่ือเวลาผา นไป 10กําลัง-6 วินาที เอกภพมอี ุณหภูมลิ ดลงเหลอื 10 '13 เคลวนิ ควารกเรมรวมตวั กันเป็นอนุ กาคโปรตอนและนิวตรอน
4 เม่อื เวลาผานไป3 นาที เอกภพมอี ุณหภูมิ 10'8 เคลวนิ อนุภาคโปรตอนและนิวตรอนรวมตวั กันเกิดเนนิวเคลยี สของธาตุเบา คอื นิวเคลยี ส ของธาตไุ ฮโดรเจนและฮเี ลียม 5 เม่ือเวลาผานไป 300,000 ปี เอกภพมอี ณุ หภูมิ 10,000 เคลวนิ อเิ ล็กตรอนรวมตัว กับโปรตอนและนิวตรอนทําใหเ กดิ อะตอมซองธาตไุ ฮโตรเจนและฮีเลยี ม ที่มี เสถียรภาพ และทําใหเ กิดรงั สีไมโครเวฟพ้นื หลังข้นึ ซ่ึงนับเป็นแสงแรกแหงเอกภพ 6 เม่อื เวลาผา นไป 100 ลา นปี เอกภพมีอณุ หภมู ิ 70 เคลวิน มีซาตแุ ละสสารตาง ๆ หนา แนนมากข้ึน จึงมแี รงโน มถวงมากพอทท่ี ําใหเ กดิ กาแลก็ และเกดิ ดาวฤกษภ ายใน เนบิวลาข้ึนได 7 ในปัจจบุ ัน เวลาผานไปประมาณ 13:700 ลา นปี เอกภพมอี ุณหภูมิประมาณ 2.725 เคลวิน มี ธาตหุ นักเกิดข้ึน เกดิ กาแลก็ ซีตางๆ หลมุ ดํา ระบบสุรยิ ะ รวมถึงโลกและสิง่ มีชีวิตตาง ๆ
1.2หลกั ฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบกิ แบง การอธิบาย ความเป็นมาของเอกภพดวยทฤษฎีบิกแบงนัน้ มีความนาเช่อื ถอื มากกวาทฤษฎีอ่นื ๆ เน่ืองจาก มหี ลักฐานสาํ คัญ 2 ประการ ดังนี้ 1. การขยายตวั ของเอกภพ 2.คันพบรงั สไี มโครเวฟพ้นื หลัง (espansion of the universe) (microwave cosmic background) เอ็ดวนิ พาวเวลล ฮบั เบิล (Edwin Powell Hubble) นักดาราศาสตร เม่ือ พ.ศ. 2508 อารโ น เพนฮียส(Arno penzias) และรอเบริ ต ชาวอเมรกิ ัน ไดศ ึกษาความ วลิ สัน(Robert wilson) นักฟิสสิ ซ าว สัมพันธ ระหวา งระยะหางของ อเมริกัน ไดท ดสอบเคร่อื งรับสญั ญาณ กาแล็กซีกับการเล่อื นทางแดงโดย ใช ปรากฏการณดอปเพลอร วทิ ย ความไรสงู ซ่งึ ตัง้ อยทู ี่หอ ง (doppler effect) และเสนอเป็น ทดลองของบริษทั เบลส ทพเสโฟน กฎของฮบั เบลิ (Hubble's law) พบวา เคร่ืองรับสญั ญาณไดร ับ เม่ือ พ.ศ. 2473 สัญญาณวทิ ยุในยา นไมโครเวฟ นอยู ตลอดเวลาโดยไมท ราบทศิ ทางและ ท่ีมาของแหลง กําเนิด arno penzias and robert wilson
จดั ทาํ โดย เสนอ
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: