Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยชั้นเรียน ม3 เทอม2-64

วิจัยชั้นเรียน ม3 เทอม2-64

Published by palmmy-my, 2022-08-13 08:09:39

Description: วิจัยชั้นเรียน ม3-2-64

Search

Read the Text Version

วจิ ยั ในชั้นเรียน เรอื่ ง การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม(นูนตา่ )จากกดาษ paper mache สาระการเรียนรศู้ ิลปะ วิชาทัศนศลิ ป์ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 จากการเรยี นโดยใชก้ ระบวนการปฏิบัติและการเสรมิ แรงผเู้ รยี น ของโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ยว์ ิทยาคาร เทอม2 ปีการศึกษา 2564 ผวู้ จิ ยั นางสาวสมฤดี ตราชู ต่าแหน่ง ครูช่านาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร สังกดั ส่านกั งานเขตพืน้ พื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต2

วิจยั ชน้ั เรยี น เร่อื ง การสร้างสรรค์ผลงานประตมิ ากรรม(นนู ต่า)จากกดาษ paper mache สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ วชิ าทัศนศิลป์ ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 จากการเรียนโดยใช้กระบวนการปฏบิ ัตแิ ละการเสริมแรงผู้เรยี น ของโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร เทอม2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ผูว้ จิ ัย นางสาวสมฤดี ตราชู กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 บทคัดยอ่ เรอื่ งวจิ ยั การสรา้ งสรรค์ผลงานประติมากรรม(นูนต่า)จากกดาษ paper mache สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ วชิ าทัศนศิลป์ ของ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จากการเรียนโดยใชก้ ระบวนการปฏิบัติและการเสริมแรงผ้เู รียน ปีท่วี ิจยั ภาคเรยี นท่ี2 ประจาปีการศึกษา 2564 การวิจยั นมี้ ีจดุ มุ่งหมายเพ่ือพัฒนาการเรยี น และความสามารถในการสร้างสรรคง์ านศลิ ปะ ของนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษาที่ 2/2564 โรงเรยี นชุมชนประชาธปิ ัตย์วทิ ยาคารจานวน 1 ห้องเรียน ในชว่ งสถานการณก์ าร ระบาดของโรคโควิด-19 เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ แผนการสอน ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับงานทัศนศลิ ป์ การสรา้ งสรรค์ ผลงานศิลป์ในรปู แบบต่างๆจากกระดาษ ในช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 นกั เรยี นสว่ นมากมคี วามสามารถในด้านศิลปะอยู่ในเกณฑ์ดี มี นกั เรียนกลุ่มตัวอย่างท่ีจะใชเ้ ปน็ กล่มุ ในการวิจยั ในครั้งนี้ เพอ่ื การพฒั นาศกั ยภาพของนักเรียนใหด้ ียิ่งขน้ึ ซ่งึ จะทาการวจิ ัย ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3/2 มนี ักเรยี นจานวน 35 คน จากผลงานของนักเรยี น ผ้วู จิ ัยมีความคิดวา่ นักเรียน นา่ จะไดร้ บั การ ส่งเสรมิ ความรู้ เพื่อเสรมิ ศักยภาพด้านทักษะ และฝีมือของนักเรยี นในกลุม่ ท่ีมีความสนใจในด้านศิลปะ ให้มคี วามรู้ และ ความสามารถทด่ี ยี ิ่งขน้ึ มากกว่าท่ีเป็นอยู่และเป็นการหาแนวทางในการส่งเสรมิ อาชีพได้ จึงได้จัดทางานวิจยั ขึน้ เพ่ือเป็นการเพ่ิม ทักษะในการปฏิบัติงานใหม้ ีประสิทธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย ไดแ้ ก่ การใช้กระดาษมาเป็นวสั ดุในการสรา้ งสรรค์ งานศิลป์ในรปู แบบต่างๆ การเสริมแรงโดยใชค้ าพูดท่ีสุภาพ กระตนุ้ ให้กาลงั ใจ เป็นกันเอง ผลการวจิ ยั พบวา่ 1.นกั เรียนมคี วามกระตือรือล้นและสนใจ มสี มาธิในการสร้างงานศิลปะมากขน้ึ อย่างเหน็ ไดช้ ดั และสามารถทางานได้ สวยงามมากย่งิ ขึ้น ในระดับ ดี 2. นักเรยี นมีความรูแ้ ละเกดิ การปฏิสมั พันธต์ ่อกนั กบั เพอ่ื นๆทกุ คน อย่ใู นระดบั ดี 3. สามารถลดปญั หาขยะ ลดภาวะโลกร้อนได้ ในระดบั ดี

บทน่า ทมี่ า ความสา่ คัญ และปัญหา ในชว่ งเวลาท่ียังคิดค้นวัคซีนป้องกนั ไวรสั Covid-19 ได้ส่งผลกระทบตอ่ ผู้คนอย่างมากมายและต่างก็ต้องปรบั เปล่ยี นวิถี ชีวิตของตัวเองเพ่ือให้เข้ากับสถานการณ์ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นพนักงานบริษัทที่ต้องเปล่ียนสถานที่การทางาน จากบริษัทมา เปน็ ทางานท่ีบ้าน (Work from home) หา้ งสรรพสินคา้ ร้านค้าตา่ งๆ ตอ้ งปิดเป็นการช่ัวคราวตามมาตรการเพอ่ื ลดความเสีย่ งใน การแพร่เช้ือเปลีย่ นมาขายบนออนไลน์ บคุ ลากรทางการแพทย์ที่ต้องทางานอย่างหนักเพ่ือรักษาผ้ปู ่วยและมีความเสี่ยงสูงในการ ติดเชื้อ, แม่บ้านท่ีมีค่าใช้จ่ายเพ่ิมข้ึนในการซ้ือหน้ากากอนามัยและเจลล้างมือ หรือแม้แต่นักเรียน นักศึกษา ท่ีถูกเลื่อนการเปิด เทอม ส่งผลให้นักเรยี นส่วนใหญ่เสียโอกาสในการเรยี นรู้ ท่ีรา้ ยแรงทีส่ ุดนักเรียนกลุ่มนีเ้ สยี่ งทจี่ ะหลุดออกจากระบบการศึกษา ซึ่ง จะก่อให้เกิดผลเสียต่อชีวิตเด็กในระยะยาว เม่ือคุณครูและนักเรียนต้องทดลองการเรียนการสอนทางออนไลน์ ในการศึกษายุค Covid-19 ทาใหค้ ุณครูและนักเรียนตอ้ งปรับตัวสู่สภาวะการเรียนรู้ทไี่ ม่ค้นุ เคย และรับภาระท่เี พ่ิมมากข้ึน คุณครตู ้องใช้เวลามาก ขึ้นในการเตรียมการสอน นักเรียนรับการบ้านและต้องเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีมากกว่าเรียนในชั้นเรียนมากข้ึน ผลกระทบที่เกิดข้ึน เด็กๆ หลายคนตื่นเต้นที่จะได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีผ่านอุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ แต่ทว่าเมื่อได้พิจารณาจากหลายๆ ด้านแล้ว พบว่ายังมีเด็กนักเรียนในหลายครัวเรือนท่ีได้รับผลกระทบซ้าเติมจากการเรียนออนไลน์ และปัญหาที่ใหญ่สาหรับพวกเขาคือ คา่ ใชจ้ ่ายที่มเี พม่ิ มากขึ้น ทั้งคา่ อปุ กรณ์ในการเรียนออนไลน์ ค่าบรกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ตรายเดอื น ค่าไฟทสี่ ูงข้ึน ยิ่งครอบครวั ท่ีมลี ูกใน วัยเรียนมากกว่า 1 คน ก็จะมีค่าใช้จ่ายเพ่ิมข้ึนอีก การเรียนออนไลน์น้ัน มีข้อจากัดเร่ืองความพร้อมส่วนบุคคลมากมาย โดยเฉพาะเด็กในครอบครัวท่ีมีฐานะยากจนเสียเปรียบ เพราะไม่มีอุปกรณ์ดิจิทัลที่บ้าน จากข้อมูลของสหภาพโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ (ITU) บ่งช้ีว่า สัดส่วนของครวั เรือนท่ีมีคอมพิวเตอร์ค่อนข้างต่าเม่ือเปรียบเทียบกับค่าเฉล่ียของประเทศพัฒนา แลว้ นอกจากน้ี การสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติยงั สะทอ้ นใหเ้ ห็นความเหลอ่ื มล้าสูงในการเข้าถงึ อปุ กรณ์ดิจิทลั โดยเฉพาะ ครัวเรือนที่มีฐานะยากจน เด็กจาเป็นต้องได้รับการเอาใจใส่ การเรียนที่บ้านจึงเป็นการผลักภาระให้ผู้ปกครอง อาจทาให้เหลื่อม ล้าทางการศึกษาเพิ่มมากข้ึน หากผูป้ กครองไม่มคี วามพร้อมในการช่วยเหลือบุตรหลานของตนในการเรยี น ในปัจจุบัน สภาพแวดล้อมท่ีเป็นอยู่ไม่อานวยต่อการศึกษาของเด็กไทยเท่าที่ควร โดยเฉพาะกับนักรียนโรงเรียนชุมชน ประชาธิปัตย์วิทยาคาร เน่ืองจากสภาพความเป็นอยู่ทางบ้านของนักเรียนค่อนข้างลาบาก มีปัญหาต่างๆมากมาย ด้วยบรบิ ทของ ชุมชนด้วยย่ิงน่าเปน็ ห่วง นกั เรียนนักศึกษาอาจไม่สามารถปรับตัวได้ทันซึ่งจะผลกระทบตอ่ คณุ ภาพของการศึกษาท่ีไดร้ บั ไม่วา่ จะ เป็นทางด้านจิตใจ เช่น การไม่มีสมาธิและการขาดกาลังใจในการเรียนเนื่องจากไม่ได้พบเพื่อน ๆ และครูอาจารย์โดยตรง หรือ อุปสรรคในการเรียนวิชาที่เรียนทางไกลได้ลาบาก ทาให้เข้าใจบทเรียนได้ช้ากว่าการเรียนในห้องเรียน เป็นต้น ซ่ึงปัจจัยเหล่าน้ี อาจทาให้นักเรียนเกิดปัญหาเรียนไม่ทันคนอื่น ๆ ไม่สนใจในการเรียน และเกิดอาการเบื่อ ไม่มีความกระตือรือร้น ท้อแท้หมด กาลงั ใจในการเรียน ผลการเรยี นตกต่าลง ซึง่ อาจกระทบตอ่ ผลการศึกษาเปน็ อย่างมากพอสมควรกบั นักเรยี นและการศึกษาไทย ในช่วงการเปิดเรียนตามปกติในช่วงเทอม2 ของปีการศึกษา ครูเล็งเห็นแล้วว่านักเรียนมีความรู้น้อยลง ไม่สนใจในการ เรียน ไม่ค่อยมีสมาธิในการเรียน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและเพื่อนในห้องดูห่างเหิน ครูจึงได้จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อดึงดูด ความสนใจ ให้ความรู้ ฝึกสมาธิ ฝึกความคิดสร้างสรรค์ การมีจิตสาธารณะ ให้เกิดข้ึนแก่นักเรียน เป็นการฝึกทักษะ พัฒนาและ การประยุกต์ความรู้มาใช้ คิดริเริ่มดัดแปลงยืดหยุ่นใช้ ทัศนธาตุ และหลักองค์ประกอบทางทัศนศิลป์ เทคนิควิธีการ รูปแบบ ใหมๆ่ ในการพัฒนางานทศั นศลิ ป์ตามความถนดั และความเข้าใจ ใชค้ วามคิดสรา้ งสรรคแ์ ละจินตนาการ จากการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรการศึกษาฯ หลักสูตรต้องการให้เน้นทักษะการคิดสร้างสรรค์และ การปฏิบัติ ในผลงานทัศนศิลป์ของผู้เรียนด้วย จากการจัดการเรียนรู้วิชาน้ี ท่ีผ่านมาผู้วิจัยได้เห็นว่า น่าจะมีวิธีการที่จะทาให้ นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือล้น ได้ฝึกการคิดอย่างสร้างสรรค์ในการเรียนวิชาทัศนศิลป์มากข้ึน จึงได้คิดหาวิธีการต่างๆ เพ่ือท่ีจะทาให้เกิดผลท่ีผู้วจิ ัยคาดหวังดังกล่าว จึงได้นาเอางานจากเปเปอร์มาเช่ เข้ามาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนใน วชิ านี้ เพอื่ ดงึ ดดู ความสนใจ ให้ความรู้ ฝกึ สมาธิ ฝกึ ความคิดสร้างสรรค์ การมจี ิตสาธารณะ ใหเ้ กดิ ข้นึ แก่นักเรียน ในโรงเรียนหรือในชุมชน จะมีกระดาษที่ใช้แล้วหรือเหลือใช้อยู่มากมายในปัจจุบัน ได้แก่หนังสือพิมพ์ กระดาษจาก นติ ยสารเก่า กระดาษสมุด เป็นต้น ซึ่งเม่ือใช้หรืออ่านจบแล้วหลายชนิดยังคงอยู่ในสภาพดีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดม้ ากกว่า การนาไปทิ้ง หรือการชั่งกิโลขาย เราก็เอามา Recycle การลดปริมาณขยะ ช่วยรักษาส่ิงแวดล้อมส่งเสริมให้เกิดการเห็นคุณค่า

และใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนสามารถสร้างอาชีพใหม่ให้กับตนเองและในชุมชนได้ ขอดีของการรีไซเคิล กระดาษ ทาให้โลกมีจานวนขยะน้อยลง โดยเฉพาะในบ้านเรือนและชุมชนของเรา ช่วยลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง สิน้ เปลอื งและไม่เหน็ คณุ ค่า ลดปริมาณการโค่นทาลายปา่ ไม้ กระดาษท่ีนามาหมุนเวยี นใช้ยังชว่ ยลดการสิน้ เปลืองพลังงานในการ ผลิตใหม่ ชว่ ยลดปริมาณการปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดส์ ูช่ น้ั บรรยากาศสร้างจิตสานึกส่วนรวมในการช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ การสร้างงานศิลป์จากเปเปอร์มาเช่ เป็นการนากระดาษที่เหลือใช้มาสร้างสรรคง์ านศลิ ปะทห่ี ลากหลาย จุดเด่นคอื เราใช้กระดาษ เหลือใช้ในบ้านเรือน โรงเรียน มาประดิษฐ์ชิ้นงานโดยเน้นออกแบบชิ้นงานให้เป็นงานช้ินใหม่โดยไม่มีลักษณะของความเป็น สิ่งของเหลือท่ีใช้ไร้คุณค่า ด้วยการออกแบบและใส่ไอเดียแปลกใหม่ ใส่สีสันสดใส ทาให้มีคุณค่า ดูหน้าสนใจและสะดุดตา เป็น งานHandmadeท้ังหมด เป็นแนวอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมช่วยสร้างความรู้สึกแก่ตนเองและผู้ชมว่ามีส่วนช่วยลดโลกร้อนได้อีกทาง หนึ่งดว้ ย การสรา้ งสรรค์งานศิลปะ นับว่ามคี วามสาคัญยง่ิ ในการเรียนรู้ เพราะสามารถฝึกจิตใจให้เกิดสมาธแิ นว่ แน่ มีจติ ใจงดงาม สุขภาพและสุขภาพจิต มีความสมดุล เป็นรากฐานของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์พร้อม ส่งผลถึงการเรียนรู้ในกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ตา่ งๆ และการดารงชวี ิตอย่อู ยา่ งมีความสุขในสังคมไทย ซ่ึงการเรียนรู้ทส่ี าเร็จไดน้ ั้นต้องได้ทั้งจากทฤษฎีและจาก ประสบการณ์จริงที่ได้ลงมือปฏิบัติ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏบิ ัตใิ หท้ าได้ คดิ เป็น และให้เกดิ การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อีกทงั้ ใหจ้ ัดการเรยี นการสอนโดยผสมผสาน สาระความรู้ดา้ นต่าง ๆ ปลูกฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ มที่ดงี าม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ในรายวิชา วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1. เพอื่ เสรมิ สร้างใหน้ ักเรียนมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ฝกึ สมาธิ มีความกระตือรอื ร้นและสนใจ ต้งั ใจ ในวชิ าเรยี นมากขึ้น 2. เพื่อฝกึ ทกั ษะการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะท่ีปรากฏจากผลงานของนักเรียนโดยใช้กระบวนการปฏิบตั ิ 3. เพือ่ ลดปญั หาขยะและสรา้ งคุณค่างาน จากทรพั ยากรท่ีใชแ้ ลว้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ขอบเขตการวจิ ัย 1. ประชากร ประชากร คือนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี3 ภาคเรียนท่ี2 ปกี ารศกึ ษา 2564โรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ม.3/2 กลุ่มตวั อย่าง ใชว้ ิธีเลือกแบบเจาะจงได้ แก่นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เปน็ นักเรยี นกลุ่มตัวอยา่ ง จานวน 35 คน ผู้วจิ ยั ไดจ้ ัด กจิ กรรมการเรยี นการสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ วชิ าทัศนศิลป์ ในปีการศึกษา 2564 2. เนอ้ื หา การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ วชิ า ทัศนศิลป์ จากมาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ตามจินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และ ประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาวัน ตัวชวี้ ดั ม.3/6 สรา้ งงานทัศนศิลป์ ทงั้ 2 มิติ และ 3 มิติ เพ่อื ถา่ ยทอดประสบการณแ์ ละจินตนาการ 3. ตัวแปร ตวั แปรอิสระ ไดแ้ ก่ ความรเู้ รอ่ื งของทัศนศลิ ปเ์ บอ้ื งตน้ และมคี วามสามารถ มีทักษะในการสร้างสรรค์งานศลิ ปะ ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ผลงานประตมิ ากรรมนูนต่า และการพฒั นาทกั ษะ โดยใช้กระบวนการปฏิบัตงิ านสร้างสรรคผ์ ลงานที่ ดขี ้นึ ระยะเวลา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 สถานที่ หอ้ งทศั นศิลป์ โรงเรียนชุมชนประชาธปิ ตั ยว์ ทิ ยาคาร และหอ้ งเรียนออนไลน์(Facebook Messenger) สมมตุ ิฐาน 1. นกั เรียนมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ฝึกสมาธิ มีความกระตือรือรน้ และสนใจ ต้ังใจ ในวิชาเรยี นมากข้ึน

2. นักเรยี น มที กั ษะการสร้างสรรค์งานศิลปะ ประตมิ ากรรมทป่ี รากฏจากผลงานของนกั เรียนโดยใช้กระบวนการปฏบิ ัติ และเกดิ ปฏิสมั พนั ธ์ทด่ี ีต่อกนั 3. ลดปัญหาขยะและสรา้ งคุณคา่ งาน จากทรัพยากรที่ใชแ้ ลว้ ให้เกิดประโยชน์ เหน็ คณุ ค่าและสรา้ งรายไดแ้ ก่ตนเองได้ ประโยชน์/ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั 1. นักเรียนมกี ารกระตือรอื ร้นและสนใจ ต้งั ใจทางาน ในวชิ าเรยี นน้มี ากขนึ้ 2. นกั เรยี นมีทักษะการสร้างสรรค์งานศลิ ปะที่ ทป่ี รากฏจากผลงานของนักเรียนโดยใช้กระบวนการปฏบิ ตั ิ และเกดิ ปฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ตี ่อกนั 3. เพ่ือลดปญั หาขยะและสรา้ งคุณค่างาน เหน็ คุณค่าจากทรพั ยากรที่ใช้แล้วให้เกิดประโยชน์ 4. ผ้เู รยี นไดแ้ นวทางสาหรบั พัฒนาทกั ษะการสร้างสรรค์งานศลิ ปะ สามารถนาความร้ทู ี่ได้ ไปประยุกตใ์ ช้ ในการเรียนรู้ ในกลมุ่ สาระอน่ื ๆ และในชวี ติ ประจาวันได้ ตัวแปรที่ศึกษา 1. ลักษณะชนิดของกระดาษทสี่ ามารถนามาสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 2. พฤติกรรม ความสามารถใน ทกั ษะในการปฏิบตั ิงานทศั นศิลป์(ประติมากรรมนูนตา่ ) วิธีการดา่ เนินการวจิ ยั การวจิ ัยเรื่อง การเสริมแรงผู้เรยี นให้มีความรู้อย่างแมน่ ยาในเรอ่ื งทัศนศลิ ป์ และความสามารถในการสรา้ งสรรคง์ าน ศลิ ปะ ทป่ี รากฏจากผลงานของนกั เรยี น โดยใช้ความเขา้ ใจ ทฤษฎีของทัศนศลิ ป์เบ้ืองตน้ และกระบวนการปฏิบัติ ผ้วู ิจยั จะ ดาเนินการตามขั้นตอน ดังน้ี 1. ประชากร และกลุ่มตวั อย่าง ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคือนักเรียน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ย์วทิ ยาคาร จานวน 35 คน 2. ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ตลอดภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 3. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลอง เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการทดลอง ได้แก่ แผนการจดั การเรียนรู้ทีใ่ ช้กระบวนการปฏิบตั มิ ีลาดับขั้นตอนในการสร้าง ดงั นี้ ขนั้ เตรยี มการ 1. ศกึ ษาความประพฤตขิ องผเู้ รียนในการเรยี นต่อวชิ าทัศนศิลปแ์ ละวชิ าอน่ื ๆ โดยสอบถามจากเพ่ือนครเู พ่ิมเติมด้วย 2. วิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ัด ท่ีจะทาการศึกษา วิจัยแก้ปัญหา 3. ศึกษาการสร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษจากวิดีโอ ยูทู้ป ผลิตภณั ท์ ้องถ่ินของชุมชน และศึกษาชนดิ ของกระดาษที่ จะนามาทางานศิลปะไดท้ ่ีสามารถนามาบูรณาการเขา้ กนั กับตัวช้วี ัดได้ ข้ันสรา้ ง ในการสรา้ งแผนการจดั การเรียนร้ทู ่ีใช้กระบวนการปฏบิ ัติ ผ้วู ิจัยมวี ิธีดาเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. วเิ คราะห์ทักษะการฝึกปฏิบตั ิงานจากมาตรฐานการเรียนร้ชู ่วงชน้ั กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป์ 2. นาผลการวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้มาปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยเพมิ่ เติมทกั ษะการสร้างสรรคใ์ นชิ้นงาน และปรบั ปรุงกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ข้นั ศกึ ษาจากแบบขั้นทาตามแบบ ขั้นทาเอง และขน้ั ฝึกจน ชานาญ 3. นกั เรียนลงมือทางานทัศนศิลป์ ในรูปแบบประตมิ ากรรม 3 มติ ิ ขั้นหาคณุ ภาพ ดจู ากทักษะการสร้างสรรคง์ านศลิ ปะ จนสาเร็จผล โดยถอื เกณฑ์การผา่ นร้อยละ 70 ข้นึ ไป เครือ่ งมือรวบรวมขอ้ มลู 1. การสังเกตดูพฤติกรรมการทางานของนักเรยี น

2. เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลงานของนักเรยี นในช้นิ งานประติมากรรมนนู ต่า เกณฑ์การให้คะแนน/ระดบั คุณภาพ 1. เกณฑ์คะแนนผลงาน 3 ระดับ ดีมาก คือ ได้ 16-20 คะแนน ดี คอื ได้ 11-15 คะแนน พอใช้ คอื ได้ 1-10 คะแนน ขนั้ ตอนในการวจิ ัย และรวบรวมขอ้ มูล 1. ครทู บทวนความรู้เบื้องต้นของนักเรยี นเกย่ี วกบั ผลงานในรูปแบบ 2 และ 3 มติ ิ พรอ้ มยกตัวอย่างผลงานของทง้ั 2 รูปแบบให้นักเรียนดู 2. ครูศกึ ษาผลงาน วธิ กี าร ทดลองสรา้ งผลงาน แลว้ นาตัวอยา่ งผลงานศิลปะเปเปอร์มาเช่ มาให้นักเรียนชมและเล่าถงึ ความเป็นมาของช้นิ งานนนั้ 3. นักเรียนศกึ ษาการทาเปเปอร์มาเช่เพ่ิมเตมิ พรอ้ มกบั ออกแบบผลงาน 4 ประเมนิ ผล ด้วยการใหร้ ะดับคะแนน ดว้ ยการดูจากระยะเวลาในการทาและความสวยงามของชน้ิ งาน สรุปผลการวิจัย สรปุ ได้ ดังนี้ 1. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ฝกึ สมาธิ มคี วามกระตือรือร้นและสนใจ ตั้งใจ ในวิชาเรยี นมากขึ้น ในระดบั ดี 2. นักเรียนมีทกั ษะการสร้างสรรค์งานศลิ ปะที่ปรากฏจากผลงานของนักเรยี นโดยใชก้ ระบวนการปฏบิ ตั ิ ในระดับ ดี 3. เพือ่ ลดปญั หาขยะและสร้างคณุ ค่างาน จากทรพั ยากรท่ใี ชแ้ ล้วให้เกิดประโยชน์ ในระดับ ดี ขอ้ เสนอแนะ การสรา้ งเจตคติท่ดี ที างการเรียน การสรา้ งแรงจูงใจ การเห็นคณุ คา่ ในตนเอง สภาพแวดล้อมภายในและนอกหอ้ งเรยี น ถือเปน็ ปจั จัยสาคัญทท่ี าใหเ้ กิดการพฒั นาการท่ีดีขน้ึ และมีคุณภาพทดี่ ที เี่ กิดแก่ตัวผู้เรียนโดยตรง

ตัวอย่างผลงานนักเรียน งานประตมิ ากรรมนูนต่า จากกระดาษ เปเปอรม์ าเช่ หรือกระตมิ ากรรมกระดาษท่ใี ชแ้ ล้ว (paper sculpture)



แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดท1ี่ ใหเ้ ลือกคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 1. Realistic คืออะไร 1 ความเป็นธรรมชาติ 2 ความเป็นศลิ ปะ 3 ความเหมือนจริง 4 ความเป็นอิสระ 2. ใครกาลงั สร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะแบบเหมือนจริง 1 นนั ทิดา นาสีนา้ มนั มาวาดลงบนผืนผ้าตามอารมณ์ของตนเอง 2 สดุ ารัตน์ วาดภาพดอกบวั ในสระนา้ โดยใช้สระบวั หลงั บ้านเป็นแบบ 3 ศริ ิลกั ษณ์ วาดภาพรุกขเทวดา ตามจินตนาการของตนเอง 4 สภุ าพร วาดภาพคนแตม่ ีหางเหมือนสนุ ขั 3. ข้อใดเป็นศลิ ปะเหมือนจริงแบบ 3 มติ ิ กึ่งนามธรรม 1 ประตมิ ากรรมรูปม้าโบราณ 2 อนสุ าวรีย์ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี 3 ภาพสีนา้ มนั “ธรรมะและอธรรม” 4 พระอนสุ าวรีย์สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ 4. ภาพลกั ษณะใดเป็นภาพแบบนามธรรม 1 ภาพท่ีวาดได้เหมือนคนจริง 2 ภาพสะท้อนวิถีชีวิตคนในชนบท 3 ภาพท่ีคิดฝันแตย่ งั พอเห็นแนวความคิดได้ 4 ภาพที่เหมือนภาพถ่าย 5. ศลิ ปะรูปแบบใดท่ีต้องใช้ความสมั พนั ธ์กบั พืน้ ที่มากท่ีสดุ 1 Realistic Art 2 Semi-Abstract 3 Abstract Art 4 Installation Art 6. ศลิ ปะแนวจดั วางมีความแตกตา่ งจากศลิ ปะรูปแบบอื่นในเรื่องใดมากท่ีสดุ 1 การใช้เสรีภาพทางความคดิ และการแสดงออก 2 การใช้เทคนิคและวธิ ีการ 3 เป็นศลิ ปะท่ีไมม่ ีข้อกาหนดที่ตายตวั 4 ให้คนดสู ามารถเข้ามามีส่วนร่วมในผลงาน 7. ข้อใดไม่ใช่ผลงานศลิ ปะแนวจดั วาง 1 การใช้โครงเหล็ก ไม้ และระบายสีห้อง 2 การนาของเลน่ ไม้ หนิ มาจดั วาง 3 การแกะสลกั หินเป็นรูปผ้หู ญิงวางตงั้ อนั เดียว 4 การใช้สิ่งของเครื่องใช้ตา่ ง ๆ มาวางเรียงเป็นตวั อกั ษร

8. ผลงานในข้อใดควรใช้การตดิ ตงั้ แบบถาวร กลางแจ้ง 1 หนุ่ ขีผ้ งึ ้ 2 รูปปัน้ ประกอบนา้ พุ 3 ภาพจิตรกรรมฝาผนงั 4 ถกู ทกุ ข้อ 9. บคุ คลใดตอ่ ไปนีต้ ิดตงั้ งานศลิ ปะไม่เหมาะสม 1 สรวิช นาภาพวาดผกั ผลไม้ ไปติดตงั้ ในห้องครัว 2 ธงชยั นาภาพเก่ียวกบั สงครามไปตดิ ตงั้ ไว้ในห้องนอน 3 วยิ ะดา นาภาพดอกไม้ ไปติดตงั้ ไว้ในห้องนา้ 4 นนั ทกา นารูปปัน้ หินทรายไปตดิ ตงั้ ไว้หน้าบ้าน 10. ศลิ ปะแบบนามธรรมแตกตา่ งจากศลิ ปะเหมือนจริงในเรื่องใด 1 รูปแบบและเนือ้ หา 2 ความคิดและจนิ ตนาการ 3 อารมณ์และความรู้สกึ 4 ถกู ทกุ ข้อ

แบบทดสอบหลงั เรียน ชดุ ท1่ี ใหเ้ ลือกคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 1. ขอ้ ใดไม่ใช่ผลงำนศิลปะแนวจดั วำง 1 กำรใชโ้ ครงเหล็ก ไม้ และระบำยสีหอ้ ง 2 กำรนำของเล่น ไม้ หิน มำจดั วำง 3 กำรแกะสลกั หินเป็นรูปผหู้ ญิงวำงต้งั อนั เดียว 4 กำรใชส้ ่ิงของเครื่องใชต้ ่ำง ๆ มำวำงเรียงเป็นตวั อกั ษร 2. ภำพในขอ้ ใดเป็ นศิลปะเหมือนจริงแบบ 3 มิติ ก่ึงนำมธรรม 1 ประติมำกรรมรูปมำ้ โบรำณ 2 อนุสำวรียศ์ ำสตรำจำรยศ์ ิลป์ พีระศรี 3 ภำพสีน้ำมนั “ธรรมะและอธรรม” 4 พระอนุสำวรียส์ มเด็จพระเจำ้ บรมวงศเ์ ธอฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ 3. ศิลปะแนวจดั วำงมีควำมแตกต่ำงจำกศิลปะรูปแบบอ่ืนในเรื่องใดมำกท่ีสุด 1 กำรใชเ้ สรีภำพทำงควำมคิดและกำรแสดงออก 2 กำรใชเ้ ทคนิคและวธิ ีกำร 3 เป็นศิลปะท่ีไมม่ ีขอ้ กำหนดที่ตำยตวั 4 ใหค้ นดูสำมำรถเขำ้ มำมีส่วนร่วมในผลงำน 4. บุคคลใดต่อไปน้ีติดต้งั งำนศิลปะไม่เหมำะสม 1 สรวชิ นำภำพวำดผกั ผลไม้ ไปติดต้งั ในหอ้ งครัว 2 ธงชยั นำภำพเกี่ยวกบั สงครำมไปติดต้งั ไวใ้ นหอ้ งนอน 3 วยิ ะดำ นำภำพดอกไม้ ไปติดต้งั ไวใ้ นหอ้ งน้ำ 4 นนั ทกำน นำรูปป้ันหินทรำยไปติดต้งั ไวห้ นำ้ บำ้ น 5. Realistic คืออะไร 1 ควำมเป็นธรรมชำติ 2 ควำมเป็นศิลปะ 3 ควำมเหมือนจริง 4 ควำมเป็นอิสระ 6. ศิลปะแบบนำมธรรมแตกต่ำงจำกศิลปะเหมือนจริงในเร่ืองใด 1 รูปแบบและเน้ือหำ 2 ควำมคิดและจินตนำกำร 3 อำรมณ์และควำมรู้สึก 4 ถูกทุกขอ้ 7. ภำพลกั ษณะใดเป็นภำพแบบนำมธรรม 1 ภำพที่วำดไดเ้ หมือนคนจริง 2 ภำพสะทอ้ นวถิ ีชีวติ คนในชนบท 3 ภำพที่คิดฝันแต่ยงั พอเห็นแนวควำมคิดได้ 4 ภำพท่ีเหมือนภำพถ่ำย

8. ใครกำลงั สร้ำงสรรคผ์ ลงำนศิลปะแบบเหมือนจริง 1 นนั ทิดำ นำสีน้ำมนั มำวำดลงบนผนื ผำ้ ตำมอำรมณ์ของตนเอง 2 สุดำรัตน์ วำดภำพดอกบวั ในสระน้ำ โดยใชส้ ระบวั หลงั บำ้ นเป็นแบบ 3 ศิริลกั ษณ์ วำดภำพรุกขเทวดำ ตำมจินตนำกำรของตนเอง 4 สุภำพร วำดภำพคนแต่มีหำงเหมือนสุนขั 9. ผลงำนในขอ้ ใดควรใชก้ ำรติดต้งั แบบถำวร กลำงแจง้ 1 หุ่นข้ีผ้งึ 2 รูปป้ันประกอบน้ำพุ 3 ภำพจิตรกรรมฝำผนงั 4 ถูกทุกขอ้ 10. ศิลปะรูปแบบใดที่ตอ้ งใชค้ วำมสัมพนั ธ์กบั พ้ืนที่มำกที่สุด 1 Realistic Art 2 Semi-Abstract 3 Abstract Art 4 Installation Art เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test 1. 3 2. 2 3. 1 4. 3 5. 3 6. 4 7. 3 8 . 2 9. 2 10. 4 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post - Test) 1. 3 2. 1 3. 4 4. 2 5. 3 6. 4 7. 3 8 . 2 9. 2 10. 3

แบบทดสอบก่อนเรียน ชดุ ท2่ี ใหเ้ ลือกคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 1. บคุ คลใดตอ่ ไปนีก้ าลงั สร้างสรรค์ผลงานจติ รกรรม 1 นชุ กาลงั วาดภาพลายเส้น 2 น้อย กาลงั สอนน้องปัน้ ดินนา้ มนั 3 นิด นาก้านกล้วยมาจมุ่ สีแล้วกดลงในกระดาษให้เป็นภาพผีเสือ้ 4 นนุ่ ฉีกกระดาษแล้วนามาตดิ กาวทาเป็นรูปผลไม้ 2. ข้อใดไม่จดั อยใู่ นการสร้างงานทศั นศลิ ป์ 1 จิตรกรรม 2 ประตมิ ากรรม 3 สถาปัตยกรรม 4 วิศวกรรม 3. ภาพในข้อใดเป็นจิตรกรรมแบบเหมือนจริง 1 ภาพต๊กุ ตา 2 ภาพคนสวดมนต์ 3 ภาพแมน่ า้ เจ้าพระยาในจินตนาการ 4 ภาพประเพณีไทยจากจินตนาการ 4. เหตกุ ารณ์ในข้อใดท่ีนามาวาดเป็นภาพจิตรกรรมแบบแสดงอารมณ์ 1 คนอยบู่ นหลงั คาท่ีมีนา้ ท่วม 2 คนนง่ั ทางานในสานกั งาน 3 คนเดนิ ซือ้ ของที่ตลาด 4 คนปัน้ จกั รยานในสวนสาธารณะ 5. ข้อใดเป็นการวาดภาพจิตรกรรมแบบนามธรรม 1 วาดภาพให้เหมือนธรรมชาตจิ ริง ๆ 2 วาดภาพคนทางานที่มีความยากลาบาก 3 วาดภาพที่เกิดจากความคดิ ความรู้สกึ 4 วาดภาพเกี่ยวกบั ศาสนา 6. ข้อใดเป็นลกั ษณะเฉพาะของประตมิ ากรรม 1 ใช้เวลาในการสร้างสรรค์มากกวา่ ศลิ ปะรูปแบบอื่น ๆ 2 เหมือนจริงและบอกเลา่ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ได้อย่างชดั เจน 3 สร้างอารมณ์และความรู้สกึ ได้มากกวา่ ศลิ ปะรูปแบบอื่น ๆ 4 สร้างด้วยรูปทรง 3 มิติ มีปริมาตร มีนา้ หนกั และกินเนือ้ ท่ีในอากาศ

7. “เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวสั ดทุ ี่แขง็ เปราะ โดยอาศยั เคร่ืองมือ” ข้อความนีก้ ลา่ วถึงการสร้างงานประตมิ ากรรมวธิ ี ใด 1 การปัน้ 2 การแกะสลกั 3 การหลอ่ 4 การประกอบขนึ ้ รูป 8. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของประตมิ ากรรม 1 ประตมิ ากรรมนนู ต่า 2 ประตมิ ากรรมนนู สงู 3 ประตมิ ากรรมฝาผนงั 4 ประตมิ ากรรมลอยตวั 9. ข้อใดเป็นประตมิ ากรรมนนู ตา่ 1 ภาพแกะสลกั บนแผน่ ไม้ 2 เครื่องปัน้ ดนิ เผา 3 กระถาง 4 อนสุ าวรีย์สนุ ทรภู่ 10. แมพ่ มิ พ์ในข้อใดใช้ในกรรมวิธีพิมพ์จากสว่ นพืน้ ผวิ 1 แมพ่ ิมพ์โลหะ 2 แมพ่ มิ พ์ยาง 3 แมพ่ มิ พ์หนิ 4 แมพ่ ิมพ์ไม้

แบบทดสอบหลงั เรียน ชดุ ท2ี่ ใหเ้ ลือกคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 1. ภาพในข้อใดเป็นการวาดภาพจติ รกรรมแบบนามธรรม 1 วาดภาพให้เหมือนธรรมชาตจิ ริง ๆ 2 วาดภาพคนทางานที่มีความยากลาบาก 3 วาดภาพท่ีเกิดจากความคดิ ความรู้สกึ 4 วาดภาพเก่ียวกบั ศาสนา 2. ข้อใดเป็นจติ รกรรมแบบเหมือนจริง 1 ภาพต๊กุ ตา 2 ภาพคนสวดมนต์ 3 ภาพแมน่ า้ เจ้าพระยาในจนิ ตนาการ 4 ภาพประเพณีไทยจากจินตนาการ 3. เหตกุ ารณ์ในข้อใดท่ีนามาวาดเป็นภาพจติ รกรรมแบบแสดงอารมณ์ 1 คนอย่บู นหลงั คาที่มีนา้ ท่วม 2 คนนง่ั ทางานในสานกั งาน 3 คนเดนิ ซือ้ ของท่ีตลาด 4 คนปัน้ จกั รยานในสวนสาธารณะ 4. ข้อใดไม่จดั อยใู่ นการสร้างงานทศั นศลิ ป์ 1 จิตรกรรม 2 ประตมิ ากรรม 3 สถาปัตยกรรม 4 วศิ วกรรม 5. บคุ คลใดตอ่ ไปนีก้ าลงั สร้างสรรค์ผลงานจติ รกรรม 1 นชุ กาลงั วาดภาพลายเส้น 2 น้อย กาลงั สอนน้องปัน้ ดินนา้ มนั 3 นิด นาก้านกล้วยมาจมุ่ สีแล้วกดลงในกระดาษให้เป็นภาพผีเสือ้ 4 นนุ่ ฉีกกระดาษแล้วนามาตดิ กาวทาเป็นรูปผลไม้ 6. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของประตมิ ากรรม 1 ประตมิ ากรรมนนู ต่า 2 ประตมิ ากรรมนนู สงู 3 ประตมิ ากรรมฝาผนงั 4 ประตมิ ากรรมลอยตวั 7. ข้อใดเป็นประตมิ ากรรมนนู ต่า 1 ภาพแกะสลกั บนแผน่ ไม้ 2 เคร่ืองปัน้ ดนิ เผา 3 กระถาง 4 อนสุ าวรีย์สนุ ทรภู่

8. “เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวสั ดทุ ี่แขง็ เปราะ โดยอาศยั เครื่องมือ” ข้อความนีก้ ลา่ วถงึ การสร้างงานประตมิ ากรรมวธิ ี ใด 1 การปัน้ 2 การแกะสลกั 3 การหลอ่ 4 การประกอบขนึ ้ รูป 9. แมพ่ ิมพ์ในข้อใดใช้ในกรรมวธิ ีพิมพ์จากสว่ นพืน้ ผิว 1 แมพ่ มิ พ์โลหะ 2 แมพ่ มิ พ์ยาง 3 แมพ่ มิ พ์หนิ 4 แมพ่ ิมพ์ไม้ 10. ข้อใดเป็นลกั ษณะเฉพาะของประตมิ ากรรม 1 ใช้เวลาในการสร้างสรรค์มากกวา่ ศลิ ปะรูปแบบอ่ืน ๆ 2 เหมือนจริงและบอกเลา่ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ได้อยา่ งชดั เจน 3 สร้างอารมณ์และความรู้สกึ ได้มากกวา่ ศลิ ปะรูปแบบอื่น ๆ 4 สร้างด้วยรูปทรง 3 มิติ มีปริมาตร มีนา้ หนกั และกินเนือ้ ที่ในอากาศ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) 1. 1 2. 4 3. 2 4. 1 5. 3 6. 4 7. 2 8 . 3 9. 1 10. 3 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post - Test) 1. 3 2. 2 3. 1 4. 4 5. 1 6. 3 7. 1 8. 2 9. 3 10. 4

ผลการเปรียบเทยี บคะแนน ก่อนเรียน – หลงั เรียน การทดสอบทฤษฎี ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกับงานศลิ ป์ ก่อน และหลงั การฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมสรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์จากกล่มุ ตัวอย่างนักเรียน มีผลดังนี้ ที่ ชอ่ื แบบทดสอบ แบบทดสอบ ชุดท1่ี ชดุ ท2่ี 1 เจษฎาภรณ์ จตพุ รโปกลุ ก่อน หลัง ก่อน หลัง 4 966 2 วรภพ สภาพักตร์ 5 567 3 ชยั มงคล เนาวชาติ 4 679 5 768 4 พรเทพ ขวัญกระโทก 5 655 5 ชนะชยั แก้วทับทิม 6 748 6 ธันวา วริสาร 5 655 7 เตวิทย์ วงษพ์ รพม 5 7 4 10 6 654 8 ธนภทั ร คงเมือง 3 847 9 นิรุต แกว้ จาบัง 4 849 7 869 10 ปรวทิ ย์ อ่มิ สวัสดิ์ 4 755 11 พรรษา มลู คา 12 พิเชฐ ภเู่ ป่ยี ม 3 368 13 ลภดล ขันกนกสิงห์ 5 558 5 568 14 วรากร สวยกลาง 15 ศุภวฒั น์ ศริ ิวฒั น์ 6 558 16 อลงกรณ์ สมพชื 6 9 5 10 17 อานนท์ เฟอื่ งรงุ้ 8 969 5 566 18 กมลชนก พิมพันธ์ 19 จิรชั ยา คาขจร 6 879 20 ชลนิษา ครองจติ ร 5 478 21 ณฐั ชา ทาตะคุณ 2 765 4 969 22 นภสั วรรณ ชอ้ นบญุ 7 768 23 น้าทิพย์ ผงึ่ ประโคน 5 869 24 พิมอาภรณ์ ปานสิงห์ 5 566 25 ภาวิณี พยุงวงค์ 6 9 8 10 26 วนั วิภา อรุณทยั กุล 4 479 27 ศศิธร ลเ้ี จริญ 5 769 28 สุคนธ์ทพิ ย์ รอดสุด 6 758 29 กรองทอง แจง้ ถิน่ 8 10 7 9 30 ม่ิงขวัญ ทา่ ทราย 5 768 31 อรุณร่งุ วี อยฉู่ า่ 4 969 32 รัตนจ์ ติ รา ลาภโอฬาร 7 868 33 วลิ าวัณย์ พิมพ์รัตน์ 34 สุภทั รา มติ ราช 35 จริ าภา พลเยย่ี ม

สรุปผลการวจิ ัย ด้านปริมาณ สรปุ ได้ ดังนี้ 1. ร้อยละ 71.43 ของผ้เู รียน มีความรู้ผา่ นเกณฑ์ จากแบบทดสอบชุดท่ี 1 2. ร้อยละ 77.14 ของผูเ้ รยี น มีความรู้ผา่ นเกณฑ์ จากแบบทดสอบชุดท่ี 2 3. ร้อยละ 70.12 ของผูเ้ รียน ผ่านเกณฑก์ ารปฏิบัติชน้ิ งานประตมิ ากรรมนูนต่า 4. ร้อยละ 75 ของผ้เู รยี น เห็นความสาคญั ของการลดจานวนขยะ ลดภาวะโลกร้อนไดจ้ รงิ ด้าน คณุ ภาพ 1. นกั เรียนมคี วามคิดสร้างสรรค์ ฝกึ สมาธิ มคี วามกระตือรือร้นและสนใจ ตั้งใจ ในวิชาเรยี นมากขึ้น ในระดบั ดี 2. นกั เรียนมีทกั ษะการสรา้ งสรรค์งานศิลปะทีป่ รากฏจากผลงานของนักเรยี นโดยใช้กระบวนการปฏบิ ตั ิ ในระดับ ดี 3. เพ่ือลดปัญหาขยะและสรา้ งคณุ ค่างาน จากทรัพยากรทใี่ ชแ้ ลว้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ในระดับ ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook