บทเรียนเร่อื ง คำซ้อน
คาซ้อน คาํ ซ้อน (บางทีเรียก คาํ คู่) คือ คาํ ประสมท่ีเกิดจากการนําคาํ มูลต้งั แต่ ๒ คาํ ข้ึนไปที่มี ความหมายคลา้ ยกนั ใกลเ้ คียงกนั หรือตรงกนั ขา้ มมาวางซ้อนกัน เกิดเป็ นคาํ ใหม่ มีความหมายใหม่ หรือความหมายชดั เจนข้ึน (ซอ้ นกนั โดยมุ่งถือเอาความหมายเป็นสาํ คญั ลกั ษณะการนาคามาซ้อนกนั ๑. คาํ ไทยซอ้ นกบั คาํ ไทย การนาํ คาํ ไทยมาซอ้ นกนั มีท่ีมาไดห้ ลายลกั ษณะ - ไทยเดิมกบั ไทยปัจจุบนั ตดั สิน เบ้ียหอย อว้ นพี - ไทยกลางกบั ไทยถ่ิน ครูบา พดั วี บาดแผล อิดโรย - ไทยกลางกบั ไทยกลาง ฟ้ าดิน แขง้ ขา หนา้ ตา ใหญโ่ ต - ไทยปัจจุบนั กบั ไทยปัจจุบนั ขดั แยง้ ข้นั ตอน ผลกั ดนั อบรม ๒. คาํ ไทยซอ้ นกบั คาํ ภาษาอื่น คาํ ท่ีไทยนาํ ซอ้ นกนั เช่น - ไทยกบั เขมร โง่เขลา แบบฉบบั แสวงหา เงียบสงดั ยกเลิก พงษไ์ พร เขียวขจี ร้ายกาจ ละเอียดลออ - ไทยกบั บาลี การงาน ขอบเขต จิตใจ เจ้านาย โมงยาม ถ่ินฐาน ทุกขย์ าก จิตใจ ขอบเขต รูปร่าง - ไทยกบั สันสกฤต โคตรเหงา้ ซ่ือสัตย์ ทิศทาง พรรคพวก ซากศพ โศกเศร้า ทรัพยส์ ิน - ไทยกบั จีน ติดแจ ถวั่ โป นง่ั จ๋อ เยน็ เจี๊ยบ หา้ งร้าน เก๋งจีน - ไทยกบั องั กฤษ แบบแปลน แบบฟอร์ม
๒ ๓. คาํ ภาษาอ่ืนกบั คาํ ภาษาอื่น คาํ ที่ไทยนาํ มาซอ้ นกนั เช่น - คาํ เขมรกบั คาํ เขมร สงบเสง่ียม สนุกสาํ ราญ โสรจสรง เกริกไกร เฉลียวฉลาด เลอเลิศ - คาํ เขมรกบั บาลีสันสกฤต เสด็จประพาส สรงสนาน สนุกสบาย สงบสุข รูปทรง - คาํ บาลีสนั สกฤตซอ้ นกนั กาลเวลา ทรัพยส์ มบตั ิ บุญกุศล ภิกษุสงฆ์ ยกั ษม์ าร ยานพาหนะ รูปภาพ อิทธิฤทธ์ิ กิจกรรม ชนิดของคาซ้อน คาํ ซอ้ นแบง่ ออกเป็น ๒ ชนิด คือ ๑. คาซ้อนเพอื่ ความหมาย เกิดจากคาํ มูลท่ีมีความหมายอยา่ งเดียวกนั ใกลเ้ คียงกนั หรือ ตรงกนั ขา้ มมารวมกนั ๑) ความหมายอยา่ งเดียวกนั เช่น เติบโต อว้ นพี มากมาย ทรัพยส์ ิน ขา้ ทาส สูญหาย โง่เขลา เพมิ่ เติม การงาน แนะนาํ ยมิ้ แยม้ ๒) ความหมายใกล้เคียงกัน เช่น เรือแพ หน้าตา คดั เลือก ข้าวปลา เส้ือผา้ ลูกหลาน ทุบตี ๓) ความหมายตรงกนั ขา้ ม เช่น เท็จจริง ผิดชอบ ดีร้าย ดีชว่ั ถูกผิด เปร้ียวหวาน สูงต่าํ ถูกแพง อว้ นผอม ดาํ ขาว ยากดีมีจน ๒. คาซ้อนเพอ่ื เสียง เกิดจากการนาํ คาํ ที่มีเสียงคลา้ ยคลึงกนั มาซอ้ นเพื่อให้ออกเสียงง่ายข้ึน มีเสียงคลอ้ งจองกนั เกิดความไพเราะข้ึน เช่น เกะกะ เปะปะ เอะอะ ปึ งปัง เปร้ียงปร้าง ขรุขระ เกง้ กา้ ง โผงผาง โอนเอน ตุกติก จูจ้ ้ี บูบ้ ้ี จุกจิก ร่อแร่ คลอนแคลน สวงิ สวาย ตูมตาม อา้ งวา้ ง ราบคาบ ออมชอม
๓ ความหมายของคาซ้อน การนาํ คาํ มารวมกนั จนเกิดเป็ นคาํ ซ้อน คาํ ใหม่ที่เกิดข้ึนอาจมีความหมายลกั ษณะใด ลกั ษณะหน่ึง ดงั น้ี ๑. ความหมายอยูท่ ่ีคาํ ตน้ เช่น ใจคอ ใตถ้ ุนรุนช่อง ปากคอ เป็ นลมเป็ นแลง้ ลูกเตา้ หวั หู ๒. ความหมายอยูท่ ี่คาํ ทา้ ย เช่น เครื่องไมเ้ คร่ืองมือ ชอบอกชอบใจ น้าํ ใสใจจริง เน้ือตวั ฝากเน้ือฝากตวั วา่ นอนสอนง่าย เห็นอกเห็นใจ ๓. ความหมายอยทู่ ี่คาํ ตน้ และคาํ ทา้ ย เช่น เคราะห์หามยามร้าย (เคราะห์ร้าย) ชอบมาพากล (ชอบกล) ผลหมากรากไม้ (ผลไม)้ ใส่ถอ้ ยร้อยความ (ใส่ความ) ๔. ความหมายอยทู่ ี่คาํ ทุกคาํ เช่น คู่บา้ นคู่เมือง เจริญรุ่งเรือง ช้านาน ดินฟ้ าอากาศ นึกคิด บุญบารมี ป่ ูยา่ ตายาย เป็ นหูเป็ นตา เปลี่ยนจิตเปล่ียนใจ ฝึ กหดั ไพร่ฟ้ าประชาชน ใหญ่หลวง อาจหาญ อาํ นาจวาสนา เอวบางร่างนอ้ ย ๕. ความหมายอยู่ท่ีคาํ ใดคาํ หน่ึง ส่วนอีกคาํ น้นั ช่วยเน้นความหมายให้ชัดเจนยิ่งข้ึน (ความหมายแคบลง) เช่น เงียบเชียบ ด้ือดึง วอ่ งไว หยบิ ยมื เอร็ดอร่อย ๖. ความหมายอยทู่ ี่คาํ ทุกคาํ ซ่ึงมีความหมายที่กวา้ งออกไป (ความหมายกวา้ งข้ึน) เช่น พี่นอ้ ง เรือแพ เส้ือผา้ ขา้ วปลา ขนมนมเนย ๗. ความหมายใหม่ในเชิงอุปมา เช่น ขมขื่น ขิงก็ราข่าก็แรง คดในขอ้ งอในกระดูก ดูดดื่ม ถากถาง ทิ่มตาํ เสียดแทง หวานอมขมกลืน คบั แคบ อุม้ ชู หนกั แน่น อยกู่ ิน หน้าท่ีของคาซ้อน คาซ้อนทที่ าหน้าทเ่ี ป็ นนาม เช่น การงาน ถอ้ ยคาํ รูปภาพ ร่างกาย ขา้ วปลา ชายหญิง บา้ นเรือน ไร่นา ลูกหลาน ลูกท่านหลานเธอ ห้วยหนองคลองบึง รูปรสกล่ินเสียง ป่ าดงพงพี บา้ นเกิดเมืองนอน คาซ้อนที่ทาหน้าทเ่ี ป็ นกริยา เช่น รักใคร่ พูดจา ดูแล เก่ียวขอ้ ง ข่มเหง คดั เลือก แจกแจง ใชจ้ ่าย ซกั ฟอก ตกต่าํ ทุบตี ทิ้งขวา้ ง นวดเฟ้ น โนม้ เอียง ปกครอง ปิ ดบงั ผลิบาน ผกู พนั ดีดสีตีเป่ า เจบ็ ไขไ้ ดป้ ่ วย คาซ้อนที่ทาหน้าท่ีเป็ นคาวิเศษณ์ เช่น สวยงาม ใหญ่โต เล็กน้อย สดช่ืน แข็งกร้าว เข้มงวด จดั จ้าน ฉับพลนั ซื่อตรง เด็ดขาด นุ่มนิ่ม เผ็ดร้อน เร็วไว เห่ียวแห้ง แหลกลาญ ออ่ นแอ เลอเลิศ เยอะแยะ เปร้ียงปร้าง
๔ ใบงานท่ี ๑ เร่ือง ความหมายและลกั ษณะของคาซ้อน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนที่ ๑ จงเขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีกล่าวถูกตอ้ ง และเขียนเคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ที่กล่าวผดิ ๑. คาํ ซอ้ นเกิดจากการรวมคาํ ที่มีความหมายตรงกนั ขา้ ม ๒. คาํ ซอ้ นเกิดจากคาํ ที่ข้ึนตน้ ดว้ ยพยญั ชนะเสียงเดียวกนั หรือมีเสียงสระคู่กนั ๓. คาํ ซอ้ นเกิดจากคาํ มลู เดียวกนั ๒ คาํ เขียนตอ่ เนื่องกนั ๔. คาํ ซอ้ นเกิดจากการรวมคาํ ท่ีมีความหมายทาํ นองเดียวกนั ต้งั แต่ ๒ คาํ ข้ึนไป ๕. คาํ ซอ้ นเป็นคาํ ที่ใชเ้ รียกสิ่งใหม่ ๖. คาํ ซอ้ นเมื่อนาํ มาซอ้ นหรือเขา้ คูก่ นั แลว้ ทาํ ใหม้ ีความหมายหนกั แน่นชดั เจนยงิ่ ข้ึน ๗. คาํ ซอ้ นเมื่อแยกจากกนั คงมีความหมายเท่าเดิม ๘. แบบแปลนเป็นการสร้างคาํ ซอ้ นระหวา่ งคาํ ไทยกบั องั กฤษ ๙. ตดั สิน พดั วี หนา้ ตา เป็นการสร้างคาํ ซอ้ นที่เป็นคาํ ไทยกบั คาํ ไทย ๑๐. รูปภาพ เป็นคาํ ซอ้ นท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤต
๕ ใบงานท่ี ๒ เร่ือง ชนิดของคาซ้อน ตอนท่ี ๑ ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาคาํ ที่กาํ หนดให้ แลว้ ระบุวา่ คาํ ใดเป็นคาํ ซอ้ นเพ่ือเสียง คาํ ใดเป็น คาํ ซอ้ นเพ่ือความหมาย พดั วี เซ่อซ่า โอเ้ อ้ งี่เง่า เพาะปลูก เกะกะ บา้ นเรือน ทอ้ แท้ ถูกแพง ชวั่ ดี คาซ้อนเพอื่ ความหมาย คาซ้อนเพอ่ื เสียง .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. ............................. .............................. ............................. .............................. ............................. ..............................
๖ คาซา้ คาํ ซ้ํา คือ คําที่เกิดจากคาํ มูลซ่ึงเหมือนกันท้ังเสียงและความหมาย นํามาเรียงกัน โดยสามารถใช้ไมย้ มก (ๆ) แทนคาํ ทา้ ยท่ีซ้าํ เป็ นคาํ มีความหมายใหม่ ซ่ึงอาจมีน้าํ หนกั ยิ่งข้ึน เบาลง แสดงพจน์บอกจาํ นวนมากนอ้ ย หรืออาจเปลี่ยนเป็นอยา่ งอื่น ชนิดของคาซ้า คาํ นาม เช่น ลูก ๆ หลาน ๆ เดก็ ๆ เพอื่ น ๆ เขา ๆ เธอ ๆ คาํ สรรพนาม เช่น เรา ๆ ท่าน ๆ นอน ๆ พดู ๆ หวาน ๆ ผอม ๆ คาํ กริยา เช่น เดิน ๆ นงั่ ๆ บน ๆ ริม ๆ อยา่ งไร ๆ เหมือนๆ คาํ วเิ ศษณ์ เช่น ไกล ๆ ใกล้ ๆ โฮ ๆ อุย๊ ๆ คาํ บุพบท เช่น ใต้ ๆ เหนือ ๆ คาํ สันธาน เช่น ท้งั ๆ ที่ ราว ๆ กบั คาํ อุทาน เช่น ชะ ๆ โอย๊ ๆ ลกั ษณะของการซ้าคาในภาษาไทย ๑. ซ้าํ คาํ เดียวกนั ๒ หน ระดบั เสียงวรรณยกุ ตค์ งเดิม เช่น เร็ว ๆ หนุ่ม ๆ หนกั ๆ ๒. ซ้ําคาํ เดียวกัน ๒ หน โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คาํ หน้า เช่น ว๊านหวาน อร้อยอร่อย จน๊ จน ๓. ซ้าํ คาํ เดียวกนั ๓ หน โดยเนน้ ระดบั เสียงวรรณยุกต์ท่ีพยางค์หลงั ของคาํ หน้า เช่น จืดจื๊ดจืด สวยซว้ ยสวย ๔. ซ้าํ คาํ ประสม ๒ พยางค์ ๒ หน โดยเน้นระดบั เสียงวรรณยุกต์ท่ีพยางค์หลงั ของ คาํ หนา้ เช่น เจบ็ ใจเ๊ จบ็ ใจ ดีใจด๊ ีใจ ยนิ ดี๊ยนิ ดี ๕. ซ้าํ คาํ เดียวกนั ๒ หน ระดบั เสียงวรรณยุกต์คงเดิมแต่เกิดการกร่อนเสียงข้ึนอย่างท่ีบาลี เรียกว่า อพั ภาส และสันสกฤตเรียกว่า อัภยภาส เช่น ลิ่วๆ เป็ น ละลิ่ว , ครืน ๆ เป็ น คระครืน ซ่ึงโดยมากใชใ้ นคาํ ประพนั ธ์
๗ ความหมายของคาซ้า การซ้าํ คาํ ทาํ ใหเ้ กิดความหมายแตกต่างไปจากคาํ เดิม ดงั น้ี ๑. ความหมายแสดงพหูพจน์ มกั เป็นคาํ นามและสรรพนาม เช่น - เดก็ ๆ กาํ ลงั ร้องเพลง พี่ ๆ ไปโรงเรียน หนุ่ม ๆกาํ ลงั เล่นฟุตบอล ๒. ความหมายแยกเป็นส่วน ๆ มกั เป็นลกั ษณะนาม เช่น - คุณแม่หน่ั หมเู ป็นชิ้น ๆ วมิ าลาลา้ งจานใหส้ ะอาดเป็นใบ ๆ สิ ๓. ความหมายเนน้ ความหรือเพมิ่ น้าํ หนกั ความหมายใหช้ ดั เจนข้ึน บางคร้ังเปลี่ยนเสียง ส่วนหนา้ เป็ นวรรณยกุ ตต์ รี เพือ่ เนน้ ความหมายใหเ้ ด่นชดั หรือมีน้าํ หนกั มากยง่ิ ข้ึน เช่น - นางแบบคนน้ีหุ่นด๊ีดี ฉนั เกลี๊ยดเกลียดคนโกหก ๔. ความหมายเบาลงหรือลดน้าํ หนกั ความหมายลง วเิ ศษณ์บางคาํ เม่ือเป็นคาํ ซ้าํ ความหมายคลายความเนน้ หนกั กวา่ เดิม หรือไมจ่ งใจ คาํ ซ้าํ ประเภทน้ีไม่เปลี่ยนเสียงวรรณยกุ ตข์ อง พยางคแ์ รก เช่น - เขายงั เคือง ๆ เธออยนู่ ะ ฝีมือวาดรูปของเขาคลา้ ย ๆ พอ่ ๕. บอกความหมายโดยประมาณ ไม่เจาะจงหรือไม่กาํ หนดแน่นอน ท้งั ที่เก่ียวกบั เวลา และสถานที่ ดงั น้ี ก. บอกเวลาโดยประมาณ เช่น สมศรีชอบเดินเล่นเวลาเยน็ ๆ เขาต่ืนเชา้ ๆ เสมอ ข. บอกสถานท่ีโดยประมาณ เช่น บา้ นฉนั อยแู่ ถว ๆ เอกมยั ตน้ ประดู่ใหญ่อยใู่ กล้ ๆ โรงเรียน ๖. เปล่ียนความหมายใหม่ คาํ ซ้าํ บางคาํ เปลี่ยนความหมายใหม่โดยไม่มีเคา้ ของความหมายเดิม เช่น - หนูรู้เร่ีองน้ีแบบงู ๆ ปลา ๆ (รู้นิดหน่อย) - อยู่ ๆ คุณแม่ก็จูบคุณพอ่ (ไม่คาดคิดมาก่อน) - เรื่องพ้ืน ๆ สบายมาก (ธรรมดา) ๗. บอกคาํ สั่ง วเิ ศษณ์ท่ีเป็นคาํ ซ้าํ เม่ือประกอบกริยา จะเนน้ ความและบอกคาํ ส่งั เช่น - อยเู่ งียบ ๆ พดู ดงั ๆ เดินดี ๆ ๘. แยกคาํ ซอ้ นมาเป็นคาํ ซ้าํ คาํ ซ้าํ บางคาํ เกิดจากการแยกคาํ ซอ้ นมาเป็นซ้าํ กนั เช่น - จืดชืด เป็น จืด ๆ ชืด ๆ พ่ีนอ้ ง เป็น พ่ี ๆ นอ้ ง ๆ
๘ ใบงานที่ ๑ เรื่อง ลกั ษณะของคาซ้า คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนท่ี ๑ ใหน้ กั เรียนใส่เครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ที่ใชค้ าํ ซ้าํ ถูกตอ้ ง และเขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีใชค้ าํ ซ้าํ ไมถ่ ูกตอ้ ง ๑. เธอใชแ้ ปรง ๆ ผมที่ยาวสลวย ๒. ถา้ แน่จริงขอใหม้ าพบกนั ซ่ึง ๆ หนา้ ๓. บา้ นกกุ๊ ไก่อยซู่ อยนา ๆ ถนนสุขมุ วทิ ๔. ลูกนกตวั น้นั ตกน้าํ เปี ยกปอนหนาวจนตวั สัน่ ริก ๆ ทีเดียว ๕. คน ๆ น้ีเป็นคนนิสัยดี ๖. เสียงโทรศพั ทด์ งั กริ๊ง ๆ ปลุกเขาตื่นข้ึนมา ๗. เร่ือย ๆ มารอน ๆ ทิพากรจะตกต่าํ ๘. ใกลส้ อบแลว้ แต่ภมู ิดูเนือย ๆ ไม่ขยนั อา่ นหนงั สือเหมือนเดิม ๙. คน ๆ น้ีไมค่ วรคบคา้ สมาคมดว้ ย ๑๐. เธอแอบถอนหายใจเบา ๆ ดว้ ยความเบ่ือหน่าย
๙ ตอนที่ ๒ จงบอกชนิดของคาํ ซ้าํ ต่อไปน้ีวา่ เป็นคาํ ซ้าํ ชนิดใด (นาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ์ ฯลฯ) ๑. กรี๊ด ๆ ๖. ลูก ๆ ๒. ริม ๆ ๗. พดู ๆ ๓. หวาน ๆ ๘. ชะ ๆ ๔. เธอ ๆ ๙. ผอม ๆ ๕. อยา่ งไร ๆ ๑๐. ใต้ ๆ ทาํ ไดใ้ ช่ไหมคะ ถกู ตอ้ งแน่เลย
๑๐ ใบงานที่ ๒ เร่ือง ความหมายของคาซ้า คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนท่ี ๑ จงบอกความหมายของคาํ ซ้าํ ตอ่ ไปน้ี โดยนาํ ตวั อกั ษรเติมลงหนา้ ขอ้ ใหถ้ ูกตอ้ ง ก. บอกพหูพจน์ ข. เนน้ ความ ค. ไมเ่ จาะจง ง. แยกเป็นส่วน จ. บอกคาํ สง่ั ฉ. ความหมายเปล่ียนไป ๑. พวกท่ีนงั่ หนา้ ๆ ลุกข้ึนตอบซิ ๒. กวาดพ้ืนส่ง ๆ อยา่ งน้ีจะสะอาดไดอ้ ยา่ งไร ๓. นกั เรียนรุ่นแรก ๆ ท่าทางขนั แขง็ ดี ๔. ของชิ้นไหนไม่ใชแ้ ลว้ ใหน้ าํ มารวมไวเ้ ป็นกอง ๆ ๕. เดิน ดีๆ เด๋ียวกเ็ หยยี บตะปูหรอก ๖. งานน้ีไมช่ อบกท็ าํ ไปพลาง ๆ ก่อนนะ ๗. สาว ๆ ยกขนมไปท่ีสนามหน่อยจะ๊ ๘. ลูกใครน่ารักจริง ๆ ๙. นกั เรียนเงียบ ๆ หน่อยค่ะ ๑๐. ครูของฉนั ใจด๊ีดี
๑๑ ตอนท่ี ๒ จงจดั คาํ ซ้าํ ต่อไปน้ีใหเ้ ขา้ กบั ลกั ษณะความหมาย พี่ ๆ หนา้ ๆ ดุด๊ ุ คลา้ ย ๆ ใคร ๆ เด็ก ๆ กลว้ ย ๆ ชิ้น ๆ ซว้ ยสวย เกลี๊ยดเกลียด หอ้ ง ๆ แด๊งแดง ลูก ๆ นอ้ ย ๆ ส่ง ๆ แทง่ ๆ เคม้ เคม็ ลวก ๆ เฉย ๆ พ้ืน ๆ เบา ๆ ชา้ ๆ หมู ๆ ใบ ๆ สาว ๆ ๑ พหูพจน์ ๒. ความหมายเนน้ หนกั ๓. ความหมายเบาลง ๔. ความหมายแยกเป็นส่วน ๕. เปล่ียนความหมายใหม่
๑๒ ตอนที่ ๓ จงเติมคาํ ซ้าํ ลงในช่องวา่ งใหป้ ระโยคมีความหมายชดั เจน ๑. ทาํ งานส่งครูท้งั ที่ตอ้ งทาํ ให้ ................... หน่อย ๒. เม่ือวานน้ีฝนตก ......................................... ท้งั วนั ๓. สมชายแตง่ ตวั ............................. ไปที่ไหน ๆ ก็ไมเ่ ป็นจุดเด่นใหใ้ ครสงั เกต ๔. เขียนหนงั สือตวั ............................ ไมไ่ ดห้ รือ คนขา้ งหลงั จะไดม้ องเห็น ๕. ฉนั อุตส่าห์เลือกเส้ือ .......................................... ให้ เขาก็ยงั ไมพ่ อใจอีก ๖. เร่ือง ............................... แค่น้ีปล่อยใหย้ ดื เย้อื อยไู่ ด้ ๗. ทบทวนให้ ................................ ก่อนที่จะลงมือทาํ ๘. วนั น้ีฟ้ าร้อง .................................. ท้งั วนั ๙. ร้องเพลงชาติให้ ......................... นะ เพอ่ื แสดงถึงความภาคภูมิใจในเอกราชของชาติไทย ๑๐. เลขขอ้ น้ีใชค้ วามรู้ ................................ กท็ าํ ไดแ้ ลว้ เพอื่ ความถูกตอ้ ง ตรวจดูคาํ เฉลย ดว้ ยตนเองนะคะ ... ไม่ยากเลยคะ่
๑๓ คาสมาส คาํ สมาส คือการนาํ คาํ ท่ีมาจากภาษาบาลีและสนั สกฤตต้งั แต่ ๒ คาํ ข้ึนไป มารวมกนั ให้ เป็นคาํ เดียว ทาํ ใหเ้ กิดคาํ ใหมท่ ี่มีความหมายใหม่ แตย่ งั คงเคา้ ความหมายเดิมอยู่ คาทมี่ าจากภาษาบาลแี ละสันสกฤตมหี ลกั โดยทว่ั ไป ดังนี้ หลกั สังเกตภาษาบาลแี ละสันสกฤต บาลี สันสกฤต ๑. ใชส้ ระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เช่น ๑. ใชส้ ระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ และเพ่มิ ฤ บิดา บุรี บุญ บชู า เมตตา ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา เช่น ไมตรี ฤกษ์ ฤดู ฤทธ์ิ ไพศาล เมาลี เสาร์ ๒. ใช้ ส เช่น สาสนา สนั ติ วสิ าสะ ๒. ใช้ ศ ษ เช่น ศิษย์ ศานติ พศิ วาส ศาลา สาลา สีสะ ศีรษะ ๓. ใช้ ฬ เช่น กีฬา จุฬา ครุฬ ๓. ใช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ ๔. ใชพ้ ยญั ชนะเรียงพยางค์ เช่น ปฐม ปณีต ๔. ใชอ้ กั ษรควบกล้าํ เช่น ประถม ประณีต จกั ร จกั ก สจั ปชา กิริยา สามี ฐาน ถาวร ประชา กริยา สวามี สถาน สถาวร ๕. ใชพ้ ยญั ชนะสะกดและตวั ตามตวั เดียวกนั ๕. ใชต้ วั รร แทน ร (ร เรผะ) เช่น ธรรม เช่น ธมั ม กมั ม กรรม มรรค จรรยา สุวรรณ ๖. มีหลกั ตวั สะกดตวั ตามท่ีแน่นอน ๖. ไม่มีหลกั ตวั สะกดตวั ตาม
๑๔ หลกั ตัวสะกดตวั ตามสาหรับสังเกตคาทม่ี าจากภาษาบาลมี ดี ังนี้ วรรค ช่ือเรียก ฐานท่ีเกิด ๑ พยญั ชนะแถวท่ี ๔ ๕ ๒๓ ฆ ง วรรค กะ กณั ฐชะ ฐานคอ ก ขค ฌ ญ วรรค จะ ฉช ฒ ณ วรรค ฏะ ตาลุชะ ฐานเพดาน จ ฐฑ ธ น วรรค ตะ ถท ภ ม วรรค ปะ มุทธชะ ฐานป่ ุมเหงือก ฏ ผพ เศษวรรค ทนั ตชะ ฐานฟัน ต โอษฐชะ ฐานริมฝีปาก ป ย ร ล ว ส ห ฬ º( ศ ษ ) ๑. พยญั ชนะแถวที่ ๑ เป็นตวั สะกด ตามดว้ ยพยญั ชนะแถวที่ ๑, ๒ เช่น อุกกาบาต สักกะ สกั การะ จกั กะ ภิกขุ จกั ขุ รุกขะ ทุกข์ สัจจะ ปัจจยั มจั จุ ปัจจุบนั มจั ฉา ปุจฉา อิจฉา อจั ฉรา วฏั ฏะ (วฏั ) ทิฏฐิ (ทิฐิ) รัฏฐ(รัฐ) อฏั ฐ(อฐั ) อฏั ฐิ(อฐั ิ) อิฏฐ์(อิฐ) สัตตะ อตั ตา เมตตา รัตตะ อตั ถ์ หตั ถ์ อตั ถี หตั ถี กปั ป์ (กปั ) สิปปะ บุปผา บปั ผาสะ ๒. พยญั ชนะแถวที่ ๓ เป็ นตวั สะกด ตามดว้ ยพยญั ชนะแถวท่ี ๓, ๔ เช่น อคั คะ อคั คี มคั คะ สัคคะ พยคั ฆ์ อุคโฆส วชิ ชา เวชชา วิชชุ วชั ชะ อชั ฌาสัย อุปัชฌาย์ วฑุ ฒิ(วุฒิ) อฑั ฒ (อฒั ) วฑั ฒน (วฒั น) สทั ทะ สมุทท สิทธิ ลทั ธิ พทุ ธ อิทธิ สุทธิ ทพั พี ทิพพะ สพั พะ ๓. พยญั ชนะแถวที่ ๕ เป็ นตวั สะกด ตามดว้ ยพยญั ชนะแถว ๑ - ๕ ในวรรคเดียวกนั เช่น สังกร องั กรู สังข์ สังขาร สงฆ์ ชงฆ์ องั คาร สัญญา กญั ญา กุญชร สัญจร ปัญจะ บุญญ กุณฑล มณฑล สัณฐาน กณั ฐ์ กุณฑ์ เกณฑ์ สันติ สันธาน สันถาร สนทนา นนั ท์ คมั ภีร์ กุมภีล์ กมั พล กมั ปนาท สมั ผสั ๔. ตวั ย ตามดว้ ย ย, ล ตามดว้ ย ล, ส ตามดว้ ย ส เช่น อยั ยกา (อยั กา) อยั ยกิ า อุยยาน บลั ลงั ก์ จุลล กลั ละ วลั ลภ อิสสระ (อิสระ) อิสสริยะ(อิสริยะ) อสั สะ มสั สุ อสั สาสะ ปัสสาสะ ปัสสาวะ พสั สะ หสั สะ ลิสสะ อิสสา รัสสะ อสั สุ การนาํ ภาษาบาลีและสันสกฤต มาใช้ บางคร้ังเรากใ็ ชท้ ้งั สองคาํ ในความหมายเดียวกนั หรือใกลเ้ คียงกนั เช่น
๑๕ วธิ ีสร้างคาสมาส ๑. คาํ ต้งั แตส่ องคาํ ข้ึนไปท่ีมีรากศพั ทม์ าจากบาลีและสันสกฤตเทา่ น้นั เช่น - วทิ ย์ (สันสกฤต) + ศาสตร์ (สนั สกฤต) = วทิ ยาศาสตร์ - อคั คี (บาลี) + ภยั (บาลี) = อคั คีภยั - โจร (บาลี) + กรรม (สันสกฤต) = โจรกรรม ถา้ คาํ ท่ีนาํ มาสร้างน้นั คาํ ใดคาํ หน่ึงไมใ่ ช่บาลีหรือสันสกฤตจะไม่นบั วา่ เป็นคาํ สมาส เช่น - สรรพ (สันสกฤต) + ส่ิง (ไทย) = สรรพสิ่ง (ประสม) - ราช (บาลี) + วงั (ไทย) = ราชวงั (ประสม) - คริสต์ (องั กฤษ) + ศกั ราช (สันสกฤต) = คริสตศกั ราช (คาํ ประสม) ๒. ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาํ หน้ามีรูปสระ ะ หรือตวั การันต์ ต้องตดั สระหรือ ไมท้ ณั ฑฆาต ( ์์) ออก เช่น - ศิลปะ + ศึกษา = ศิลปศึกษา - แพทย์ + ศาสตร์ = แพทยศาสตร์ - ธุระ + กิจ = ธุรกิจ ๓. การเรียงคาํ เขา้ สมาส คาํ ที่เป็นคาํ หลกั จะวางไวห้ ลงั คาํ ขยายจะวางไวห้ นา้ เมื่อแปล ความหมายจะตอ้ งแปลจากหลงั มาหนา้ เช่น - ภมู ิศาสตร์ หมายถึง วชิ าที่วา่ ดว้ ยโลก - ราชโอรส หมายถึง ลูกชายพระราชา - กาฬพกั ตร์ หมายถึง หนา้ ดาํ - วรรณคดี หมายถึง เร่ืองราวของหนงั สือ ๔. การออกเสียงคาํ สมาส ตอ้ งออกเสียงสระที่พยางค์สุดทา้ ยของคาํ หน้า ถา้ พยางค์ สุดทา้ ยของคาํ หนา้ ไม่มีรูปสระกาํ กบั ใหอ้ ่านออกเสียง อะ เช่น - รัฐ + ศาสตร์ = รัฐศาสตร์ อ่าน รัด – ถะ – สาด - ภมู ิ + ทศั น์ = ภูมิทศั น์ อ่าน พมู – มิ – ทดั - พชื + มงคล = พชื มงคล อ่าน พดื – ชะ - มง – คน ๕. คาํ บาลี – สันสกฤต ซ่ึงมีคาํ ว่า “พระ” ซ่ึงแผลงมาจาก “วร” ที่เป็ นภาษาบาลี ประกอบขา้ งหนา้ จดั วา่ เป็นคาํ สมาสเช่นเดียวกนั - พระ + กรรณ = พระกรรณ - พระ + ขรรค์ = พระขรรค์ - พระ + โอษฐ์ = พระโอษฐ์
๑๖ ในทางตรงกนั ขา้ ม คาํ วา่ “พระ” อยขู่ า้ งหนา้ คาํ ภาษาอื่นท่ีไม่ใช่ภาษาบาลี – สันสกฤต คาํ น้นั ไม่ใช่คาํ สมาส เช่น พระ + เขนย = พระเขนย “เขนย”เป็ นคาํ เขมร ดงั น้นั คาํ วา่ “พระเขนย” จึงไม่ใช่ คาํ สมาส ๖. คาํ ส่วนใหญ่ที่ลงทา้ ยดว้ ยคาํ วา่ กิจ การ กรรม กร ศึกษา ภยั สถาน ภาพ วิทยา ศิลป์ ธรรม ศาสตร์ - เศรษฐกิจ ราชการ เกษตรกรรม กรรมการ สุขศึกษา อุทกภยั โบราณสถาน จินตภาพ ชีววทิ ยา นาฏศิลป์ คุณธรรม รัฐศาสตร์ ข้อสังเกตคาสมาส ๑. คาํ สมาสบางคาํ ไม่อา่ นออกเสียงรูปสระระหวา่ งคาํ หนา้ และคาํ หลงั เช่น - เกียรตินิยม อา่ นวา่ เกียด - นิ - ยม - ชาตินิยม อ่านวา่ ชาด - นิ - ยม - ธาตุเจดีย์ อ่านวา่ ทาด - เจ - ดี ๒. คาํ สมาสบางคาํ อ่านออกเสียงไดท้ ้งั แบบมีพยางคเ์ ช่ือมระหวา่ งคาํ หรือแบบไม่อ่าน ออกเสียงพยางคเ์ ชื่อมก็ได้ เช่น - ประถมศึกษา อ่านวา่ ประ - ถม - สึก - สา หรือ ประ - ถม - มะ - สึก - สา - สงั คมนิยม อา่ นวา่ สงั - คม - นิ - ยม หรือ สงั - คม - มะ - นิ - ยม - รสนิยม อ่านวา่ รด - นิ - ยม หรือ รด - สะ - นิ - ยม ๓. ช่ือจงั หวดั ท่ีลงทา้ ยดว้ ย “บุรี” บางชื่อก็อ่านออกเสียงเชื่อมระหว่างคาํ บางช่ือก็ไม่ อ่านออกเสียงเชื่อม บางชื่อกอ็ า่ นไดท้ ้งั สองอยา่ ง เช่น - จนั ทบุรี อ่านวา่ จนั - ทะ - บุ - รี - ชลบุรี อา่ นวา่ ชน - บุ - รี - เพชรบุรี อ่านวา่ เพด็ - บุ - รี หรือ เพด็ - ชะ - บุ - รี ๔. คาํ สมาสส่วนใหญ่จะแปลจากหลงั มาหนา้ แต่ก็มีคาํ สมาสบางคาํ ที่แปลจากหนา้ ไป หลงั เช่น - มณฑลพิธี หมายถึง บริเวณพธิ ี - ผลกรรม หมายถึง ผลของกรรม - ผลบุญ หมายถึง ผลของบุญ
๑๗ ใบงานที่ ๑ เรื่อง ความหมายและการอ่านคาสมาส คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนอา่ นโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนที่ ๑ จงเขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีกล่าวถูกตอ้ ง และ เขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ที่กล่าวไม่ถูกตอ้ ง ๑. คาํ สมาสเกิดจากคาํ บาลี สันสกฤตเท่าน้นั ๒. คาํ สมาสคือคาํ มลู ต้งั แต่ ๒ คาํ ข้ึนไป ๓. คาํ สมาสพยางคท์ า้ ยของคาํ หนา้ ไม่ประวสิ รรชนีย์ หรือเป็นตวั การันต์ ๔. การแปลความหมายคาํ สมาสโดยมากแปลจากคาํ หลงั ไปคาํ หนา้ ๕. การอา่ นคาํ สมาสตอ้ งอ่านออกเสียงตอ่ เนื่องกนั ๖. คณิตศาสตร์ เกิดจาก คณิต + ศาสตร์ ๗. ผลผลิตเป็นคาํ สมาสเพราะเป็นคาํ บาลี สนั สกฤต ๘. ผลไมเ้ ป็นคาํ สมาสท่ีเกิดจาก ผล + ไม้ ๙. ชลบุรี ไม่ใช่คาํ สมาส เพราะไม่ไดอ้ ่านออกเสียงต่อเนื่อง ๑๐. คาํ ที่มี “พระ” นาํ หนา้ คาํ บาลีสันสกฤตจดั เป็นคาํ สมาส
๑๘ ใบงานท่ี ๒ เร่ือง ความหมายและการสร้างคาสมาส ตอนท่ี ๒ จงรวมคาํ ตอ่ ไปน้ีใหเ้ ป็นคาํ สมาสที่ถูกตอ้ ง ๑. อุบตั ิ + เหตุ ..................................................................................... ๒. แพทย์ + ศาสตร์ ..................................................................................... ๓. ศิลปะ + ศาสตร์ ..................................................................................... ๔. สวสั ด์ิ + ภาพ ..................................................................................... ๕. สิทธ์ิ + บตั ร ..................................................................................... ๖. กาญจน์ + บุรี ..................................................................................... ๗. อิสระ + ภาพ ..................................................................................... ๘. ภมู ิ + ศาสตร์ ..................................................................................... ๙. สนั ติ + ภาพ ..................................................................................... ๑๐. ปฐม + ฤกษ์ .....................................................................................
๑๙ ใบงานท่ี ๓ เร่ือง การสร้างคาสมาส คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนที่ ๑ จงแยกคาํ สมาสตอ่ ไปน้ี ๑. วทิ ยฐานะ .................................................................................... ๒. มธั ยมศึกษา .................................................................................... ๓. สุนทรพจน์ .................................................................................... ๔. วรรณคดี .................................................................................... ๕. ทศั นคติ .................................................................................... ๖. อกั ขรวธิ ี .................................................................................... ๗. กิจการ .................................................................................... ๘. ประวตั ิศาสตร์ .................................................................................... ๙. ธุรกิจ .................................................................................... ๑๐. อิสรภาพ ....................................................................................
๒๐ ตอนที่ ๒ จงเติมคาํ ลงในช่องวา่ งใหส้ มาสกบั คาํ ท่ีกาํ หนดให้ ๑. ......................... กิจ .......................... กิจ ๒. ......................... การ .......................... การ ๓. ......................... ษา .......................... ษา ๔. ......................... ภยั .......................... ภยั ๕. ......................... ศาสตร์ .......................... ศาสตร์ ๖. ......................... ภาพ .......................... ภาพ ๗. ......................... กรรม .......................... กรรม ๘. ......................... กร .......................... กร ๙. ......................... บุรี .......................... บุรี ๑๐.......................... ธรรม .......................... ธรรม
๒๑ คาสมาสแบบมีสนธิ คาํ สมาสแบบมีสนธิ เกิดจากการนาํ คาํ บาลีสันสกฤตมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกัน ส้ันเขา้ เป็ นคาํ ใหม่ มีเสียงสละสลวยน่าฟัง ท้งั น้ีเพื่อสะดวกในการประพนั ธ์และการออกเสียง (สนธิ = ตอ่ , เชื่อม , ทาํ ใหต้ ิดกนั , การเช่ือมเสียงใหก้ ลมกลืนกนั ) ลกั ษณะของคาสมาสแบบมีสนธิ ลกั ษณะของคาํ สมาสแบบมีสนธิ สงั เกตไดด้ งั ต่อไปน้ี ๑. มุ่งการนาํ คาํ มาเชื่อมใหเ้ สียงกลมกลืนกนั ๒. คาํ ที่นาํ มาเช่ือมตอ้ งมาจากภาษาบาลีและสนั สกฤต ๓. มีการเปล่ียนเสียงตวั อกั ษรระหวา่ งคาํ ท่ีนาํ มาเชื่อม ๔. การเรียงลาํ ดบั คาํ และการแปลความหมายเหมือนอยา่ งคาํ สมาส ๕. ชนิดของคาํ สมาสแบบมีสนธิมี ๓ ชนิด คือ สระสนธิ พยญั ชนะสนธิ และนิคหิตสนธิ สระสนธิ สระสนธิ คือ การเชื่อมคาํ ให้มีเสียงกลมกลืนกนั ระหว่างเสียงสระพยางค์ทา้ ยของ คาํ หนา้ กบั เสียงสระพยางคแ์ รกของคาํ หลงั เมื่อเชื่อมกนั แลว้ เสียงสระเหลือเพียงเสียงเดียว ซ่ึงอาจ เป็นเสียงสระพยางคท์ า้ ยของคาํ หนา้ หรือเสียงสระพยางคแ์ รกของคาํ หลงั หรือเสียงสระคงที่ หรือ อาจแปลงเป็ นเสียงสระอ่ืน หลกั การสมาสแบบมสี นธิสนธิของสระสนธิ ๑. อะ, อา สนธิกบั อะ, อา เป็น อะ เช่น กต + อํฺชลี = กตญั ชลี ฐาน + อนฺตร = ฐานนั ดร นิร + อนฺตร = . มหา + อรฺณว = . มหา + อหศั จรรย์ = . อน + อนฺต = .
๒๒ ๒. อะ, อา สนธิกบั อะ, อา เป็น อา เช่น กุมภ + อาพนฺธ = กมุ ภาพนั ธ์ ขีปน + อาวธุ = ขีปนาวธุ คงคา + อาลย = . คมน + อาคม = . เทศ + อภิบาล = . ธรฺม + อาสน = . ธํฺญ + อาหาร = . นิร + อาศา = . ปรฺณ + อนุกรม = . ปรม + อณุ = . พล + อนามยั = . พนฺธน + อาการ = . พทุ ธ + องฺกุล = . พุทธ + อนุสติ = . ภตฺต + อาคาร = . มกร + อาคม = . เมษ + อายน = . ราช + อนุสรณ์ = . รชต + อภิเษก = . วน + อาลย = . วจน + อรฺถ = . วจน + อนุกรม = . วฤษฺภ + อาคม = . ศพฺท + อนุกรม = . ศิลป + อากร = . สต + องฺค = . สปฺต + อห = . อน + อามยฺ = . ๓. อะ, อา สนธิกบั อิ, อี เป็น อิ อี เอ เช่น จุลฺล + อินฺทูริย = จุลินทรีย์ นร + อินฺทฺร = นรินทร์, นเรนทร์ คช + อินฺทฺร = . มหา + อิสิ = . ปรม + อินฺทฺร = . ๔. อะ, อา สนธิกบั อุ, อู เป็น อุ อู โอ เช่น กศุ ล + อุปาย = กุศโลบาย นย + อุปายฺ = นโยบาย นร + อตฺตม = . มหา + อุฬาร = . ราช + อุปาย = . ราช + อุปโภค = . วชฺร + อุทย = . วร + อุตฺตม = . สุริย + อุทย = . อรุณ + อุทย = .
๒๓ ๕. อะ, อา สนธิกบั เอ, โอ, เอา เป็น เอ, ไอ, โอ, เอา เช่น ชิน + โอรส = ชิโนรส ปิ ย + โอรส = ปิ โยรส พุทธ + โอวาท = . วร + โอกาส = . มหา + ไอศฺวรฺย = . อน + เอก = . ๖. อิ, อี สนธิกบั อิ, อี เป็น อิ อี เช่น กริน + อินฺทร = กรินทร์ ปติ + อินฺทร = . ธานี + อินฺทร = . ไพรี + อินฺทร = . ๗. อิ, อี สนธิกบั สระอื่น แปลง อิ เป็น ย แลว้ จึงนาํ มาสนธิ เช่น อคั คี (อคั ย) + โอภาส = อคั โยภาส สามคั คี (สามคั ย) + อาจารย์ . ๘. อุ, อู สนธิกบั อุ, อู เป็น อุ, อู เช่น ครุ + อุปกรณ = อุปกรณ์ ครุ + อุปการ = . ๙. อุ, อู สนธิกบั สระอ่ืน แปลง อุ, อู เป็น ว แลว้ จึงนาํ มาสนธิ เช่น ธนู (ธนว) + อาคม = ธนั วาคม สินธุ (สินธว) + อานนท์ = . พยญั ชนะสนธิ พยญั ชนะสนธิ คือ การเช่ือมคาํ ให้เสียงกลมกลืนกัน ระหว่างคําท่ีสุดศัพท์ด้วย พยญั ชนะกบั คาํ ท่ีข้ึนตน้ ดว้ ยพยญั ชนะ เมื่อสนธิแลว้ มีลกั ษณะคลา้ ยเป็นคาํ สมาส ๑. เปลี่ยน ส เป็น โอ เช่น มนสฺ + รถ = มโนรถ มนสฺ + ภาว = มโนภาพ มนสฺ + มย = . มนสฺ + รมย = . ยสสฺ + ธร = . สรสฺ + ช = . รหสฺ + ฐาน = . ศิรสฺ + เวฐน = . ๒. คาํ หนา้ ที่ลงทา้ ยดว้ ยพยญั ชนะ น ใหล้ บ น ทิ้ง เช่น พฺรหฺมนฺ + ชาติ = พรหมชาติ อาตฺมนฺ + ภาว = อาตมภาพ โรมนฺ + ศ = . จรฺมนฺ + การ = . ๓. คาํ หนา้ ซ่ึงเป็น นิสฺ, ทุสฺ แผลง ส เป็น ร เช่น นิสฺ + ภย = นิรภยั นิสฺ + มล = . นิสฺ + มิต = . ทุสฺ + พิษ = .
๒๔ นิคหติ สิ นธิ นิคหิตสนธิหรือนฤคหิตสนธิ คือ การเชื่อมเสียงของคาํ ที่มีนิคหิตหรือมีพยางคท์ า้ ยเป็ น นิคหิตกบั คาํ อ่ืน ๆ เม่ือสนธิแลว้ นิคหิตจะเปลี่ยนเป็ น ง ญ ณ น ม ซ่ึงเป็ นพยญั ชนะทา้ ยวรรค มีหลกั ในการสนธิ ดงั น้ี ๑. นิคหิตสนธิกบั พยญั ชนะวรรค กะ (ก ข ค ฆ ง) แผลงนิคหิตเป็น ง เช่น สํ + คม = สงั คม สํ + คฺรห = . สํ + คีต = . สํ + ขาร = . ๒. นิคหิตสนธิกบั พยญั ชนะวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ) แผลงนิคหิตเป็ น ญ เช่น สํ + จร = สัญจร สํ + ชาติ = . สํ + ญา = . ๓. นิคหิตสนธิกบั พยญั ชนะวรรค ฏะ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) แผลงนิคหิตเป็น ณ เช่น สํ + ฐาน = . ๔. นิคหิตสนธิกบั พยญั ชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) แผลงนิคหิตเป็น น เช่น สํ + ตน (ตาน) = . สํ + นิษฐาน = . สํ + ธาน = . ๕. นิคหิตสนธิกบั พยญั ชนะวรรค ปะ (ป ผ พ ภ ม ) แผลงนิคหิตเป็น ม เช่น สํ + ผสฺส = . สํ + มน = . สํ + ภาษณ = . สํ + ปตฺติ = . ๖. นิคหิตสนธิกบั พยญั ชนะวรรค เศษวรรค (ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ) แผลงนิคหิต เป็น ง เช่น สํ + วร = . สํ + สย = . สํ + สรฺค = . สํ + สนทนา = . ๗. นิคหิตสนธิกบั สระ (พยางคแ์ รกของคาํ หลงั เป็นสระ) แผลงนิคหิตเป็น ม เช่น สํ + อช = สมชั ชา สํ + อย = สมยั สํ + อุทย = . สํ + อาคม = .
๒๕ ใบงานที่ ๑ เรื่อง ความหมายและลกั ษณะคาสมาสแบบมสี นธิ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนที่ ๑ จงเขียนเคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีกล่าวถูกตอ้ ง และ เขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีกล่าวไมถ่ ูกตอ้ ง ๑. คาํ สมาสแบบมีสนธิคือการนาํ คาํ มูลมาเชื่อมกนั ๒. คาํ สมาสแบบมีสนธิเป็นการนาํ คาํ บาลีสนั สกฤตมาเช่ือมกนั เท่าน้นั ๓. คาํ สมาสแบบมีสนธิมีการกลืนเสียงซ่ึงยากแก่การแยกเป็น ๒ คาํ ๔. คาํ สมาสแบบมีสนธิต่างจากคาํ สมาสในลกั ษณะการเปล่ียนแปลงตวั อกั ษร เป็นสาํ คญั ๕. คาํ สมาสแบบมีสนธิเกิดจากพยางคห์ ลงั ของคาํ แรก + พยางคห์ นา้ ของคาํ หลงั มาเช่ือมเสียงกนั ๖. คาํ สมาสแบบมีสนธิส่วนใหญจ่ ะมีตวั อ เป็ นตวั เชื่อม เม่ือเช่ือมกนั แลว้ ตวั อ จะหายไป เหลือแต่สระที่กลืนเสียงกนั เป็นคาํ ใหม่
๒๖ ใบงานท่ี ๒ เร่ือง ลกั ษณะคาสมาสแบบมีสนธิ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนท่ี ๑ จงตอบคาํ ถามต่อไปน้ี ก. ข้อใดไม่ใช่สระสนธิ ๑. ก. นิรันดร ข. คมนาคม ค. สญั ญา ค. มโหฬาร ๒. ก. อนามยั ข. ยโสธร ค. จราจร ค. ภตั ตาคาร ๓. ก. สมาธิ ข. กตญั ชลี ค. นรินทร์ ๔. ก. นิราศ ข. มโนรถ ค. ธญั ญาหาร ค. รโหฐาน ๕. ก. พลานามยั ข. เนรมิต ค. ไพรินทร์ ค. รโหฐาน ข. ข้อใดไม่ใช่พยญั ชนะสนธิ ค. วโรกาส ๖. ก. นิรภยั ข. ยโสธร ค. สญั จร ค. มหรรณพ ๗. ก. อเนก ข. มโนภาพ ค. สมุทยั ค. สรรพากร ๘. ก. ชิโนรส ข. ศิโรเพฐน์ ค. สันธาน ๙. ก. มโนรมย์ ข. ธนั วาคม ๑๐. ก. พรหมชาติ ข. นิรทุกข์ ค. ข้อใดไม่ใช่นิคหติ สนธิ ๑๑. ก. สิงหาคม ข. สันนิษฐาน ๑๒. ก. สัมภาษณ์ ข. สมั มนา ๑๓. ก. สุริโยภาส ข. สมาคม ๑๔. ก. สโมสร ข. สนั ดาน ๑๕. ก. สัมพทุ ธ ข. สารานุกรม ขอ้ ใดไม่มน่ั ใจ กลบั ไปทบทวน เน้ือหาใหม่นะจ๊ะ ใบงานท่ี ๓
๒๗ เร่ือง ลกั ษณะคาสมาสแบบมีสนธิ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แลว้ เขียนคาํ ตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของนกั เรียนเอง ตอนที่ ๑ จงแยกคาํ สมาสแบบมีสนธิต่อไปน้ี ๑. พฤษภาคม = ......................................................... ๒. บดินทร์ = ......................................................... ๓. อมรินทร์ = ......................................................... ๔. ศิลปากร = ......................................................... ๕. สุขาภิบาล = ......................................................... ๖. มคั คุเทศก์ = ......................................................... ๗. ปิ โยรส = ......................................................... ๘. ธนาคาร = .........................................................
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: