Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระบี่กระบอง 12 ไม้รำ

กระบี่กระบอง 12 ไม้รำ

Published by PE 058, 2022-03-09 18:44:15

Description: สื่อสอนท่ารำกระบี่กระบอง

Search

Read the Text Version



คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นวัตกรรม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ ก า ร สื่ อ ส า ร ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้ (1133304) เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง กระบี่กระบอง ประวัติ ความเป็นมาในประเทศไทย ประโยชน์ของการเล่น อุปกรณ์การเล่น เครื่องแต่งกาย ท่าไม้รำ12ท่ารำ และวีดีโอการสอน การขึ้นพรหมนั่ง การขึ้นพรหมยืน รวมทั้งการถวายบังคม เป็นต้น ผู้จัดทำหวังว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้ จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังศึกษาและหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีขอผิด พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ หน้า เรื่อง 1 2 คำนำ 5 สารบัญ 7 บทนำ 8 ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย ประโยชน์ของการเล่นกระบี่กระบอง 9 อุปกรณ์การเล่นกระบี่กระบอง 13 เครื่องแต่งกายของผู้เล่นกระบี่กระบอง 18 พรหมนั่ง - พรหมยืน - การขึ้นพรหมนั่ง 20 - การขึ้นพรหมยืน 22 - การถวายบังคม 24 ท่าไม้รำ12ไม้รำ 26 - ไม้รำที่1 ลอยชาย 28 - ไม้รำที่2 ควงทัดหู 31 - ไม้รำที่3 เหน็บข้าง 33 - ไม้รำที่4 ตั้งศอก 36 - ไม้รำที่5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง 39 - ไม้รำที่6 ควงป้องหน้า 40 - ไม้รำที่7 ท่ายักษื 42 - ไม้รำที่8 สอยดาว 44 - ไม้รำที่9 ควงแตะ 46 - ไม้รำที่10 หนุมานแหวกฟองน้ำ - ไม้รำที่11 ลดล่อ - ไม้รำที่12 เชิญเทียน คลิปวีดีโอ บรรณานุกรม

~1~ บทนำ กระบี่กระบองเป็นศิลปะป้องกันตัวของไทย ซึ่งสืบทอดมาจาก สมัยบรรพบุรุษหลายชั่วคน จนไม่สามารถที่จะหาแหล่งที่มาและบุคคล ผู้เป็นต้นคิดได้ อย่างไรก็ตามกระบี่กระบองก็ได้แพร่หลายไปในหมู่คน ไทย ปั จจุบันกระบี่กระบองได้กลายเป็นศิลปการกีฬาประจำชาติไทย อ ย่ า ง ห นึ่ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น สั ต ว์ ที่ อ่ อ น แ อ ธ ร ร ม ช า ติ ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ อ า วุ ธ สำ ห รั บ ก า ร ป้องกันตัวมาแต่กำเนิดเหมือนเป็นอย่างสัตว์อื่นทั้งหลาย ซึ่งสัตว์เหล่า นั้นจะมีเขี้ยว เล็บ งา เขา ความสามารถในการดมกลิ่น ตลอดจนความ ว่องไวและอื่นๆเป็นเครื่องมือในการหาอาหารและป้องกันตัว แต่ ร่างกายของมนุษย์ได้รับการพัฒนาขึ้นมาจนได้ระดับที่พอดี เหนือกว่า สัตว์ทั่วๆไปและสิ่งสำคัญที่สุดคือ มนุษย์มีมันสมองมากกว่าสัตว์อื่น ทั้งหมดจึงทำให้อยู่รอดได้ดังจะเห็นว่ามนุษย์สามารถสร้างภาษาพูด มี ความจำที่ดี รู้จักดัดแปลงธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ รู้จักทำการเพาะ ปลูกและใช้อาวุธล่าสัตว์ แต่อาวุธของชนแต่ละหมู่เราย่อมแตกต่างกัน ออกไปตามสภาพแวดล้อมและวัสดุที่อำนวย เช่นบางพวกรู้จักใช้ก้อน หินและไม้บางพวกรู้จักใช้โลหะเป็นต้น จ า ก ภั ย ต่ า ง ๆ ที่ ก ล่ า ว ม า ทำ ใ ห้ ม นุ ษ ย์ เ ริ่ ม รู้ จั ก ก า ร ใ ช้ อ า วุ ธ เ พื่ อ ป้องกันตัวและทำลาย ด้วยการผลิตอาวุธใหม่ๆทุกครั้งได้เพิ่ม ประสิทธิภาพของการทำลายให้มากขึ้น โดยเริ่มจากการใช้ไม้และก้อน หินขว้างปากัน ซึ่งทำให้มีคนตายและบาดเจ็บเพียงเล็กน้อยเท่านั้นก็ได้ เปลี่ยนไปเป็นการใช้ธนู ดาบปืน จนในที่สุดใช้ระเบิดและระเบิด ปรมาณู ซึ่งมีอานุภาพในการทำงานมหาศาล

~2~ ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย สมัยก่อน การรบแต่ละครั้งมนุษย์จะต้องยกพวกเข้าตะลุมบอนกัน อาวุธที่ใช้จึงเป็นพวกที่ใช้ในระยะใกล้ประชิดตัว ของไทยเราก็รู้จักใช้ กระบี่กระบองเป็นอาวุธ และในยามบ้านเมืองสงบก็ใช้การตีกระบี่ ก ร ะ บ อ ง เ ป็ น ก า ร กี ฬ า เ พื่ อ อ อ ก กำ ลั ง ก า ย แ ล ะ ฝึ ก ฝ น ค ว า ม แ ข็ ง แ ก ร่ ง เ พื่ อ เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม เ ส ม อ ที่ จ ะ รั บ ศึ ก ก ร ะ บี่ ก ร ะ บ อ ง เ ป็ น ก า ร กี ฬ า ที่ เ ห ม า ะ ที่สุดในการซ้อมรบ เพราะคล้ายกับการรบจำลอง วัสดุที่หาง่าย คือ เอา หวายมาทำเป็นกระบี่ ดาบ ง้าว ฯลฯ เอาหนังหรือหวายมาทำเป็นโล่ห์ เขน ดั้ง ฯลฯ แล้วก็มาตีกันเล่น หรือแข่งกันเป็นคู่ๆ ดุจจะสู้รบกันใน สนามรบตัวต่อตัวเป็นการฝึกหัดรุกและรับไปในตัว ฝ่ายใดพลาดท่า เสียทีก็จะเจ็บตัวเพราะผู้เล่นไม่ได้สวมเกราะป้องกันตัว จึงเป็นกีฬาที่ ฝึกกายและใจอย่างดีเลิศ ในการฝึกนี้จะยึดหลัก 3 ประการคือ 1.อบรมน้ำใจให้กล้าหาญอยู่เสมอ ไม่ครั่นคร้ามต่อภยันตรายทั้ง ปวง 2.บำรุงกายบำรุงใจแข็งแกร่งมั่นคงอยู่เสมอพร้อมที่จะเผชิญต่อ ความยากลำบากการเกี่ยวกับการรบได้ทุกเมื่อ 3.อบรมและฝึกฝนตนให้แม่นยำชำนาญในวิทยาการอันเกี่ยวกับ การลบโดยเฉพาะ

~3~ วิ ช า ก ร ะ บี่ ก ร ะ บ อ ง ไ ด้ ล ง เ ริ่ ม ส อ น นั ก เ รี ย น พ ล ศึ ก ษ า ก ล า ง ขึ้ น เ ป็ น ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ 2478 โดยขณะนั้นนายนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา ผู้มีความสนใจและมีความรู้ทางด้านนี้มากคนหนึ่ง เป็นอาจารย์ใหญ่ ของโรงเรียนพลศึกษากลาง ทดลองสอนอยู่ 1 ปีได้ผลเป็นที่พึงพอใจ ของท่านผู้ใหญ่ จึงได้กำหนดวิชากระบี่กระบองเข้าไว้ในหลักสูตรของ ประโยคผู้สอนพลศึกษาเมื่อปี 2479 พวกนักเรียนที่จบไปก็ได้รับ ร า ช ก า ร เ ป็ น ค รู ส อ น วิ ช า พ ล ศึ ก ษ า ต า ม จั ง ห วั ด ต่ า ง ๆ ไ ด้ นำ วิ ช า นี้ ไ ป เ ผ ย แพร่ ปรากฏว่าประชาชนคนไทยได้ให้ความสนใจในวิชาศิลปของชาติ ชนิดนี้มาก

~4~ บรมครูแห่งวิชากระบี่กระบอง เมื่อมาถึง พ.ศ.2518 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายใหม่ และได้มีการกำหนดให้ วิชากระบี่กระบองเป็นส่วนหนึ่งของวิชาพลศึกษา ในรายวิชาบังคับ ใน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 และต่อมาในปี พ.ศ.2521 กระทรวงศึกษาฯ ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ห ลั ก สู ต ร มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ต า ม แ น ว แ ผ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ชาติ พุทธศักราช 2520 และได้กำหนดวิชากระบี่ 1 เป็นวิชาบังคับ เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นับแต่นั้นมา

~5~ ประโยชน์ของการเล่นกระบี่กระบอง กระบี่กระบองย่อมีคุณประโยชน์ต่อผู้เล่นเอนกประการ แต่ สามารถสรุปรวมเป็นข้อใหญ่ๆได้ 5 ข้อด้วยกันดังนี้ 1.เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการป้องกันตัว ผู้ที่ได้รับเรียนทางด้านนี้มา สามารถนำมาใช้ในยามคับขัน เช่นในกรณีที่มีศัตรูจะทำร้ายเราแล้วก็ สามารถนำวิชากระบี่กระบองมาใช้ป้องกันตัวผ่อนหนักให้เป็นเบา คือ แทนที่จะเจ็บตัวมากก็กลายเป็นเจ็บตัวน้อยลงหรืออาจจะไม่เป็นอะไร เลยและในขณะเดียวกันก็ยังสามารถทำลายคู่ต่อสู้ได้อีกด้วย หรือใน กรณีที่อาวุธของเราเสียเปรียบ เช่น เขาไม่ด่าแต่เรามีไม้ เขามีไม้ยาว แต่เรามีไม้สั้น เราก็ยังเอาชนะได้และขณะเดียวกันก็มีวิธีทำให้อาวุธ ของศัตรูเป็นประโยชน์แก่เราได้โดยกลับไปทำร้ายเจ้าของๆ มันเอง 2.กระบี่กระบองเป็นพลศึกษาที่ดีอย่างหนึ่ง กล่าวคือเป็นการออก กำลังกายโดยใช้ทุกส่วนของร่างกายคือมีทั้งยืน เดิน วิ่ง นั่ง กระโดด ฯลฯ ต้องใช้กำลังพอสมควรเป็นกีฬาที่เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย ไม่ จำเป็นต้องเหมาะกับผู้ชายเท่านั้น นอกจากนี้ยังเป็นกีฬาที่สร้างความ สนุกสนานให้ทางผู้เล่นและผู้ดูใช้อุปกรณ์น้อยหาง่าย ทนทาน และการ เล่นไม่เปลืองสถานที่แต่ก็มีอันตรายบ้างในกรณีที่พลาดพลั้ง 3.กระบี่กระบองเป็นกีฬาที่ฝึกน้ำใจอย่างดีเลิศ ความกล้าหาญใน เวลาเผชิญกับศัตรูให้มีสติมั่นคง ฝึกความทรหดอดทนของร่างกาย เพราะในเวลาฝึกซ้อมไม่มีการใส่เกราะป้องกันตัว ผู้ฝึกการได้รับบาด เจ็บเล็กน้อย เช่น พกช้ำดำเขียว แตกหรือหักบ้าง เนื่องจากในการฝึก ก ร ะ บี่ ก ร ะ บ อ ง ไ ม่ มี ก ติ ก า ห้ า ม ห รื อ ใ ห้ เ ว้ น จ า ก ก า ร ตี ส่ ว น นั้ น ส่ ว น นี้ ข อ ง ร่างกาย แต่ให้ตีได้ทุกที่เมื่อมีโอกาส เพราะในการเผชิญหน้ากับศัตรู จริงๆนั้นก็ไม่มีกติกาเช่นกัน

~6~ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของผู้เล่นที่จะต้องป้องกันตัวเอง และจะต้องมีน้ำใจ เป็นนักกีฬา จะถือโทษโกรธเคืองไม่ได้ในกรณีที่ได้รับบาดเจ็บผู้เล่นจะ ต้องมีใจยุติธรรมและมีความรับผิดชอบ กล่าวคือต้องไม่ใช้วิธีนี้ไปใน ทางที่ผิด 4.ช่วยฝึกปฏิญาณไหวพริบความว่องไว เพราะการเล่นกระบี่ กระบองผู้เล่นจะเผลอตัวไม่ได้เลย การเปิดตัวเท่ากับเป็นการเปิดช่อง ว่างให้ศัตรู สมองจะต้องสั่งการอยู่ตลอดเวลาวัยวะทุกส่วนของ ร่างกายจะต้องทำงานสัมพันธ์กัน หูตาต้องไว ศัตรูจะเคลื่อนไหวทาง ไหนต้องเห็นและรับรู้เสมอแขน ขา มือ เท้า จะต้องเคลื่อนไหวให้ สอดคล้องรวดเร็ว มิฉะนั้นจะพลั้งพลาดได้ 5.วิชากระบี่กระบองเป็นศิลปการป้องกันตัวประจำชาติไทย มีทั้ง ประโยชน์ ความสนุกสนาน และความสวยงามทางด้านศิลปรวมอยู่ ด้วย จึงทำให้กระบี่กระบองเป็นศิลปการแสดงที่เชิดหน้าชูตาของไทย สามารถอวดชาวต่างชาติได้ จึงนับว่าเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของ ไทยที่ควรจะได้รับการฟื้ นฟูและรักษาไว้

~7~ อุปกรณ์การเล่นกระบี่กระบอง 1.สนาม ไม่จำกัดขอบเขต บริเวณ จะเล่นในที่แจ้งอยู่ที่ร่วมก็ได้ แต่ควรจะมีบริเวณกว้างพอสมควร ไม่มีสิ่งกีดขวางเพราะการเล่นกีฬา ชนิดนี้มีทั้งรุกและรับ ถ้าบริเวณแคบจะทำให้เล่นได้ไม่เต็มที่ อีกทั้งอาจ เ ป็ น อั น ต ร า ย ต่ อ สิ่ ง ที่ อ ยู่ ใ ก ล้ เ คี ย ง ไ ด้ ด้ ว ย 2.เครื่องกระบี่กระบอง เครื่องกระบี่กระบองได้จำลองดัดแปลง มาจากเครื่องอาวุธของไทยในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นอาวุธที่ใช้ในระยะ ประชิดตัวหรือขั้นตะลุมบอน ได้แก่ กระบี่ ดาบ กั้นหยั่น หอก ทวน ง้าว ของง้าว โตมร แหลน หลาว ตะบอง พลอง มีด และกริช ส่วนเครื่อง ป้องกันอาวุธนั้นมี ดั้ง เขน และโล่ห์ ส่วนเครื่องกระบี่กระบองนั้นมี กระบี่ ดาบง้าว พลอง ดั้ง เขน โล่ห์ และไม้สั้น แต่เครื่องกระบี่ที่ จำลองจากอาวุธจริงๆนั้นมีเพียง กระบี่ ดาบ ง้าว และพลองเท่านั้น ส่วนที่เหลือก็เอาของจริงมาเล่น อุปกรณ์เหล่านี้นะกระบี่กระบองมัก เรียกว่า \"เครื่องไม้\" เครื่องกระบี่ทั้งหมดแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1.เครื่องไม้รำ ได้แก่เครื่องกระบี่ที่จำลองมาจากอาวุธจริงมุ่งทาง ด้านสวยงาม มีลวดลายวิจิตร บอบบางไม่แข็งแรง ใช้สำหรับละหมวด กันเวลารำจะต้องระวังไม่ให้เครื่องหมายกระทบกัน จะต้องระวังที่สุด แต่บางครั้งใช้อาวุธยิงลำแสงก็มี 2.เครื่องไม้ตรี ได้แก่เครื่องกระบี่ที่จำลองมาจากอาวุธจริงแต่เอา ไว้สำหรับตี ดังนั้นต้องทำให้เหนียว แข็งแรง เบา และทนทาน

~8~ เครื่องแต่งกายของผู้เล่นกระบี่กระบอง ในสมัยโบราณ รักกระบี่กระบองแต่งตัวแบบนักรบ คือสวมเสื้อ ยันต์ ไม่มีแขนเสื้อ กางเกงขากว้างยาวครึ่งน่อง ต่อมาในสมัยกลาง เปลี่ยนจากกางเกงขากว้างมาเป็นนุ่งผ้านางแบบเขมร ซึ่งไม่สะดวกแก่ ผู้เล่นนัก เพราะเวลาลามันจะยกแข้งยกขาได้ไม่ถนัดนัก ปั จจุบันจึง เปลี่ยนมาแต่งกายแบบนักกีฬาทั่วไป คือใส่กางเกงขาสั้นส่วนเสื้อนั้น จะมีแขนหรือไม่มีแขนก็ได้ สิ่งสำคัญที่สุดในจำนวนเครื่องแต่งกายทั้งหมด ซึ่งจะขาดเสียไม่ ได้คือ \"มงคล\" มงคล คือสายสิญจน์เส้นเล็กๆหลายเส้น มารวมขวั้นเป็นเส้น เดียว ใหญ่กว่าหัวแม่มือเล็กน้อย ยาวพอกดรอบศีรษะของผู้ใหญ่ได้ แล้วรวบปลายทั้งสองข้างเข้าไว้ด้วยกัน ฉะนั้นเมื่อกดเข้าแล้วจะมีรูป ร่างคล้ายไข่ เพื่อความมั่นคงถาวรเขามักหุ้มด้วยผ้าตลอดอัน โดย ปลายทั้งสองยื่นออกมาพอสมควรเหมือนไส้หัวเทียนขี้ผึ้ง มงคลนี้จะนำ เ ข้ า ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า ก่ อ น ที่ จ ะ ส ว ม ใ ส่ ใ ห้ พู ด เ ล่ น ผู้เล่นกระบี่กระบองทุกคนจะสวมมงคลไว้บนศีรษะ เพื่อเป็นสิริ มงคลและสร้างกำลังใจให้แก่ตัวเอง บางคณะ อาจารย์จะเป็นผู้สวม มงคลให้แก่นักเรียนกระบอง

~9~ พรหมนั่ง - พรหมยืน การขึ้นพรหมนั่ง 12 3 34 5 6 78

~10~ 8 99 10 11 12 13 14 14

~11~ 15 15 16 17 17 18 19 20 21

~12~ 21 21 22 23 24

~13~ การขึ้นพรหมยืน 1 23 455 667

~14~ 7 89 9 10 10 10 11 11

~15~ 12 13 14 14 15 15 15 16 17

~16~ 18 18 19 20 20 20 21 21 22

~17~ 22 23 23 24 24 25 25 26 26

~18~ การถวายบังคม 12 3 33 3 45 6

~19~ 67 7 8

~20~ ท่าไม้รำ12ไม้รำ ไม้รำที่1 ลอยชาย 11 2 2 23 4 44

~21~ 5 66

~22~ ไม้รำที่2 ควงทัดหู 11 1 22 3 34 4

~23~ 555

~24~ ไม้รำที่3 เหน็บข้าง 1 11 2 11 3 44

~25~ 5 56 66

~26~ ไม้รำที่4 ตั้งศอก 112 233 4 44

~27~ 55 5

~28~ ไม้รำที่5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง 11 1 22 2 22 3

~29~ 34 4 55 5 55 6

~30~ 6 77 88

~31~ ไม้รำที่6 ควงป้องหน้า 11 1 22 3 34 5

~32~ 55 5

~33~ ไม้รำที่7 ท่ายักษ์ 1 23 4 56 7 89

~34~ 10 11 12 13 14 15 16 17 18

~35~ 19

~36~ ไม้รำที่8 สอยดาว 1 23 4 56 7 89

~37~ 10 11 12 13 14 15 16 17 18

~38~ 19 20 21 22 23 24 25 26 27

~39~ ไม้รำที่9 ควงแตะ 1 23 4 56 7

~40~ ไม้รำที่10 หนุมานแหวกฟองน้ำ 1 23 4 56 7 89

~41~ 10 11 12 13 14 15 16

~42~ ไม้รำที่11 ลดล่อ 1 23 4 56 7 89

~43~ 10 11 12 13

~44~ ไม้รำที่12 เชิญเทียน 1 23 4 56 7 89

~45~ 10 11 12 13

~46~ คลิปวีดีโอ https://www.youtube.com/watch?v=uJLzYnxiM8w

บรรณานุกรม http://anyflip.com/jewrp/yins/basic http://old-book.ru.ac.th/e-book/p/PE281/pe281-1.pdf https://www.educatepark.com/story/history-of-krabi- krabong/ file:///C:/Users/HP/Downloads/permalink.htm


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook