สาเหตุ PE • DVT • Air embolism • Septicemia • Toxemia • Fat embolism
พยาธิสรีรภาพ • Embolus venous circulation เข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้าย • Pulmonary artery capillary ในปอด เพม่ิ แรงต้านในปอด แลกเปลย่ี นก๊าชลดลง • hypoxia
การประเมนิ สภาพ Contrast enhanced spiral CT
ภาวะแทรกซ้อน • Pulmonary hypertention • Pulmonary infarction • กล้ามเนือ้ หัวใจตายและหัวใจวาย • Stroke • ARDS และ shock
COPD
เกณฑ์การวนิ ิจฉัยการเกดิ ปอดอกั เสบ • การมไี ข้สูง หนาวส่ัน เจบ็ หน้าอก • ไอ (Cough) หอบเหน่ือย และมเี สมหะคล้ายหนอง • Gram ‘s stain ตรวจพบเชื้อในเสมหะหรือการเพาะ เชื้อจากเสมหะ
Asthma
Asthma
อาการและอาการแสดง ไอ • หายใจมเี สียงหวดี (Wheezing) ท้งั หายใจ เข้า - ออก • หายใจส้ันและลาํ บาก • แน่นหน้าอก • มเี สมหะข้นเหนียว คนั จมูก
VAP & HAP Ventilator-associated pneumonia and Hospital – Acquired (Nasocomial) Pneumonia
VAP & HAP • ปอดอกั เสบจากการตดิ เชื้อในโรงพยาบาล • พบได้บ่อยจากการตดิ เชื้อจากการใช้เคร่ืองช่วย หายใจ
การรักษา ยากล่มุ anicoagulant ทางหลอดเลอื ดดาํ ให้ Streptokinase, uokinase, tissue plasminogen activator (tPA) ทาํ ผ่าตดั embolectomy
ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล
ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล 1. การหายใจไม่มปี ระสิทธิภาพเนื่องจากถุงลมและ หลอดเลอื ดฝอยมกี ารซึมผ่านของของเหลว (permibility) สูง และความยอมตาม (Compliance) ของปอดลดลง หรือ การขยายตวั ของปอดลดลง
เกณฑ์ผลลพั ธ์ ปลายมอื -ปลายเท้าอุ่น ไม่เขยี ว ABG อยู่ในเกณฑ์ปกติ เสียงหายใจชัดขนึ้ หายใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่หอบเหนื่อย ไม่มเี สียงเสมหะ SpO2 > 95 % สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การพยาบาล ประเมนิ และบนั ทกึ รูปแบบ ลกั ษณะ อตั รา ความลกึ และ เสียงหายใจ ประเมนิ การขยายของทรวงอก จดั ท่าศีรษะสูง (Semi-fowler) ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา ส่งเสริมให้ผู้ป่ วยพกั ผ่อนอย่างเพยี งพอ
ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล 2. การแลกเปลย่ี นก๊าชไม่มปี ระสิทธิภาพเนื่องจากถุง ลมและผนังหลอดเลอื ดฝอยผดิ ปกตจิ าก Surfactant ลดลง/ มลี มิ่ / หรือมกี ารอดุ ตนั ในหลอดเลอื ดฝอยบริเวณปอด
เกณฑ์ผลลพั ธ์ เสียงหายใจชัดขนึ้ หายใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ SpO2 > 95 % ปลายมอื -ปลายเท้าอ่นุ
การพยาบาล ประเมนิ และบันทกึ สัญญาณชีพ และเสียงหายใจ ประเมนิ และบันทกึ CVP และ CO ประเมนิ ภาวะเจบ็ หน้าอกและแน่นหน้าอก ดูแลให้ผู้ป่ วยได้รับออกซิเจน
ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล 3. ขบั เสมหะไม่มปี ระสิทธิภาพเนื่องจากเสมหะออก มากและข้น
เกณฑ์ผลลพั ธ์ เสมหะออกดขี นึ้ เสียงหายใจชัดขนึ้ ทางเดนิ หายใจโล่ง หายใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่หอบเหน่ือย ปลายมอื – ปลายเท้าไม่เขยี ว ไม่มเี สียงเสมหะ
การพยาบาล ประเมนิ airway pressure ทุก 1-2 ชั่วโมง และฟังเสียง ปอดทุก 2-4 ช่ัวโมง ใส่ oral airway ให้อยู่ในท่าทเ่ี หมาะสมและทางเดนิ หายใจโล่ง ดูดเสมหะทุกคร้ังทม่ี เี สมหะ เพอื่ ให้ทางเดนิ หายใจโล่ง ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษาและประเมนิ ผล ของการยา พลกิ ตวั ทุก 1-2 ชั่วโมง เพอ่ื ทาํ ให้มกี ารเคลอ่ื นของเสมหะ
ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล • ผู้ป่ วยวติ กกังวล สับสน เน่ืองจากภาวะหอบ เหน่ือย มีความไม่แน่นอนในการรักษาและ สูญเสียการควบคุมร่ างกาย
99 ข้อมูลสนับขส้อนมุนูลสนับสนุน สีหน้า ท่าทางเครียด เสียงส่ัน มอื สั่น กระตุก นอนไม่หลบั หายใจเร็ว ชีพจรเต้นเร็ว นอนไม่หลบั กระสับกระส่าย โมโหฉุนเฉียวง่าย แยกตนเอง ไม่ให้ความร่วมมอื ในการรักษา
100 วตั ถุประสงค์:- ความเครียด ความวติ กกงั วลลดลง เกณฑ์การประเมนิ ผล สีหน้าสดชื่น ท่าทางผ่อนคลาย เสียงปกติ มอื ไม่ส่ัน ไม่กระตุก นอนหลบั พกั ผ่อนได้ รับรู้ส่ิงต่างๆได้ดี ร่วมมอื ในการรักษา
101 การพยาบาล 1. ประเมนิ พฤตกิ รรมอย่างสมา่ํ เสมอ 2. สร้างสัมพนั ธภาพ 3. ช่วยให้รับรู้สถานท่ี เวลา 4. สัมผสั พูดคุย 5. ลดส่ิงกระตุ้น ส่งเสริมให้พกั ผ่อน 6. ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่ วยและญาติ
ABG (Arterial Blood gas)
Normal ABGs pH = 7.35-7.45 • PCO2 = 35-45 • PO2 = 80 - 100 • HCO3 = 23-27
Respiratory and Metabolic Acidosis and Alkalosis • CO2 is an acid and is controlled by the Respiratory (Lung) system • HCO3 is an alkali and is controlled by the Metabolic (Renal) system • Respiratory response is immediate; Metabolic response can take up to 72 hours to respond (except in patients with COPD who are in a constant state of Compensation!)
ABG Interpretation Step 1: Check the pH: Is it acidotic or alkalotic or normal? pH below 7.35 is acidotic; pH above 7.45 is alkalotic If pH is normal, then the ABG is compensated; if pH not normal, then the ABG is uncompensated
ABG Interpretation (cont’d) Step 2. Check the CO2 and HCO3: If the CO2 (acid) is above 45, the pt is acidotic; if the CO2 is below 35, the pt is alkalotic If the HCO3 is above 27, the patient is alkalotic; if the HCO3 is below 23, the patient is acidotic
ABG Interpretation (cont’d) Step 3 If the CO2 is high (above 45), then the patient is in Respiratory Acidosis; if the CO2 is low (below 35), then the patients is in Respiratory Alkalosis. If the HCO3 is high (above 27), then the patient is in Metabolic Alkalosis; if the HCO3 is low (below 23), then the patient is in Metabolic Acidosis.
ABG Example • pH = 7.45 • CO2 = 37 • HCO3 = 32
• Metabolic Alkalosis
ABG Example • pH = 7.29 • CO2 = 50 • HCO3 = 26
• Respiratory Acidosis
Search