Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพยาบาลผู้ใหญ่2

การพยาบาลผู้ใหญ่2

Published by jantakarn007, 2020-06-02 15:45:11

Description: การพยาบาลผู้ใหญ่2

Search

Read the Text Version

2. ประเมนิ ความพร้อมทางด้านจิตใจและสถานะเศรษฐกิจของผู้ปว่ ย 3. ทีมสหวิชาชพี ประกอบดว้ ย แพทย์ วิสัญญแี พทย์ พยาบาล นกั เทคโนโลยหี วั ใจและทรวง อกนักกายภาพบำบดั ให้ความรแู้ ละคำแนะนำเกี่ยวกับ - สภาพแวดล้อมในหอ้ งผา่ ตดั - ขน้ั ตอนเกีย่ วกับการผา่ ตัด- การให้ยาระงับความรู้สกึ - การปฏบิ ตั ิตวั กอ่ นและหลงั ผ่าตดั - แหล่งประโยชน์ทางดา้ นสงั คม และเศรษฐกจิ • การพยาบาลผ้ปู ่วยเม่ือส่งต่อขอ้ มูลผูป้ ่วยเม่ือยา้ ยมายังหอผู้ป่วย 1. ประวัติผูป้ ่วย ข้อมูลพืน้ ฐาน ได้แก่ ชอ่ื เพศ 2. ชนดิ ของการผ่าตดั หรือความเร่งดว่ นของการผ่าตัด เชน่ ผ่าตดั โดยการมีวางแผน ล่วงหน้าหรือผ่าตดั ฉกุ เฉิน 3. ความสำเรจ็ ของการผ่าตดั หรอื ภาวะแทรกซอ้ นทเ่ี กดิ ข้นึ ระหวา่ งการผา่ ตัด 4. ระยะเวลาในการผา่ ตัด วัสดอุ ุปกรณท์ ่ใี ช้หลอดเลือดเทยี ม 5. ตำแหนง่ และชนดิ ของการผ่าตัด การปิดแผล สายสว่ นตา่ งๆ 6. ชนดิ ของสารน้ำ การใหเ้ ลือดหรือผลิตภัณฑ์ของเลือดทผ่ี ู้ป่วยได้รบั 7. ปริมาณเลอื ดทอ่ี อกขณะผ่าตัด 8. สัญญาณชีพ การใช้เครื่องชว่ ยหายใจ และการใชอ้ ุปกรณเ์ ทยี มตา่ งๆ • การพยาบาลประเมนิ ผปู้ ว่ ยแรกรับ 1. ประเมนิ ระบบประสาทหลังการผ่าตัด ได้ ระดับความรู้สึกตัว การตอบสนองของรูมา่ น ตา ประเมนิ กำลังกลา้ มเนอื้ และการรบั ความร้สู ึก 2. ประเมนิ สัญญาณชีพแรกรับ โดยการประเมินหวั ใจและหลออดเลือด ประกอบดว้ ย อตั ราการเตน้ ของหัวใจ ความดันโลหิต ความดันหลอดเลอื ดดำสว่ นกลาง ความดันโลหิต ในหลอดเลือดแดง 3. ตรวจสอบขนาด และตำแหน่งท่อชว่ ยหายใจ และเทยี บกบั ตำแหน่งท่ีใสจ่ ากห้องผา่ ตัด เพ่อื ประเมินการเลอ่ื นของท่อช่วยหายใจ ขณะเคลื่อนย้าย 4. ประเมนิ ลกั ษณะและอัตราการหายใจ ดคู า่ oxygen saturation ให้อยู่เกณฑท์ ี่แพทย์ ยอมรบั ได้ และตรวจสอบการต้ังคา่ เคร่ืองชว่ ยหายใจ 5. ตรวจสอบยาและสารน้ำท่ีผู้ป่วยไดร้ บั 6. ตรวจสอบความอนุ่ ชืน่ ของผิวหนัง และตรวจชีพจรส่วนปลาย 7. ตรวจสอบลกั ษณะของแผลผา่ ตัด

หน่วยท่ี 8 การพยาบาลผู้ป่วยทมี่ ีภาวะวกิ ฤต หลอดเลือดเอออร์ตา้ ลนิ้ หัวใจ และการฟืน้ ฟู สภาพหวั ใจ ❖ ความหมายของโรคลิ้นหวั ใจ Valvular Heart Disease ความผิดปกติของลน้ิ หวั ใจ อาจเป็นเพยี งลิน้ เดียวหรือมากกวา่ ทำใหม้ ผี ลต่อการทำงาของหัวใจสง่ ผล ต่อระบบไหลเวียนเลือดจนกระทัง่ เกดิ ภาวะหัวใจล้มเหลว ❖ โรคลิน้ หวั ใจไมตรลั ตีบ (Mitral stenosis) มกี ารตีบแคบของลิน้ หวั ใจไมตรลั ทำให้มกี ารขัดขวางการไหลของเลือดลงส่หู ัวใจห้องลา่ งซ้ายในขณะท่ี คลายตวั *คลายล้ินเปดิ บบี ลนิ้ ปิด* • อาการและอาการแสดง 1.Pulmonary venous pressure เพม่ิ ทำให้ -มีอาการหายใจลำบากเมอ่ื ออกแรง (DOE) -อาการหายใจลำบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea) -หายใจลำบากเป็นพักๆ ในตอนกลางคนื (Paroxysmal Noctunal Dyspnea:PND) 2. CO ลดลง ทำใหเ้ หนอ่ื ยงา่ ย อ่อนเพลยี 3. อาจมีภาวะหัวใจเต้นผดิ จังหวะแบบ AF ผปู้ ่วยจะมอี าการใจส่นั 4. อาจเกดิ การอุดตนั ของหลอดเลือดในร่างกาย (Systemic embolism) ❖ โรคลิ้นหวั ใจไมตรลั รวั่ (Mitral regurgitation or Mitral insufficiency) มกี ารรัว่ ของปริมาณเลือด (Stroke volume) ในหวั ใจหอ้ งล่างซ้ายเขา้ สหู่ ัวใจหอ้ งบนซ้ายในขณะที่ หวั ใจบีบตวั *คลายล้ินเปิดบบี ลนิ้ ปิด* • อาการและอาการแสดงแตกต่างกันตามพยาธิสภาพอาการท่ีพบคือ 1.Pulmonary venous congestion ทำใหม้ อี าการ -Dyspnea on exertion (DOE) -Orthopnea -PND 2. อาการท่ีเกิดจาก CO ลดลง คอื เหนื่อยและเพลียง่าย 3. อาการของหวั ใจซีกขวาวายคอื บวมเจ็บบริเวณตบั หรือ เบอ่ื อาหาร ❖ โรคลน้ิ หวั ใจหวั ใจเอออร์ตคิ ตีบAortic stenosis มกี ารตบี แคบของลิน้ หวั ใจเอออร์ตคิ ขัดขวางการไหลของเลือดจากหัวใจห้องลา่ งซ้ายไปสเู่ อออรต์ าร์ ในชว่ งการบีบตัว ❖ โรคลน้ิ หวั ใจเอออร์ติคร่ัวAortic regurgitation มกี ารรัว่ ของปริมาณเลือดทสี่ บู ฉีดออกทางหลอดเลือดแดงเอออร์ตารไ์ หลย้อนกลับเขา้ สู่หัวใจหอ้ งลา่ ง ซา้ ยในชว่ งหัวใจคลายตวั • อาการมากจะพบ DOE Angina ถ้าเป็นมากจะรสู้ กึ เหมอื นมีอะไรต๊บุ ๆ อยทู่ ่ีคอหรือในหวั ตลอดเวลา

❖ การตรวจรา่ งกายในผปู้ ่วยโรคลนิ้ หัวใจ • การถ่ายภาพรังสที รวงอก -พบภาวะหวั ใจโต หรอื มนี ำ้ คั่งท่ีปอด -Echocardiogram ชว่ ยในการวินิจฉยั โรคลิน้ หัวใจไดอ้ ยา่ งมาก • การตรวจสวนหวั ใจชว่ ยในการประเมนิ ว่าลนิ้ หัวใจรวั่ หรอื ตีบมากแคไ่ หน ❖ การรกั ษาโรคล้ินหวั ใจ -ยา ยาที่ใชส้ ว่ นใหญเ่ ปน็ ยากลุ่มเดียวกับทรี่ ักษาภาวะหัวใจวาย เชน่ Digitalis Nitroglycerine Diuretic Anticoagculant drug Antibiotic -การใช้บอลลนู ขยายล้ินหวั ใจ -การรักษาโดยการผา่ ตดั (Surgical therapy) ❖ ลนิ้ หวั ใจเทยี ม (Valvular prostheses) -ทำจากส่งิ สงั เคราะห์ (Mechanical prostheses) ขอ้ เสยี เกิดลิ่มเลือดบริเวณล้นิ หัวใจเทยี ม เม็ดเลือดแดงแตกทำใหเ้ กิดโลหิตจาง (ผปู้ ว่ ยทีไ่ ดร้ ับการผ่าตดั เปลย่ี นลนิ้ หวั ใจเทยี มต้องรบั ประทานยา warfarin หรือ caumadin ไปตลอด ชีวิต) -ลิ้นหวั ใจเทียมท่ที ำจากเนอ้ื เย่ือคนหรอื สตั ว์ (Tissue prostheses) ขอ้ ดีคือ ไม่มีปญั หาเร่ืองการเกดิ ล่มิ เลือด มักใชใ้ นผสู้ ูงอายุ หรือผทู้ ไ่ี ม่สามารถให้ยาละลายลิม่ เลือดได้ แต่อาจต้องรบั ประทานยากดภมู คิ ุม้ กนั ขอ้ เสยี คือ มีความคงทนน้อยกว่าลน้ิ หวั ใจเทียมสังเคราะห์ ❖ ขอ้ บ่งใชท้ สี่ ำคญั -หลังผ่าตัดใส่ลน้ิ หัวใจเทียม -โรคลน้ิ หัวใจรวั่ ล้นิ หัวใจตบี โรคลนิ้ หวั ใจรมู าติค -ภาวะหัวใจเตน้ ผิดจงั หวะ -ภาวะลิ่มเลือดอุดตนั เส้นเลอื ดในปอด -เส้นเลือดแดง บรเิ วณแขน ขา หรือ เส้นเลอื ดดำใหญอ่ ุดตันจากลิ่มเลอื ด -ผปู้ ว่ ยทมี่ ปี ระวัติ เสน้ เลอื ดสมองอุดตนั จากลิม่ เลอื ด -ภาวการณ์แข็งตวั ของเลือดผิดปกติ ❖ การพยาบาลพยาบาลควรเนน้ -การมาตรวจตามนัดเพื่อตรวจการแข็งตวั ของเลือด -การปอ้ งกนั อบุ ัติเหตุต่างๆ การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดบาดแผล -การทำฟนั หรือการผา่ ตดั -ไม่ควรซอื้ ยามารบั ประทานเอง

หน่วยที่ 9 การพยาบาลผู้ปว่ ยทมี่ ภี าวะวกิ ฤตหวั ใจล้มเหลวและหัวใจเต้นผิดจังหวะ ❖ Heart failure -Left sided-heart failure: เปน็ อาการของหัวใจล้มเหลวทม่ี ีอาการหรืออาการแสดงทเ่ี กิดจากปญั หา ของหวั ใจห้องล่างซา้ ย หรือหอ้ งบนซา้ ย เช่นorthopnea หรอื paroxysmal nocturnal dyspnea (PND) ซ่ึงเกิดจากความดนั ในหวั ใจห้องบนซา้ ยหรอื ห้องลา่ งซา้ ยสูงขนึ้ -Right sided-heart failure: เป็นอาการของหัวใจลม้ เหลวท่ีมอี าการหรอื อาการแสดงที่เกดิ จาก ปญั หาของหัวใจห้องล่างขวา (right ventricle) หรอื หอ้ งบนขวา (right atrium) เช่น อาการบวม ตับ โต • อาการหลักๆของภาวะหัวใจล้มเหลว ไดแ้ ก่ 1.เหนือ่ ย 2.ออ่ นเพลีย 3.บวม • ผูป้ ว่ ยภาวะหวั ใจล้มเหลวแบ่งเป็น 2 กลุม่ ➢ ภาวะหวั ใจล้มเหลวเฉียบพลนั -เป็นภาวะฉกุ เฉิน ซึ่งจาเปน็ ต้องให้การรักษาทันที -มักพบในผู้ปว่ ยท่ีเกิดภาวะกล้ามเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ด -อัตรากลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำในช่วง 6 เดอื นแรกสงู ถงึ 50% -การรักษาม่งุ เนน้ การรกั ษาภาวะฉกุ เฉิน เพอื่ ชว่ ยการไหลเวียนเลอื ด และการหายใจ -แก้ไขภาวะฉกุ เฉิน เชน่ •หลอดเลอื ดหัวใจตบี เฉียบพลัน •ความดนั โลหติ สงู รนุ แรง •ภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ •โรคลนิ้ หัวใจร่ัว ที่เกดิ เฉยี บพลัน •ภาวะลมิ่ เลือดอดุ ก้นั ในปอด ➢ ภาวะหัวใจล้มเหลว เร้อื รัง • สาเหตุ •ตั้งแตค่ วามผิดปกติแต่กำ เนิด (congenital heart disease) เช่น ผนังก้นั หอ้ งหวั ใจรั่ว (atrial septal defect หรอื ventricular septal defect) • ความผิดปกตขิ องลนิ้ หวั ใจ (valvular heart disease) เชน่ ล้ินหวั ใจตีบ หรอื ลนิ้ หวั ใจรั่ว •ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardial disease) เชน่ หัวใจหอ้ งล่างซ้ายบบี ตัว ลดลง (left ventricular systolic dysfunction) หรอื กล้ามเนอ้ื หัวใจหนา (hypertrophic cardiomyopathy) • ความผดิ ปกติของเยื่อหมุ้ หัวใจ เช่น เยื่อหุ้มหวั ใจหนาบีบรดั หัวใจ(constrictive pericarditis)

•ความผดิ ปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease) เช่น myocardial ischemia induced heart failure • ปจั จยั เสีย่ ง เช่น •ภาวะอว้ น •ความเครียด •อาหารเค็ม •สบู บุหรี่ •ดมื่ แอลกอฮอล์ •โรคร่วม เช่น เบาหวาน •พันธุกรรม • โรคหรือภาวะบางอยา่ งทอี่ าจนาไปสกู่ ารเกิดภาวะหวั ใจล้มเหลวได้ เช่น •การตดิ เชอ้ื ไวรสั บางอย่าง เช่น โรคเอดส์ •การสะสมของธาตุเหลก็ ท่หี วั ใจ (hemochromatosis) •การสะสมของโปรตนี amyloid ทห่ี วั ใจ (amyloidosis) •การทเ่ี คยไดร้ ับการฉายแสงท่ีบริเวณหน้าอก เช่น มะเรง็ เต้านม •การทเี่ คยไดร้ บั ยาเคมบี าบัดบางกลุ่ม

• ชนดิ ของภาวะหัวใจล้มเหลว

• การแบ่งความรนุ แรง(NYHA functional class) • ภาวะหวั ใจล้มเหลวชนิดท่ีมีการทางานของหวั ใจห้องล่างซ้ายต่ำกว่าปกติ(LVEF < 40%) แบง่ การรกั ษาเป็น 3 ลำดบั ขั้น ขน้ั ท่ี1 ขนั้ ท่2ี ขน้ั ท่3ี .ACEI •ARNI •Digoxin •Ivabradine •Beta- •CRT •H-ISDN blocker •อปุ กรณช์ ว่ ยการไหลเวยี น / •MRA ปลกู ถา่ ยหวั ใจ • ภาวะหัวใจล้มเหลวชนดิ ที่มีการทางานของหวั ใจห้องลา่ งซา้ ยปกติ หรือใกลเ้ คยี งปกติ (LVEF >40%) ปจั จบุ นั ยังไม่มีแนวทางการรักษาเป็นแบบแผนชัดเจนมงุ่ เน้นการควบคมุ ปรมิ าณนา้ และ เกลอื ในร่างกายพจิ ารณาใช้ยาขับปัสสาวะเพ่ือบรรเทาอาการร่วมกับรกั ษาโรคร่วมเป็นหลัก

• ยาท่ใี ช้ในการรกั ษา



❖ การพยาบาลผู้ป่วยทม่ี ีภาวะหัวใจเตน้ ผิดจงั หวะ ○กลา้ มเนื้อหวั ใจมีการหดตวั ○มีpacemaker cell SA : ปล่อยกระแสไฟฟา้ 60-100 ครงั้ / นาที ผลติ ไฟฟ้าเองได้ Av : ปล่อยไฟ 40-60 คร้งั /นาที ventricel : ตำ่ กว่า 40 คร้ัง ในภาวะปกติSA ทำงานตวั เดียว ...........,............................................................. ○การบันทึกคลน่ื ไฟฟา้ ECG/EKG -ความเรว็ = 25มม./วินาที -1ช่องเลก็ = 1/25 = 0.04 -1 ชอ่ งใหญ่ ตามแนวนอน = 0.04× 5 = 0.2 วนิ าที - 0.20 วินาที -การคำนวณอตั ราการเตน้ ของหวั ใจใน 1 นาที เกิด 30 ช่องใหญ่ = 0.2 × 30 = 6 วินาที × 10 = 60 วนิ าที ...........,............................................................. ○ลักษณะคลืน่ ไฟฟา้ หวั ใจปกติ -P Wave : Depo บีบขวาบนซา้ ยบน กว้างไมเ่ กนิ 2.5 มม. หรือไม่เกนิ 0.10 วินาที -PR Interval : ชว่ งระหวา่ ง P และ QRS เปน็ การวดั เวลาการบีบของหอ้ งบน ไปสู่ AV และ -Bundle of his ไม่เกนิ 0.20 วินาที ค่าปกติ 0.12 -0.20 วินาที -QRS Complex : หอ้ งลา่ งเกิดdepo ทงั้ ซ้ายขวาเกิดพร้อมกนั ข้ึนลงไป กว้าง 0.06 - 0.10 หรือไม่ เกนิ หรอื ไมเ่ กิน 0.12 วินาที ( 3 มม. ) ถ้ากว้างแสดงงา่ มีการปิดก้นั Bundle of his ( Bundle Branch Block : BBB) -T : ห้องลา่ งrepo สงู ไม่เกนิ 5 มม.กว้างไมเ่ กนิ 0.16 วนิ าที จะสงู ผิดปกติใน Hyperkalemia ถา้ กล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือดพบ T หวั กลบั -ST : จดุ เช่อื มระหว่าง QRS กบั T สงู ไมเ่ กิน 1 มม. กวา้ งไม่เกนิ 0.12 วินาที ถา้ STยกขนึ้ หรือต่ำลง จะเป็นภาวะหัวใจกลา้ มเนื้อขาดเลือด -QT interval : ระยะเวลา Depo - Repo ของหอ้ งล่าง ปกติ 0.32-0.48 วินาที (12 ชอ่ งเล็ก ) ถ้า ยาวไป slower ventricular repo เกดิ จาก K ตำ่ E'lyet ไม่สมดลุ ถา้ สั้นไป K สงู -RR Interval : การบบี ตัวของหัวใจแตล่ ะรอบ 60-100 คร้ัง / นาที ...........,............................................................. ○การแปลผล -rate = 300 ครง้ั / จำนวนชอ่ งของRR ใช้ในกรณีทเี่ สมอ ถ้าไมเ่ สมอใช้ 0.2 × จำนวนชอ่ ง RR × 10 -จงั หวะ = นับrate P-P และ rate R-R ว่าสม่ำเสมอไหม -ระยะเวลานำสญั ญาณไฟฟ้า : ดู PR ว่าค่าปกติไหม ถ้าสนั้ แสดงวา่ ไม่ได้อยู่ใน SA ถ้ายาวแสดงว่า ผา่ นAV ชา้

-รปู รา่ งและตำแหน่ง : ดใู นช่วง 6 วนิ าทแี รก ว่า Pวา่ มรี ูปร่างเหมอื นกันตลอดไหม ...........,............................................................. • ภาวะหวั ใจเต้นผดิ จังหวะ -เต้นชา้ กวา่ ปกติ ( Sinus bradycardia ) -ปล่อยช้ากว่า 60 ครง้ั พบในคนปกติ ขาดเลือด หวั ใจตาย ยา Beta-Blocker -น้อยกวา่ 50 ครงั้ จะเปน็ ลม -ตรวจคล่นื ไฟฟา้ : ท้งั บนลา่ ง 40-60 คร้งั ---------------------------------------------------------------- • หวั ใจเต้นเร็วกว่าปกติ ( sinus tachycardia ) -100-150 คร้ัง ไมเ่ กนิ 150 ใจส่ัน หายใจลำบาก -ห้องบนห้องลา่ งเตน้ เรว็ • หัวใจเต้นไมส่ ม่ำเสมอ ( Sinus arrhythmia ) -ท้ังห้องบนห้องลา่ งเปลีย่ นแปลงตามกนั ใน 60-100 คร้ัง -จังหวะที่เต้นไม่สม่ำเสมอ -P ปกติ นำหน้า QRS ทุกจงั หวะ • ห้องบนเตน้ ก่อนจังหวะ ( Premature Atrial Contraction : PAC ) -Atrium ทำหน้าท่ีแทน SA บางหวะ = ปลอ่ ยสัญญาณนำ SA ✓ Atrail flutter = ฟันเลอื่ ย แต่ AV มีสติ -atrium 250-300 คร้ัง -AV รบั สัญญาณได้ไม่หมดทกุ จังหวะ -P เหมือนฟันเลือ่ ย -สาเหตมุ าจากการผ่าตัดหวั ใจเป็นหลกั -ขึน้ กับventricurarespone ถ้า QRS ปกตจิ ะไม่มีอาการ -PRวดั ไม่ได้ • Atrial fibrillation : AF -ห้องบน 250-600 -จงั หวะห้องลา่ งไม่ปกติ -ไมเ่ ห็น P วดั PR ไมไ่ ด้ -QRS ปกติแต่ไมเ่ สมอ • Supraventricular Tachycardia ( AVNRT ) -rate 150-250 สมำ่ เสมอ ในคนอายุน้อย - P หัวต้งั or หัวกลบั or มองไมเ่ ห็น or ตามหลงั QRS -QRS แคบ -เกดิ ทนั ทแี ล้วก็หยุดทนั มี อาจเกิดจาก PAC

-ใจส่ัน เจ็บอก หายใจขดั ปวดหวั เปน็ ลม หนา้ มืด -ผดิ ปกตทิ ี่ AV node ( Junctional rhythm or Nodal rhythm ) -สง่ สญั ญาณ 2 ทาง คือ ย้อนกลบั ไปทีห่ ้องบน แลว้ สง่ ไปท่ีห้องลา่ ง 40-60 ครงั้ -SA node ขาดเลอื ด -ไมม่ ี P PRสั้นกวา่ ปกติ • Premature Ventricular Contraction : PVC -จุดในหอ้ งล่าง ปล่อยกระแสแทน SA node ในบางจังหวดั --มากกวา่ 6 คร้ังอันตราบ Bi mul R or T ไมม่ ี P ก่อนจงั หวะจะผิดปกติ ไม่มี R-R -QRS มากกว่า 0.12 วินาที หรือ 3 ชอ่ งเลก็ -Ventricular tachycardia : VT -รนุ แรง หอ้ งลา่ งปล่อยกระแสแทน SA -PVC อยา่ งน้อย 3ตัวตดิ กนั -rate มากกว่า 100 ครง้ั -อาการเกดิ ขึน้ ทนั ที หวั ใจเต้นเร็ว หายใจลำบาก BP ตำ่ หมดสติ หอ้ งซ้ายลมเหลว -ถ้าไม่รักษาจะเปน็ Ventricular fibrillatation • Ventricular fibrillatation -หัวใจเตน้ เรว็ มาก ไม่เสมอ คล่ืนขยกุ ขยิก = Coarse VF ถา้ ตอบสนองตอ่ การทำ Defibrillation = ก่อนห้องล่างจะหยุดเต้น = EKG ตรง -ไมม่ ี P Q R S. -Pulseless Electrical Activity : PEA = คลืน่ เต้สไม่มีชพี จร -เตน้ จังหวะอะไรก็ได้ ที่ไม่ใช่ VF VT -เลือดออก -การขดั ขวางจาก SA ไป AV ระดบั ที่ 1 ( First - degree AV block ) -การนำ SA ไป AV ชา้ -เกิดในผู้สูงอายุ ผ้ไู ด้รับยา Quinidine , Procainamide Secord degree AV block type I : Mobitz type I or Wenckebach : หอ้ งลา่ งชา้ จะเจ็บหนา้ อก type II : reat ช้า ห้องลา่ งไม่เสมอ P มากกวา่ Q • การรกั ษาภาวะหัวใจเต้นผิดจงั หวะ -ลดสงิ่ กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทตคิ -ให้ยาตา้ นการเตน้ ของหวั ใจผิดจงั หวะ -การช็อคดว้ ยไฟฟา้ (Cardioversion or Defibrillation) -การใส่เคร่ืองกระตนุ้ จังหวะหัวใจดว้ ยไฟฟ้า (pace maker) -ลดความเจบ็ ปวด

-การใช้เทคนคิ การผอ่ นคลาย -การกระตนุ้ ประสาทเวกัส -การนวดบริเวณคาโรตดิ ไซนัส (carotid sinus massage) -การกล้นั กายใจแลว้ เบง่ เตม็ ที่ (Valsalva maneuver) (ห้ามทำในผปู้ ว่ ยความดนั ในกะโหลกศรี ษะสงู ) • การรกั ษาโดยใช้ยา

➢ Class I; Na Channel Blockers Lidocaine, Xylocaineรักษา PVC,VT เน่อื งจาก AMI ➢ Class II; Beta adrenergic Blocker หวั ใจเต้นช้า BPตำ่ ไม่ให้ใน HF และหอบ ➢ Class III; Potassium Channel Blockers Amiodarone เกดิ AV block’s ดูEKG และวดั V/S หลงั ให้ยา ➢ Class IV; Calcium Channel Blockers ลดการบบี ตัว ลดการใช้O2 BPตำ่ ➢ Digitalis (Digoxin or Lanoxin, Digitoxin) ยาทใี่ ช้รักษาภาวะหวั ใจวาย และ AF -ผลข้างเคียงทำให้หัวใจเต้นผิดจงั หวะไดเ้ ช่น PVC, PA with AVB, VF นับอตั ราการเตน้ ของหัวใจก่อนให้ยาเตม็ 1 นาที ถ้าอตั ราการเตน้ ของหวั ใจชา้ กวา่ 60 ครง้ั ต่อนาที รายงานแพทย์ -สังเกตอาการ hypokalemia เพราะ โปแตสเซียมในเลือดต่ำจะทำให้เกิดพิษจาก ยาดจิ ทิ าลสิ ไดง้ า่ ย ➢ Adenosine รักษา SPV ใหภ้ ายใน1-3วนิ าที ยกแขนสูง ➢ Atropine sulphate injection ถ้าHR >60ไมใ่ หย้ า รักษาBrady มา่ นตาขยาย ➢ การชอ็ คดว้ ยไฟฟา้







เป็นการหยดุ การทางานของสมองอยา่ งฉบั พลนั โดยมี โรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke, สาเหตมุ าจากการรบกวนของหลอดเลือดท่ไี ปเลยี้ งสมอง โดยสามารถเกดิ ไดท้ งั้ ในเสน้ เลือดแดงขนาดใหญ่ และเสน้ ลิ่มเลือดท่ผี นงั หรอื หลดุ ลอยมา เลือดแดงขนาดเลก็ ซง่ึ มีผลทาใหเ้ กิดอมั พาตครง่ึ ซกี สมอง (hemiplegia) ไม่สามารถขยบั แขนขาส่วนใดหรอื ซีกใดซีก หนึง่ ได้ หรอื ตาบอดครง่ึ ซีก (hemianopsia) ไมส่ ามารถ การไหลเวียนเลือดของเล มองเหน็ อกี ครง่ึ ซีกของลานสายตา ถา้ มคี วามรุนแรงมาก อาจทาใหเ้ สยี ชีวติ ได้ ส่งออกซเิ จนไปไม่ถ สาเหตุ การขาดออกซเิ จน 1 นาที ท เกดิ จากหลอดเลือดท่ไี ปเลยี้ งสมองตีบแคบ/อดุ ตนั หรอื แตก เป็นปกติได้ แตก่ ารขาดออก แบง่ ตามสาเหตกุ ารเกิด ไดเ้ ป็น 2 ชนิดคอื ทาลายเซลลป์ ระสาทในสม 1. โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด (ischemic stroke) พบ เกิดการตายทาใหเ้ นอื้ สมอง ประมาณรอยละ 75-80 2. โรคหลอดเลอื ดสมองแตก (hemorrhagic stroke) พบ อาการสาคญั ท่สี ดุ 4 อาการ > ประมาณรอยละ 20-25 (ใบหนา้ เบยี้ ว ปากเบยี้ ว) ดงั นี้ 1.Arm weakness (แขนอ่อน 1. การขาดเลอื ด (ischemia) 2.Speech difficult (พดู ไม่ช 2. ภาวะมลี มิ่ เลอื ดอดุ ตนั (thrombosis) 3.Time to act (ทกุ อาการเก 3. ภาวะกอ้ นเลือดอดุ ตนั (embolism) ทางดว่ นโรคหลอดเลือดสมอง 4. ภาวะเลอื ดออก (hemorrhage) นส.จนั ทกานต์ แกน่ สาร เลขท่2ี 7 หอ้ ง2 รหสั 6117701001051

Cerebrovascular disease) ข้อวนิ ิจฉัยที่ 1 การกาซาบเลอื ดของเนือ้ เย่อื สมองไมม่ ี ประสิทธิภาพ เน่อื งจากการไหลเวยี นของเลอื ดในสมองถกู าจากท่ีอ่ืนมาอดุ หลอดเลอื ด ขดั ขวาง ข้อวนิ ิจฉัยที่ 2 การหายใจไมม่ ปี ระสิทธิภาพ เน่อื งจากทางเดิน ลือดในสมองหยดุ ชะงกั หายใจอดุ ตนั และระดบั ความรูส้ ติเปลีย่ นแปลง ขอ้ วนิ ิจฉัยที่ 3 ไดร้ บั สารอาหารไมเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการ ถงึ ปลายทาง ของรา่ งกาย เน่อื งจากการกลืนและเคีย้ วลาบากจากกลา้ มเนือ้ ท่เี ก่ียวขอ้ งออ่ นแรง ทาใหห้ มดสติ สมองอาจกลบั คนื ข้อวนิ ิจฉัยท่ี 4 ความรูส้ กึ มคี ณุ ค่าในตนเองเปลยี่ นแปลง กซเิ จนนานกวา่ 4 นาที อาจ เน่อื งจากสญู เสยี บทบาทหนา้ ท่ขี องตนเอง มองอยา่ งถาวร เซลลส์ มองจะ งตาย การรักษา 1.Ischemic stroke >> ระยะแรกใหย้ าละลายลิม่ เลอื ด >>> FAST Facial weakness เรียกว่า Thrombolytic โดยใชย้ า Recombinant tissue activator (rt-PA) ระยะหลงั ใหย้ าตา้ นเกลด็ เลอื ดหรอื ยา นแรง ไม่มแี รง) ละลายลิ่มเลือดชนิดกินเพ่อื ปอ้ งกนั การเกิดเป็นซา้ ชดั พดู ไม่ได)้ 2.Hemorrhagic stroke >>การรกั ษาระดบั ความดนั โลหติ กดิ พรอ้ มกนั ทนั ท)ี ในกรณีท่เี ลือดออกมาก พจิ ารณาทาการผ่าตดั (เลือดออก>10 ง (Stroke Fast Track มม. หรือ กอ้ นเลอื ดท่ีออกเนอื้ สมองอย่างมากจน Midline shift หรอื GCS ลดลงจากเดิม > 2 ค่าคะแนน) การผ่าตัด 1. Craniotomy เป็นการผา่ ตดั เปิดหนงั ศรี ษะ อาจเปิดเย่ือ หมุ้ สมองหรอื ไมข่ ึน้ อยกู่ บั ตาแหน่งกอ้ นเลือดว่าอย่เู หนอื หรือ ใตเ้ ย่ือหมุ้ สมอง 2. Craniectomy คอื เป็นวธิ ีการผา่ ตดั กะโหลกศรี ษะแลว้ ไม่ ปิดชนิ้ กะโหลกกลบั เขา้ ไป 3. Burr holes คือ การเจาะรูใสส่ ายเพ่ือดดู เอาเลือดออก 4. Shunt คือ การใสท่ ่อระบายนา้ ในโพรงสมอง

กล่มุ อาการท่เี กดิ การเปลย่ี นแปลงทางระบบ ภาวะความดนั ในกะโหลกศรี ษ ประสาทอย่างเฉียบพลนั สง่ ผลใหข้ าดความ intracranial press สมดลุ ระหว่างปรมิ าตรและความดนั ภายใน กะโหลกศรี ษะ โดยจะพบความดนั ใน กะโหลกศรี ษะเป็นโพรงของกระดกู กะโหลกศีรษะ (intracranial pressure- สมองนา้ ไขสนั หลงั และเลอื ด ส่วน ICP) มคี า่ มากกวา่ 20 mmHg. สมดลุ ดว้ ยปรมิ าตรคงท่ี เกิดความด ประมาณ 10 mmHg การไหลเวียนนมี้ ีความสมั พนั ธก์ บั ค่าความ ดนั กาซาบของเนอื้ สมอง คา่ เฉลีย่ ความดนั มกี ารเพ่มิ ขึน้ ของสว่ นประกอบหน่งึ เลอื ดแดง (MAP) และคา่ ความดนั ใน ลดปรมิ าตรลงคงภาวะความสมดลุ กะโหลกศรี ษะ ( ICP) โดยคานวณ CPP จาก CPP = MAP - ICP โดย MAP = เนอื้ สมองมคี วามจากดั ในการเปล diastolic blood pressure + มกี ารเพิม่ ของปรมิ าตรภายในกะโ สมดลุ 1/3(systolic- diastolic) คา่ ปกติ CPP = 70-100 mmHg. ทาใหค้ วามดนั ในกะโหลกศีรษะเพ ภาวะความดนั ในกะโหลกศีรษะส อาการและอาการแสดง 1.ระดบั ความรูส้ กึ ตวั เปล่ยี นแปลง (ซมึ ลงหรอื สบั สน) pressure: IICP) 2.Cushing's triad; Increase systolic BP (widen นส.จนั ทกานต์ แก่นสาร เลขท่2ี 7 pulse pressure) , bradycardia, irregular respiration 3.ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มี decorticate, decerebrate และกลา้ มเนอื้ ออ่ นแรง 4.อาการอ่ืนๆ เชน่ ปวดศีรษะมาก อาเจยี นพ่งุ จอประสาท ตาบวม (papilledema) 5.อาการระยะทา้ ย; coma หยดุ หายใจหรือหายใจแบบ Cheyne- strokes อณุ หภมู ิรา่ งกายจะเพมิ่ ขึน้ รูม่านตา ขยายหรอื ไมม่ ปี ฏกิ ริ ยิ าต่อแสง

ษะสงู (increased ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาลและการพยาบาล sure: IICP) 1. การกาซาบของเนอื้ เย่อื สมองเปลยี่ นแปลงเน่อื งจากภาวะ ความดนั ในกะโหลกศรี ษะสงู ภายในประกอบดว้ ยเนอื้ 2. แบบแผนการหายใจไมม่ ีประสทิ ธิภาพเน่อื งจากระดบั นประกอบอยกู่ นั อยา่ ง ความรูส้ กึ ตวั ลดลง/มกี ารเสียหนา้ ท่ขี องระบบประสาท ดนั ในกะโหลกศีรษะทค่ี งท่ี 3. ขาดประสิทธิภาพในการทาทางเดนิ หายใจใหโ้ ลง่ เน่อื งจากระดบั ความรูส้ กึ ตวั ลดลง ส่วนประกอบท่เี หลือตอ้ ง 4. ความสามารถในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาวนั ลดลง ลไว้ เน่อื งจากมีอาการชา ออ่ นแรง เดนิ เซ หรอื การรบั สมั ผสั บกพรอ่ ง ลย่ี นแปลงปรมิ าตร ขอ้ วนิ ิจฉัยการพยาบาลท่ี 2 เสย่ี งตอ่ การอดุ กนั้ ทางเดนิ หายใจ โหลกศรี ษะอยา่ งต่อเน่อื งขาด และหายใจไมม่ ปี ระสิทธิภาพเน่อื งจากระดบั ความรูส้ กึ ตวั ลดลง/ มี การเสียหนา้ ท่ขี องระบบประสาท พ่มิ สงู ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ เกดิ การพยาบาล สงู (increased intracranial 1. ประเมินระดบั ความรูส้ กึ ตวั และการตงึ ตวั ของกลา้ มเนอื้ สญั ญาณชีพ โดยเฉพาะลกั ษณะการหายใจ อตั ราและความ 7 หอ้ ง 2 รหสั 6117701001051 สม่าเสมอ เน่อื งจากการมคี วามผดิ ปกติบรเิ วณสมองสว่ นหนา้ หรือ ส่วนกลางถกู กดอาจพบการหายใจท่เี รยี กวา่ Cheyne-strokes 2. ชว่ ยหายใจโดยดแู ลใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั เคร่อื งช่วยหายใจอยา่ งมี ประสิทธิภาพ และเหมาะสมกบั การหายใจของผปู้ ่วยเพ่ือใหไ้ ดร้ บั ออกซิเจนอยา่ งเพยี งพอ และดดู เสมหะทกุ ครงั้ ท่มี เี สมหะ เพ่อื ป้องกนั การอดุ กนั้ ทางเดินหายใจ 3. ตดิ ตามผลการตรวจวิเคราะหแ์ ก๊สในหลอดเลือดแดง ซง่ึ ควรจะ มคี า่ PaO2 มากกวา่ 70 มม.ปรอท และ PaCo2 25 – 35 มม. ปรอท 4. ประเมนิ การหายใจผปู้ ่วยทกุ 15 นาที – 1 ช่วั โมง สงั เกต ลกั ษณะ และอตั ราการหายใจฟังเสยี งเสมหะในปอดเป็นระยะ เพ่อื ประเมนิ การอดุ ตนั ของเสมหะ

การพยาบาลผูป้ ่วยระบบท Acute Kidney Injury: AKI ไตเกดิ การทำงานล้มเหลวสญู เสยี หนา้ ทเ่ี ฉียบพลัน ไดร้ ับบาดเจบ็ เสียหายทนั ทีทนั ใด อาการ สาเหตุ อาการ 1. -เส้นเลอื ดท่ีคอโปง่ พอง -ร่างกายสญู เสียนำ้ -ตอ่ มลกู หมากโต -Heart attack, Heart failure 2. -กระเพาะปัสสาวะเตม็ -ผลขา้ งเคยี งของยากลมุ่ NSAIDs 3. -ร่างกายสูญเสียน้ำ -อาการแพ้อย่างรนุ แรง -มีนำ้ ในชอ่ งท้อง -Burn, Injury, การผา่ ตัดใหญ่ -คลำพบก้อนทชี่ ่องเชิงกราน -ความดนั โลหิตตำ่ -เสยี งฟู่ (abdominal bruit) กลไกการเกิดไตวายเฉียบพลันเฉยี บพลัน ระยะที่ 1 ปัสสาวะน้อย (Oliguria) : หลอดเลอื ดฝอยไตเสื่อม ปสั สาวะ < 400 cc/day Renin เข้ากระแสเลอื ด Angiotensin I Angiotensin II หลอดเลือดหดตัว เลือ -เสยี สมดลุ ของน้ำ โซเดยี ม : BPตำ่ , PRเรว็ , ขบั น้ำออกลดลง -เสยี สมดลุ กรดด่าง : ดูดกลบั -เสยี สมดลุ โพแทสเซียม : Kสงู -เสยี สมดุล Caตำ่ , Pสูง, Mgสงู -การคั่งของยเู รีย -การติดเชื้อ

ทางเดินปสั สาวะในระยะวิกฤต Pre-Kidney คอื ไตวายเฉียบพลนั ทีเ่ กดิ จากการทีม่ เี ลือดมาเลี้ยงไต น้อยลง จากจากภาวะ shock และ dehydration Post- Kidney คือ ไตวายเฉียบพลันท่เี กิดจากการอุดตนั ของระบบทางเดินปสั สาวะ Intrinsic Kidney Injury คือ ไตวายเฉยี บพลันทเี่ กิดจากโรคทม่ี ีพยาธสิ ภาพท่ีไตทำให้อัตรา การกรองลดลง 3.1 Acute tubular necrosis (ATN) พยาธิของ Renal tubular 3.2 Acute interstitial nephritis (AIN) การอักเสบของ เน้ือไตสว่ น interstitial 3.3 Acute glomerulonephritis (AGN) การอกั เสบของ glomeruli 3.4 Renal vascular diseases พยาธทิ ่หี ลอดเลอื ดไต 3.5 Intratubular crystal obstruction การอุดตันของ renal tubule อดเลีย้ งไตลดลง เกดิ การไหลลดั จากผวิ ไตสู่แกนไต เกิดล่ิมเลอื ด อดุ กั้นหลอดฝอยไต บ HCO3 ได้นอ้ ย จึงหายใจเร็ว เกร็ง กระตุก

ระยะที่ 2 ปัสสาวะมาก (Diuresis) : > 400 cc , > 1,500 cc ไตเรม่ิ ฟ้นื ตวั กลไก : อตั ราการกรองเพ่ิมขึ้น ขับนำ้ แตไ่ ม่ขับของเสยี หลอดเลอื ดอยใู่ นระยะซอ่ มแซม -ปัสสาวะออกมา ทำให้ขาดน้ำ -Na ต่ำ ทำใหเ้ ปน็ ตะครวิ -K ตำ่ ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาเจียน ระยะฟ้นื ตัว (Recovery) : หลอดเลือดปกติ หลอดฝอยยังไมส่ มบรู ณ์ ปสั สาวะเข้มข้น เป็นกรด Complication -ภาวะแทรกซ้อน ของเสียค่ัง น้ำเกนิ ความดันโลหติ สูง เลือดเป็นกรด หวั ใจลม้ เหลว การพยาบาล 1.การควบคมุ ให้เลอื ดมาเล้ยี งไต MAP สูงกว่า 80 mmHg 2.หลกี เล่ียงการใชย้ าที่เป็นพิษต่อไต เช่น Aminoglycoside 3.ใหส้ ารอาหารท่เี พียงพอ (25-30 kcal/Kg/d) โปรตีน 40 g/day 4.ป้องกนั volume overload 5.ปอ้ งกนั hyperkalemia คุม K น้อยกวา่ 2 g/day 6.ป้องกัน hypernatremia คุมนำ้ ดื่ม ช่ังน้ำหนกั 7.ป้องกนั การเกิด metabolic acidosis ให้ sodium bicarbonate หรอื Sodamint 8.ป้องกนั hypophosphatemia คุม ฟอสฟอรสั ในอาหารน้อย กวา่ 800 mg ให้ยา เชน่ ca ca 9.การล้างไต

ใชเ้ วลา 6-12 m arbonate

Chronic Kidney Disease: CKD ภาวะท่ีไตถูกทำลายจนส่วนที่เหลือไม่สามารถทำงานชดเชยได้ สาเหตุ 1. พยาธสิ ภาพทีไ่ ต Chronic Glomerulonephritis 2. โรคของหลอดเลอื ด (renal ARTERY STENOSIS) ความดนั โลหติ สงู 3. การติดเชือ้ กรวยไตอักเสบ 4. ความผิดปกตแิ ต่กำเนดิ 5. โรคอ่ืนๆ เบาหวาน SLE 6. ขาด K เรื้อรัง อาการและอาการแสดง อาการ: ซมึ มึนงง คันตามตัว เบือ่ อาหาร คล่นื ไส้ อาเจยี น น้ำหนักลด อาการเตือนท่ีสำคญั : ปสั สาวะบอ่ ยกลางคนื หรือปัสสาวะ น้อย ปสั สาวะขดั สะดดุ ปสั สาวะมเี ลอื ดปน บวมใบหน้า หลังเทา้ ปวดบัน้ เอว หรือหลงั ความดัน โลหติ สงู ผลกระทบจากไตวายเร้ือรงั ในระบบต่างๆของรา่ งกาย 1. ระบบหลอดเลือดหัวใจ : ความดันโลหิตสูง หวั ใจล้มเหลว เยื่อหุ้มหวั ใจอักเสบ 2. ระบบทางเดินหายใจ : น้ำทว่ มปอด รว่ มกับหัวใจล้มเหลว 3. ระบบประสาท : จากการค่ังของของเสีย 4. ระบบทางเดินหายใจ : ยูเรียค่ัง ทำให้คลืน่ ไส้ อาเจียน เบ่ืออาหาร 5. ระบบเลือด : โลหิตจาง จาก Erythropoietin ลดลง เมด็ เลือดแดงอายุสั้น 6. ภาวะภมู ติ ้านทานตำ่ 7. ระบบกล้ามเนื้อกระดูก : การสงั เคราะห์ Vit.D ลดลง 8. ระบบผิวหนงั แห้ง 9. ความไม่สมดลุ ของ Electrolyte 10. ต่อมไรท้ อ่ : Parathyroid ทำงานผิดปกติ

เกณฑ์การวนิ จิ ฉัย 1. ไตผิดปกตนิ านเกิน 3 เดือน 1.1พบ Albumin ในปสั สาวะ(AER) มากกว่า30 มก24ชม. 1.2พบHematuria 1.3Electrolyte imbalance จากทอ่ ไตผิดปกติ 1.4มีประวัตอผ่าตัดปลกู ถ่ายไต 2. eGFR < 60 ml/min/ 1.73 ตร.เมตร นาน > 3 เดอื น (ประเมินค่า eGFR อย่างน้อย ปลี ะคร้งั )

Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis; CAPD :การล้างไตทางหน้าท้อง ขอ้ บ่งชี้ - CKD ระยะท่ี 5 (มีอาการของ Uremia, ภาวะน้ำเกนิ จำกัดน้ำไม่ไดผ้ ล, Serum alb - ต้องการทำ CAPD - ไม่สามารถทำทางออกของเลือดเพื่อทำ HD - ผทู้ ่ีทน HD ไม่ได้ เช่น CHF, CAD - ผปู้ ว่ ยเดก็ การพยาบาล ระยะพักท้อง (1-2 week) - ไมใ่ หแ้ ผลโดนนำ้ หา้ มเปิดแผลเอง - ลดกิจกรรมทเ่ี หงือ่ ออก งดใส่เสือ้ ผ้ารัด - หากมอี าการบวมสว่ นต่างๆ หรือมเี ลอื กออก นำ้ รัว่ ซึม ใหพ้ บแพทย์ - เล่ยี งกิจกรรมที่เพิ่มแรงดนั ในช่องทอ้ ง - ตดั ไหม 7-10 วนั ระยะหลังพักทอ้ ง - หมนั่ ตรวจสอบ และทำความสะอาดสาย - แพทยต์ ้องยืนยันวา่ แผลหา้ งสนทิ ถงึ จะอาบนำ้ ได้ - ห้ามโรยแปง้ ทาครีม บริเวณช่องออกของสาย - ตดิ พลาสเตอร์ เพื่อการดงึ ระยะลา้ งไตทางช่องหน้าท้อง - เร่ิมล้างในสัปดาห์ที่ 4 - เน้น Medical hand washing - ประเมนิ และจดบนั ทึกนำ้ ยา - เฝา้ ระวังอาการแทรกซ้อน - แนะนำให้ช่งั นำ้ หนักทุกวัน ไม่ควรข้นึ เกิน 0.5 kg/day - หา้ มยกของหนักเกิน 6 kg

bumin< 3.5 g/dl) ขอ้ หา้ ม - มีรอยโรคบริเวณผวิ หนังหน้าทอ้ ง - มพี ังผดื ภายในช่องท้อง - มีสภาพจติ บกพร่องอยา่ งรนุ แรง - มสี ิง่ แปลกปลอมในช่องทอ้ ง - ไส้เลอื่ น - น้ำหนกั มากกวา่ 90 kg หรือ BMI > 35 - โรคลำไสอ้ กั เสบเรื้อรงั - การตดิ เชือ้ ท่ผี นงั ช่องท้อง - Recurrent diventiculitis - Gastrostomy, Colostomy, Ileostomy - ภาวะทพุ โภชนาการรุนแรง - ไม่สามารถทนการใส่น้ำยาในช่องท้องได้ หลักการของ CAPD 1. ใส่นำ้ ยาเขา้ ชอ่ งทอ้ งประมาณ 10 นาที 2. ทง้ิ น้ำยาไว้ในทอ้ ง 4-6 ชวั่ โมง 3. ปล่อยน้ำยาในชอ่ งทอ้ งออกประมาณ 20 นาที 4. ของเสียและน้ำส่วนเกินจากเลือดเขา้ สู่น้ำยา กลไกของ Solute Transport 1. Osmosis (การซึมผ่าน) คือ ความเข้มขน้ น้อยสู่ความเข้มขน้ มาก 2. Diffusion (การแพร่ผ่าน) คอื ความเข้มข้นมากสูค่ วามเขม้ ขน้ น้อย 3. Convection (การนำพา) คอื การน้ำสารน้ำออกจากรา่ งกาย 4. Ultrafiltration (การกรองนำ้ ) คอื การดงึ น้ำออกจากสว่ นเกินของ ร่างกายผ่านเยอื่ บุช่องท้อง

การะประเมนิ ลกั ษณะแผล Exit site Perfect exit site: สเี ดียวกับผิวหนงั พบคราบนำ้ เหลอื ง Good exit site: สชี มพูอ่อน พบคราบนำ้ เหลือง ไม่มอี าการปวดบวมแดง ไม่มีexternal exudat Equivocal exit site: สชี มพแู ดง มสี ะเกด็ น้ำเหลอื งลอกยาก ไม่มปี วดบวม, external exudate Acute infection exit site: ปวดบวมแดงรอ้ น คราบเลือด,น้ำหนองไหล ติง่ เนื้อย่ืนออก (< 4 W Chronic infection exit site: เปน็ > 4 W ปวดหรอื ไมก่ ็ได้ site infection0kจางกวา่ ข้อดี-ข้อเสยี ของการฟอกเลือดดว้ ยไตเทียม ขอ้ เสยี ขอ้ ดี 1. ต้องมาตามเวลา ควิ ตามกำหนด 2. จำกดั น้ำ จำกัดผักผลไม้ท่ีมี K สงู 1. อปุ กรณ์การแพทย์ในการรกั ษาพรอ้ ม 3. เสยี เวลาในการมาตามนัดบอ่ ย ต่อเนอ่ื ง เพรยี ง 4. ค่าใชจ้ ่ายสูง สถานบรกิ ารน้อย 5. สูญเสียภาพลักษณ์ จาก Vascular acc 2. ผเู้ ชย่ี วชาญในการดูแล 6. ขอ้ หา้ มทำหัตถการแขนข้างท่ีมี Vascu 3. สร้างสงั คมให้กับผู้ป่วยรูจ้ กั รายอน่ื 4. ขอคำแนะนำจากแพทย์ได้บ่อยครั้ง access 5. ช่วยลดนำ้ สว่ นเกนิ ปรบั สมดุลเกลอื แร่ กรดด่างได้ 6. กำหนดปรมิ าณน้ำทีด่ งึ ออกได้แม่นยำ การผ่าตดั ปลูกถ่ายไต คือ การผา่ ตัดไตของผ้บู รจิ าคทีม่ ีชวี ิต หรือของผบู้ ริจาคทส่ี มองตาย แต่ไตยังทำงานปกติ มาให้แกผ่ ไตวายเรอ้ื รงั ระยะสดุ ท้าย การผ่าตัดเป็นการเพิ่มไตอีกหนงึ่ อนั

การฟอกเลอื ดด้วยเคร่อื งไตเทียม ขอ้ บ่งชี้ -Cr > 12 mg/dl หรือ BUN > 100 mg/dl tes -นำ้ เกนิ หรอื น้ำท่วมปอด es -HT ไมต่ อบสนองต่อยา W) -ภาวะเลอื ดออกผดิ ปกติ -Uremic pericarditis -N/V ตลอดเวลา ขอ้ บ่งชีจ้ ากการทำงานของไต - Kt/V urea < 20 (เสย่ี งตอ่ ภาวะทพุ โภชนาการ) - เรม่ิ ทำในไตวายระยะสุดท้ายทป่ี รบั การบรโิ ภคโปรตนี และพลังงานแลว้ ง เส้นเลือดเพอื่ การฟอกเลือด cess 1. เส้นฟอกชว่ั คราว DLC หลอดเลอื ดดำท่ีคอ หรือขาหนบี ular 2. เส้นฟอกถาวร 3 ชนดิ Subclavian vein, Ateriovenous fistula (AVF), Ateriovenous graft (AVG) >>> AVF, AVG นยิ มทำท่ีแขนทอ่ นบน/ลา่ ง และต้นขา ผ้ปู ่วย

คณุ สมบตั ขิ องการปลกู ถา่ ยไต คณุ สมบัติของผู้บริจาคไต ผู้บริจาคท่มี ชี ีวติ - ผ้บู ริจาคต้องเป็นสายเลือดเดียวกนั พิสจู น์ได้ ด้วย HLA - ผ้บู รจิ าคเปน็ คู่สมรส จดทะเบียนสมรส > 3yr. คณุ สมบตั ิเฉพาะของผู้บรจิ าค - ≥ 18 yr. ไม่ควร > 60 yr. - ไม่มี HT, DM, โรคเร้อื รัง - คา่ โปรตนี ในปัสสาวะ < 300 mgใน 24 hr. - GFR > 80 ml/min/1.75 ตร.เมตร - BMI < 35 - ไมม่ ีโรคทางจิต ไม่มีการซ้อื ขาย ผบู้ รจิ าคไตเสยี ชีวิต - เป็นไปตามขอ้ บังคับแพทยสภา (ฉบบั ท่ี 3) 2538 - ตามหมวด 8 เรื่องการวนิ ิจฉยั สมองตาย พ.ศ. 2532,2539 (ฉบบั ที่ 2) - เปน็ ไปตามหลักเกณฑก์ ารบริจาค

คุณสมบัตขิ องผ้รู บั บริจาคไต - ผู้ป่วยไตวายเรอ้ื งรงั ระยะสุดท้าย CAPD, HD ตอ่ เน่อื งอย่าง 3 เดือน - อายุ < 60 yr. . - ไมม่ ี Acute infectious disease - ไมเ่ ป็น HIV - ไม่เป็น Chronic liver disease - ไม่เปน็ โรคมะเรง็ หรอื หายขาดมากกว่า 3 m - ไม่มีภาวะเสย่ี งต่อการผ่าตดั เช่น IHD, CHF, COPD - ไมม่ ีโรคทางจิต - ไมม่ ีการแข็งตวั ของเลือดผดิ ปกติ - ไม่ติดสารเสพตดิ นส.จันทกานต์ แกน่ สาร เลขท่2ี 7 ห้อง2 6117701001051

การพยาบาลผปู้ ว่ ยทม่ี ีภาวะชอ็ ก Shock and Multiple organs dy ความหมายของ ชอ็ ก ( Shock)ภาวะที่เนื้อเยอื่ ในรา่ งกายไดร้ บั เลอื ดไปเล้ยี งไม่เพยี ง ขาดออกซเิ จนและสารอาหาร จงึ เกดิ ความผดิ ปกติตั้งแต่ระดบั เซลล์ เนอ้ื เย่ือ จนถงึ อ ภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ Multiple organs dysfunction syndrome (MODS)กล พร้อมกนั หรอื เกดิ ข้นึ ตาม ชนิดของช็อกแบ่งตามสาเหตุ พยาธิของช็อกจากการเสียเลือดและนำ้ (Hypovolemic shock) เซ ปร การเสยี เลอื ดและน้ำ Blood volumeลดลง BP HR เนอื้ เยื่อขาดO2 เกิดกระบวนการอักเสบทำให้น้ำซมึ ออกนอกเซลล์ Blood volumeลดลง

กและอวยั วะลม้ เหลวหลายระบบ ysfunction syndrome : MODS งพอ ทาให้เน้ือเยอื่ อวยั วะทสี่ ำคญั ของรา่ งกายมีการกาซาบลดลงและอวยั วะต่างๆ อวัยวะ ตา่ ง ๆ ชอ็ ก ไม่ใชแ่ ค่ความดันโลหิตตา่ งอย่างเดียว ลุ่มอาการทมี่ อี วยั วะทางานผิดปกตถิ ึงขั้นลม้ เหลวต้ังแต่ 2 ระบบขน้ึ ไปอาจเกิดข้ึน ซลลอ์ าจตาย ไตปรบั ชดเชยสงวนน้ำ หัวใจวาย เกดิ ภาวะacidosis รมิ าณเลอื ดกลับสู่หัวใจ CO เนื้อเย่อื มีการกำซาบ เน้อื เยื่อขาดO2

พยาธขิ องช็อกทเ่ี กดิ จากความผดิ ปกติของหวั ใจ (cardiogenic shock) หวั ใจและหลอดเลือดขนาดใหญ่ได้รบั ความเสียหายหรอื เกิดความผดิ ปกติ จึงทาใหเ้ ลอื ดสบู ใจเตน้ ผิดจังหวะหรือเต้นชา้ ผดิ ปกติ กลา้ มเน้ือหัวใจตายเฉยี บพลัน การรกั ษา 1. การรกั ษาแบบประคับประคอง เปา้ หมายหลกั คือ เพ่ือพยุงความดันโลหิตใหเ้ พียง 2. การรกั ษาด้วยยา เพื่อพยุง coronary และ systemic perfusion ได้แก่ dobut พยาธิของช็อกจากการกระจายของเลือด (Distributive shock ) 1.ช็อกจากระบบประสาท (neurogenic shock) Sympathetic nervousถกู รบกวน เสียการควบคมุ Sympathetic Vasodilate Tissue Hypoxia Death 2. ช็อกจากภมู แิ พอ้ ย่างฉับพลนั (anaphylactic shock ) antigen ไปกระต้นุ ให้สร้าง antibody หลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว ปริมาตรเลอื การกำซาบของเน้ือเย่อื จึงไม่มปี ระสิทธิภาพ Hypoxia Death นอกจาก การซึมผา่ นของเหลว เพิม่ ปริมาณการไหลกลับของเลือดเข้าส่หู ัวใจ ภาวะกลา้ มเน บวม หายใจไม่ออกและขาดออกซิเจน Hypoxia Death 3. ชอ็ กจากภาวะการตดิ เชอ้ื ในกระแสเลือด (septic shock) endotoxin เข้ามาในกระแสเลอื ด เกดิ การอกั เสบทเ่ี กดิ ข้นึ เฉพาะจดุ เกดิ จากเน้ือเยื่อบร เปล่ียนแปลงmetabolism และ catabolism ตับ, มา้ ม และlymphatic tissue กร กรดแลคติกคงั่ ไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ขเซลลแ์ ละอวัยวะสำคญั ของรา่ งกายถกู ทำลาย

บฉีดไปเลยี้ งท่ัวร่างกายได้นอ้ ยลง ซึ่งอาจเปน็ ผลมาจากกลา้ มเนอ้ื หัวใจถกู ทำลาย หวั งพอต่อความต้องการของรา่ งกาย tamine, dopamine, norepinephrine ปริมาณเลอื ดกลับสหู่ ัวใจ COลดลง การกำซาบของเน้ือเยือ่ ลดลง อดไหลเวียนลดลง ปริมาณเลอื ดที่ไหลกลับหวั ใจลดลง COลดลง กนี้ การตอบสนองใหม้ ีการกระต้นุ จากปฏิกิริยาดงั กล่าวส่งผลให้หลอดเลือดฝอยเพิม่ น้อื เรียบหดตัวจากปฏิกิรยิ าการตอบสนอง หลอดลมหดเกร็งและหลอดลม ริเวณนน้ั ถูกทำลาย ขยายตัวของหลอดเลือดบรเิ วณนน้ั มีการเคล่ือนทข่ี องWBC ระตนุ้ ระบบภูมคิ ุ้มกัน เข้าสภู่ าวะ Acute phase reaction O2ลดลง เสยี ชีวติ

ระยะต่าง ๆ ของช็อก 1.ระยะปรับชดเชย (Compensatorary stage ) เปน็ ระยะท่ี CO เริ่มลดลง รา่ งกายจะมีก 2.ระยะกา้ วหน้า (Progressive stage) เปน็ ระยะท่ีกลไกการปรับชดเชยของรา่ งกายไมส่ าม 3.ระยะไมส่ ามารถฟน้ื คืน (Irreversible stage) เปน็ ระยะสดุ ท้าย เมอื่ ภาวะชอ็ คไมไ่ ด้รบั กา หลกั การพยาบาลท่ีสำคญั ของภาวะช็อก 1.การประเมนิ สภาพผู้ป่วย 2.การพยาบาลเพ่อื การปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ ระยะสดุ ทา้ ยของชอ็ ก การพยาบาลผ้ปู ่วย Cardiogenic shock 1. การดแู ลใหม้ กี ารคงไว้ซ่งึ สภาวะออกซิเจน ระบบไหลเวียนเลอื ดท่เี พียงพอกับความต้องก shock 2. การบรรเทา ความกลัว ความวิตกกังวล จากภาวการณ์เจบ็ ป่วยของผูป้ ่วยและญาติ กจิ กรรมพยาบาล 4 1. ประเมิน ตรวจวดั บนั ทกึ สญั ญาณชพี อยา่ งต่อเน่อื ง รวมทงั้ การเฝา้ ระวงั Invasive ข 5 hemodynamic pressure monitoring ผ 6 2. ประเมินสภาวะการกาซาบของเลือดไปยงั เนอื้ เย่ืออวยั วะต่างๆ โดยอาการและ 7 อาการแสดงท่บี ง่ ชีว้ า่ เนอื้ เย่ือมกี ารกาซาบของเลอื ดลดลง ไ 3. ประเมินติดตามคา่ ความเขม้ ขน้ ของออกซเิ จนในเลอื ดอยา่ งตอ่ เน่อื ง และดแู ลให้ ผปู้ ่วยไดร้ บั ออกซเิ จนโดยใหค้ า่ SpO2 มากกวา่ 90%, PaO2 มากกวา่ 60 มลิ ลิเมตร A ปรอท หรอื ตามแผนการรกั ษาของแพทย์ 8

การปรบั ตัวชดเชยโดยกระต้นุ กลไกต่าง ๆ เพ่อื คงไวซ้ งึ่ CO และความดันโลหิต มารถต้านการลดลงของ CO ได้ จากไม่ได้แกไ้ ขสาเหตุ ารแกไ้ ข ทาให้การทางานของหัวใจไม่มปี ระสิทธภิ าพ การของร่างกาย เพ่ือป้องกันและลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะแทรกซ้อนของภาวะ 4. ดแู ลระบบหายใจ จดั ใหผ้ ปู้ ่วยนอนศีรษะสงู หรอื ในทา่ ท่ีทางเดนิ หายใจเปิดโลง่ และปอดมกี าร ขยายอย่างเตม็ ท่ี 5. ดแู ลให้ absolute bed rest ช่วยเหลอื ในการทากจิ กรรมต่างๆเกี่ยวกบั กจิ วตั รประจาวนั ของ ผปู้ ่วย 6. ดแู ลใหส้ ารนา้ และยากระตนุ้ ความดนั โลหติ ตามแผนการรกั ษา 7. เตรยี มความพรอ้ มของอปุ กรณแ์ ละดแู ลชว่ ยแพทยท์ าหตั ถการตา่ งๆ เพ่อื ประเมินระบบการ ไหลเวยี นโลหิตอย่างตอ่ เน่อื ง ไดแ้ ก่ การใส่สายสวนเพ่อื วดั ความดนั โลหิตอยา่ งต่อเน่อื ง เชน่ CVP , A – line 8. ตดิ ตามผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

หลักการพยาบาลผ้ปู ่วยทม่ี ภี าวะชอ็ กจากตดิ เช้ือ 1.ประเมนิ ความรุนแรงและความเส่ียงของการเกิดภาวะชอ็ กจากการตดิ เช้อื ในผูป้ ่ว ทนั ทว่ งที 2. เฝ้าระวงั ติดตามดแู ลอยา่ งใกล้ชิดในผู้ปว่ ยทีเ่ กิดภาวะช็อก เพอื่ ป้องกันอนั ตรายท 3. การช่วยแพทย์ควบคุมหรือกาจัดแหล่งการตดิ เชื้ออย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. การส่งสิ่งสง่ ตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 5. การดแู ลช่วยแพทยใ์ ส่สายสวนหลอดเลือดดาสว่ นกลาง หรอื สายสวนในหลอดเล อย่างถกู ตอ้ ง 6. การให้ยาเพ่ิมระดับความดันโลหิตเพอื่ ให้หลอดเลือดสว่ นปลายหดตวั โดยการบ เส่ยี งสูง 7. การดูแลให้ผ้ปู ่วยไดร้ บั ออกซิเจนอยา่ งเพียงพอตามแผนการรักษา รวมทัง้ การใช 8. การดูแลใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ ับความสุขสบาย เมือ่ มีไข้ดแู ลใหไ้ ด้รับยาลดไข้ 9. การดแู ลให้ผู้ป่วยไดร้ ับออกซเิ จนอยา่ งเพียงพอตามแผนการรักษา รวมทงั้ การใช 10. การดูแลให้ผ้ปู ว่ ยได้รับความสุขสบาย เม่ือมไี ข้ดูแลใหไ้ ดร้ บั ยาลดไข้ 11. การเฝา้ ระวงั การติดเช้ือในโรงพยาบาล สง่ เสริมการลา้ งมือก่อนหลังการสมั ผัสผ โดยเฉพาะกลุ่มผปู้ ่วยที่มคี วามเส่ียง เพ่อื ป้องกันการตดิ เชื้อแทรกซอ้ น 12. รว่ มมอื กับแพทย์ในการรักษาภาวะช็อก โดยการให้ยาทมี่ ีผลตอ่ หลอดเลอื ด ยา ปฏิชวี นะ 13. ปอ้ งกันภาวะโภชนาการและเสียสมดลุ ไนโตรเจน 14. ลดความรสู้ กึ กลัวและวิตกกังวลของผ้ปู ่วยและครอบครัว 15. ดูแลใหไ้ ด้รับยาปฏชิ วี นะและสังเกตผลข้างเคยี งของยา 16. ส่งตรวจและตดิ ตามผลเพาะเชื้อของเลอื ด ปสั สาวะ เสมหะ และสารคดั หลั่งต่า 17. ใช้หลัก aseptic technique เมอื่ มกี ารสอดใส่สายตา่ งๆ เช่น central line ห

วยที่ยงั ไมเ่ ขา้ สูภ่ าวะช็อก เพ่อื ใช้ในการวางแผนการพยาบาลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ ทีอ่ าจเกดิ จากภาวะแทรกซอ้ นของชอ็ กตอ่ อวัยวะทส่ี าคัญของร่างกาย ลอื ดแดงปอดเพื่อประเมนิ ปรมิ าณสารน้าในร่างกาย และการบนั ทกึ คา่ CVP, PCWP บริหารยาผา่ นหลอดเลอื ดดาโดยใช้ infusion pump ในระหว่างการใหย้ าท่ีมคี วาม ชเ้ ครอื่ งชว่ ยหายใจ ช้เคร่ืองช่วยหายใจ ผปู้ ่วย ตดิ ตามอาการและอาการแสดงของภาวะการตดิ เช้ืออย่างต่อเน่ือง าเพ่มิ แรงบบี ตวั ชองหัวใจ ยาทชี่ ว่ ยเพมิ่ ปริมาณเลือดทไ่ี ปเล้ียงหัวใจ และยา างๆ หรือ PA catheter, urinary catheter

คำนิยามของภาวะลม้ เหลวในการทำงานของระบบอวยั วะหนึง่ ในรา่ งกาย 1. ระบบหวั ใจและหลอดเลือด อาการแสดงทางคลนิ ิก มีอาการหนง่ึ อาการหรือมากกว่าหน่งึ - อัตราการเตน้ ของหวั ใจ≤ 50 ครง้ั /นาที - ความดันเลอื ดเฉล่ยี ≤ 49 มม.ปรอท - มภี าวะหัวใจล้มเหลวร่วมกับการตรวจภาพรงั สีปอดและอาการทางคลนิ ิกบ่งบอกว่ามีปอดบวม - มีการแสดงของภาวะทีเ่ ลือดไปเล้ียงอวยั วะต่างๆไมเ่ พียงพอ คือ pH ของเลอื ด น้อยกวา่ 7.24 - มีหวั ใจเตน้ ผิดจังหวะ VT หรือ VF - ต้องการใชย้ า vasopressor 2. ระบบหายใจ อาการแสดงทางคลินกิ มีอาการหน่ึงอาการหรือมากกว่าหนงึ่ อาการ - อตั ราการหายใจ<5 หรือ≥49 คร้ัง/นาที -PaCO2 ≥50 มม.ปรอท ในขณะที่ pH <7.35 - ตอ้ งใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจ หรือ CPAP มากกว่า 3 วนั 3. ตบั มคี ่า prothrombin time สงู ขึ้น โดยไม่เก่ยี วข้องกบั การขาดวติ ามิน K - คา่ creatinin ≥ 3.5 mg/dl - ค่า BNU ≥ 100 mg/dl - มีการเพ่ิมขึน้ ของคา่ creatinin>2 mg% โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มไี ตวายเรื้อรัง - มคี วามจาเปน็ ตอ้ งใชก้ ารฟอกเลอื ด - ปัสสาวะ ≤479 มล./วนั หรอื ≤159 มล./8 ชม.

งอาการ 4. เลอื ด มน้ำ - จานวนเมด็ เลอื ดขาว ≤1,000 /ul - เกล็ดเลอื ด ≤20,000/ul - Hematocrit ≤ 20% - มีภาวะเลอื ดออก 6. ระบบประสาท - ระดับ Glasgow coma score ≤ 6 - มี polyneuropathy - มี encephalopathy 7. ระบบทางเดนิ อาหาร มอี าการหนง่ึ อาการหรือมากกว่าหน่งึ อาการ - มี stress ulceration - มี acalculouscholecystitis นางสาวจนั ทกานต์ แกน่ สาร เลขท่ี 27 หอ้ ง2 รหสั 6117701001051

การฟน้ื คืนชพี หว่ งโซ่แหง่ การ Brain damage starts after 4 minutes without oxygen การบาดเจบ็ ของสมอง หลังสมองขาดO2 4นาที จะไดร้ บั บาดเจ็บแตจ่ ะฟื้นกลบั มาไ

รรอดชวี ติ (CHAIN OF SURVIVAL) ได้ในชว่ งของนาทีในเวลาทั่วไป CPR 30นาที

เรม่ิ ตน้ CPR เมอื่ D > Danger R > Response C > Call for help and & start Chest compression ปลุกก่อน “คุณๆๆๆ” แล้วตะโกน “ชว่ ยดว้ ยๆ มคี นหมดสติ ชว่ ยโทร 1669 และขอเคร Steps of BLS: C > A > B นั่งคุกเขา่ ขา้ งผูป้ ว่ ย C : Circulation คลำcarotid pulse 10 sec (ยกเวน้ Hypothermia 30-60sec) กลางอกผู้ปว่ ยบรเิ วณคร่งึ ล่างของกระดูกหน้าอก Positioning : -แขน 2 ข้างเหยียดตรงในแนวดิ่ง กดหนา้ อกลกึ ประมาณ 5 cm แต่ไม่เ -กดดว้ ยอัตราเรว็ 100-120 ครง้ั ต่อนาที - สลบั คนปมั๊ ตอนทค่ี รบ 5 cycle ตอ้ งให้สญั ญาณ/ ประเมนิ ชพี จร ทุกครง้ั ท่ีกดหน้าอก เม่อื ปล่อยแรงกด อย่าใหม้ ือลอยจากกระดูกหน้าอก Cardiac arrest in pregnancy: ในคนท้องโกยทอ้ งจากขวามาซ้าย รองผ้าด้านขวาใ Cardiac arrest in Paediatrics: ลากมาตรงกลางหนา้ อกใชน้ ิ้วชกี้ บั นว้ิ กลางกด วิธที A: Airway Open airway: Remove Foreign body Non-Trauma: Head tilt chin lift Trauma : Jaw thrust ใช3้ นว้ิ ยกขากรรไกร ใช้นว้ิ โป้งกดมุมปาก เคลีย airway ดดู เสม

รื่อง AED ดว้ ยคะ่ ” ) start CPR วางสนั มือขา้ งหน่งึ ตรง B:Breathing เกิน 6 cm -เปา่ ลมเขา้ ปอดท้งั สองข้าง มองจากการเคล่ือนข้นึ ลงของหนา้ อก -ใช้เวลา 1 วินาทตี ่อคร้ัง -อตั ราการกดหน้าอก : การชว่ ยหายใจ 30:2 ใหเ้ ด็กไหลไปด้านซา้ ย ท2ี่ ใชม้ ือโอบกอดนิว้ โป้งกดลึก1.5-2นว้ิ มหะ

Automatic External Defibrillator : AED 5 ป : เปดิ – แปะ – แปล – เปรี้ยง – ป๊ัม •ทันทีที่ AED มาถึงให้เร่ิมเปดิ สวิชตท์ ันที •ติดแผ่นกระตุกหวั ใจทห่ี น้าอกผูป้ ว่ ย •เคร่ืองแนะนาใหช้ ็อค กดปุ่มช็อค •เครอ่ื งไมแ่ นะนาใหช้ ็อคให้กดหน้าอกต่อ ***แนใ่ จวา่ ไม่มีใครสัมผสั ผปู้ ่วย ขณะเครือ่ งทาการวเิ คราะห์หัวใจ หรือกดปุ่มชอ็ ค

Advanced cardiovascular life support(ACLS) Un-Shockable Shockable

ยาAdrenaline : กระต้นุ α-adrenergic receptor มผี ลเพิ่มความดันโลหิตจากการหดต กระตุน้ อตั ราการเต้นของหัวใจ Side effects: Hypertension Tachycardia Supraventricular tachycardia Cardiac arrest (asystole, PEA) •IV 1mg push ทุก 3-5 นาที (push NSS ตาม 10ml •Intratracheal 2-3 mg +NSS 10 ml Symptomatic sinus bradycardia • ใชเ้ มือ่ ไม่ตอบสนองต่อ atropine •10mg + 5%D/W 100 ml (1:10) IV 5-20 ml/hr Anaphylaxis Angioedema •0.5 mg IM +load IV NSS •กรณไี มต่ อบสนองตอ่ การรักษาใหซ้ ้ำ 0.5 mg IM ทกุ 10-15 ยาCordarone : กลไกการออกฤทธ์ิantiarrhythmic drugโดยลด automaticity ของ sin ข้อบ่งใช้ -Cardiac arrest and -Recurrent VT/VFที่ไม่ตอบสนองตอ่ defibrillation และยา adrenaline ขนาดยา :300mg + 5%D/W 20 ml IV slow push ใน 3นาที อาจพจิ ารณาให้ซ้ำ 150 m ขอ้ ห้าม Side effects: ข้อควรระวงั -Severe hypotension Hypotension 1.ขณะdripไมค่ -Pregnancy Bradycardia Betablocker, -Heart block Prolong QT interval Warfarin : เพ Heart block 2.การให้ยาตอ้ CHF 3.ระดบั K และ Phlebitis


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook