Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดวงดาวน่ารู้

ดวงดาวน่ารู้

Published by fjidkenen.1648, 2020-02-12 23:27:43

Description: รวมเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

ดวงดาวน่ารู้ รวมเรอื่ งราวต่างต่าง เก่ยี วกับดวงดาวในระบบสุริยะ ตงั้ แต่ ดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย จนถึงปรากฏการณอ์ ปุ ราคาต่างๆ

ก คานา หนงั สือ “ดวงดาวนา่ รู้” เลม่ นีเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ า การสรา้ ง หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซงึ่ ขา้ พเจา้ ไดร้ บั มอบหมายจากคณุ ครูใหจ้ ัดทาหนงั สือ เรอ่ื งนข้ี นึ้ ตามความสนใจ โดยบูรณาการกับวิชา วทิ ยาศาสตร์ เนือ้ หาใน หนังสือเลม่ น้จี ะประกอบไปด้วยเรอ่ื งน่ารู้ในระบบสรุ ยิ ะ ซึง่ ข้าพเจา้ ไดร้ วบรวม ไวใ้ นหนงั สือเล่มนี้ ขอบคณุ ครู ประภัสสร กา๋ เขียว ที่ใหแ้ นะนา ปรึกษา และเพอื่ นๆ ท่ีช่วย ให้คาแนะนา ตลอดจนหนังสอื เลม่ น้เี สรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี หากผดิ พลาดประการ ใดก็ขออภยั มา ณ ที่นด้ี ว้ ย ผู้จดั ทา สุธนกจิ วงษศ์ รีจนั ทร์

ข สารบัญ คานา ก สารบญั ข ดวงอาทิตย์ 1 ดาวพธุ 6 ดาวศกุ ร์ 8 โลก 10 ดาวอังคาร 14

1 ดวงอาทติ ย์ (Sun) ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยตู่ รงใจกลางของระบบสุริยะ ดวงอาทติ ย์ใหแ้ สงสว่าง ความ รอ้ น และพลงั งานรูปแบบอื่นแกโ่ ลก ดวงอาทิตย์อยใู่ นสถานะทีเ่ รียกว่า พลาสมา พลาสมาคอื สถานะที่ 4 ของสสาร คอื แกส๊ ท่ีอิเลก็ ตรอนไมไ่ ด้ยดึ ตดิ กับนิวเคลยี ส ดงั นน้ั พลาสมาจงึ มีความเปน็ กลางทางประจุไฟฟ้า รอบ ๆ ดวงอาอาทิตย์ประกอบดว้ ยดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ กับดาวบริวารของมนั ดาวเคราะห์น้อยอกี นับแสน และดาวหางอีกเป็นล้านลา้ น ทั้งหมดนี้รวมเรียกว่า ระบบสรุ ิยะ ดวงอาทติ ย์อยู่ห่างจากโลกประมาณ 150 ลา้ นกโิ ลเมตร หรือ 1 AU (Astronomical Unit) มมี วล ประมาณ 1.9x1030 กโิ ลกรมั มรี ศั มี (วัดบริเวณเส้นศนู ยส์ ตู ร) ประมาณ 695,500 กโิ ลเมตร ดวง อาทติ ยป์ ระกอบด้วยไฮโดรเจน 75% ต่อมวล ฮเี ลยี ม 25% ตอ่ มวล และธาตหุ นกั อื่น ๆ อกี น้อย กวา่ 1% ตอ่ มวล ผวิ ของดวงอาทติ ย์ที่เรามองเห็นไดม้ อี ุณหภมู ปิ ระมาณ 5,500 องศาเซลเซียส นักดาราศาสตรว์ ดั อณุ หภูมิผิวดาวฤกษใ์ นหน่วยของเคลวิน ซ่ึง 1 เคลวิน เท่ากบั 1 องศาเซลเซียส เทา่ กบั 1.8 องศา ฟาเรนไฮต์ แตจ่ ุดเร่ิมตน้ ของเคลวินและองศาเซลเซียสแตกตา่ งกนั โดยเคลวินเร่ิมที่ 0 เคลวิน แต่ องศาเซลเซียสเรมิ่ ท่ี -273.15 องศาเซลเซยี ส (เทา่ กับ -459.67 องศาฟาเรนไฮต์) ดังน้ัน อุณหภูมทิ ่ี ผวิ ดวงอาทิตย์จะมีค่าประมาณ 5,800 เคลวนิ และอุณหภูมิท่แี กนกลางของดวงอาทิตยส์ ูงถงึ

2 ประมาณ 15 ล้านเคลวนิ พลงั งานของดวงอาทิตยม์ าจากปฏกิ ริ ิยานวิ เคลียร์ฟิวชัน ซึ่งเกิดที่แกนกลางของดวงอาทิตย์ ปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลยี ร์ฟิวชันคือการรวมกันของอะตอมของธาตุเบาได้อะตอมใหม่ที่มีมวลน้อยกว่ามวล รวมของอะตอมเร่ิมตน้ และมวลทหี่ ายไปนนั้ ถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานดวงอาทิตย์มีความเป็นแม่เหล็ก นักวิทยาศาสตร์อธิบายความเป็นแม่เหล็กของสารในรูปแบบของสนามแม่เหล็ก ซึ่งบริเวณท่ี สนามแม่เหล็กมีผลจะรวมถึงอวกาศที่อยู่รอบ ๆ วัตถุแม่เหล็กนั้นด้วย สนามแม่เหล็กของดวง อาทติ ยจ์ ะเขม้ มากทบี่ รเิ วณเลก็ ๆ บนผิวที่เราเรียบกว่าจุดมืด (sunspots) บนดวงอาทิตย์ บางครั้ง จะมีการลุกจ้า (flares) และการปลดปล่อยก้อนมวลจากชั้นโคโรนา (coronal mass ejection) จากจุดมืดน้ดี ว้ ย การลุกจ้า (flares) เป็นเหตุการณ์ที่รุนแรงมากเหตุการณ์หนึ่งในระบบสุริยะ และการ ปลดปลอ่ ยก้อนมวลจากชัน้ โคโรนา (coronal mass ejection) ซง่ึ มคี วามรุนแรงมากกว่าการลุกจ้า การปลดปล่อยกอ้ นมวลครงั้ หนง่ึ อาจปล่อยมวลสารออกมามากถงึ 20,000 ลา้ นตันสอู่ วกาศ ดวงอาทิตย์เกิดมาเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีที่แล้ว และยังมีเชื้อเพลิงมากเพียงพอที่จะอยู่ ต่อไปอีก 5,000 ล้านปี หลังจากนั้นมันจะกลายเป็นดาวยักษ์แดง (red giant) และในที่สุดเมื่อชั้น บรรยากาศของมนั หมดไป แกนกลางกจ็ ะยุบตัวกลายเปน็ ดาวแคระขาว (white dwarf)

3 สรปุ ขอ้ มูลทางกายภาพของดวงอาทติ ย์ รศั มี 695,990 กโิ ลเมตร 432,470 ไมล์ มวล 1.989 1030 กิโลกรมั 4.376 1030 ปอนด์ พลงั งานที่ดวงอาทติ ย์ปล่อย 3.846 1033 erg/s ออกมาตอ่ วินาที อณุ หภูมทิ ผ่ี วิ ของดวงอาทิตย์ 5770 เคลวิน 9,930 องศาฟาเรนไฮต์ ความหนาแน่นท่ผี ิว 2.07 x 10-7 กรมั ต่อ 1.6 x 10-4 เทา่ ของความหนาแนน่ ของ ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร อากาศ องค์ประกอบทีผ่ วิ มวล ไฮโดรเจน 70% มวล ฮีเลียม 28% มวล อ่นื 28,000,000 องศาฟาเรนไฮต์ ๆ (คารบ์ อน, ไนโตรเจน, ออกซเิ จน, ...) 2% อุณหภูมทิ ใ่ี จกลาง 15,600,000 เคลวนิ ความหนาแน่นท่ใี จกลาง 150 กรัมต่อลกู บาศก์ 8 เทา่ ของความหนาแน่นของทอง เซนติเมตร

4 องค์ประกอบท่ใี จกลาง มวล มวล มวล อนื่ ๆ (คาร์บอน, ไฮโดรเจน 35% ฮเี ลียม 63% ไนโตรเจน,ออกซิเจน, ...) 2% อายุ 4.57 x 109 ปี (457,000,000,000 ปี) 1. โครงสรา้ งภายในดวงอาทติ ย์ (solar interior) ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 สว่ น คือ 1.1 แกนกลาง (core) 1.2 เขตแผร่ ังสี (radiative zone) 1.3 เขตการพา (convection zone)

5 โครงสรา้ งของดวงอาทิตย์ เราสามารถแบง่ โครงสร้างของดวงอาทติ ยอ์ อกได้เป็น 2 ส่วนหลกั ๆ คอื 2. ช้นั บรรยากาศของดวงอาทิตย์ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ชน้ั (layers) คือ 2.1 โฟโตสเฟยี ร์ (photosphere) 2.2 โครโมสเฟยี ร์ (chromosphere) 2.3 โคโรนา (corona) โดยที่ระหวา่ งช้นั โครโมสเฟยี ร์และช้นั โคโรนาจะมีชนั้ บาง ๆ ทีเ่ รียกว่า transition regions อยดู่ ้วย อา้ งองิ : http://astro.phys.sc.chula.ac.th/IHY/Sun/Sun.htm

6 ดาวพธุ (Mercury) ดาวพธุ เป็นดาวเคราะห์ท่อี ยู่ใกล้ดวงอาทติ ยท์ ส่ี ุด และยงั เปน็ ดาวเคราะห์ที่เลก็ ท่ีสดุ ในระบบ สรุ ยิ ะ ดาวพธุ มอี งคป์ ระกอบหลกั เปน็ โลหะหนกั จาพวกเหล็ก และหนิ ที่อยตู่ ามเปลอื กดาวกับชัน้ แมนเทิล ดาวเคราะห์ดวงน้ยี ังเป็นดาวเคราะห์ท่มี ีความหนาแนน่ มากเปน็ อันดับสองในระบบสุริยะ รองจากโลก ตวั ดาวพุธไมม่ ดี วงจนั ทร์ทโ่ี คจรโดยรอบตวั มนั เอง พื้นผิวดาวพุธเต็มไปด้วยหลมุ อุกกาบาต เชน่ เดียวกับดวงจันทร์ หลุมอกุ กาบาตบนดาวพธุ สว่ นใหญเ่ กดิ จากดาวหางและดาวเคราะห์น้อยท่มี า พุ่งชนกับดาวพธุ ในชว่ งที่ระบบสุริยะก่อตัว ซงึ่ พ้ืนผิวของดาวพธุ ต่างกับดาวเคราะห์ดวงอน่ื ตรงทีไ่ ม่ มกี ารสร้างพ้นื ผวิ ใหม่โดยผ่านกระบวนการทางภเู ขาไฟ พื้นผวิ ดาวพุธจงึ มีแตห่ ลุมอกุ กาบาตอายุมาก ดาวพุธไมส่ ามารถมีชนั้ บรรยากาศห่อหมุ้ โดยรอบได้ เน่ืองจากตัวดาวพุธมีขนาดเล็กและมี ความโนม้ ถว่ งนอ้ ย ขณะที่ดาวพุธอยู่ใกลด้ วงอาทิตย์มาก ลมสรุ ิยะ (Solar wind: กระแสอนภุ าคทปี่ ระจุ ไฟฟ้าจากดวงอาทติ ย์) จงึ กวาดแกส๊ ทอี่ อกมาจากดาวพุธออกสูอ่ วกาศอยา่ งรวดเรว็ การทดี่ าวพธุ ไมม่ ี บรรยากาศท่ีคอยช่วยปรับอุณหภมู ิ ทาใหอ้ ณุ หภูมดิ า้ นกลางวนั กับกลางคนื ของดาวพุธแตกตา่ งกนั

7 อยา่ งมาก โดยพน้ื ผิวดาวพุธด้านท่ีหันเข้าหาดวงอาทิตยจ์ ะมีอณุ หภูมิสงู ถึง 427 องศาเซลเซียส ขณะทีด่ ้านกลางคนื จะมอี ณุ หภูมลิ ดต่าลงถงึ -173 องศาเซลเซยี ส ยานอวกาศที่ไปสารวจดาวพุธลาแรกคอื ยานมารีเนอร์ 10 (Mariner 10) ในปี ค.ศ.1974 และแผนที่นอ้ ยกว่าคร่ึงหน่ึงของพื้นผวิ ดาวพุธทงั้ หมด ส่วนยานสารวจดาวพุธลาที่สอง คอื ยานเม สเซนเจอร์ (MESSENGER) ทถ่ี ูกส่งขึน้ สอู่ วกาศในปี ค.ศ.2004 ยานลานี้ได้ทาแผนท่ดี าวพธุ ท่มี คี วาม ละเอียดมากขนึ้ ซ่งึ ภาพทางดา้ นซ้ายน้เี ปน็ แผนทีด่ าวพุธท่ีทาขึ้นโดยภาพถ่ายจากยาน พ้นื ท่ตี ่าจะมสี ี มว่ ง ส่วนพนื้ ทสี่ ูงจะมีสแี ดง อา้ งองิ : http://www.narit.or.th/index.php/astro/solsys/planets/mercury

8 ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศกุ ร์ เปน็ ดาวทีม่ ีภาพลักษณ์ภาพนอกคล้ายโลกมากทสี่ ดุ เนื่องจากขนาด มวล ความ หนาแน่นและองค์ประกอบของธาตุต่างๆ มีความคล้ายคลึงกบั โลกมาก แต่สิ่งท่ีทาให้โลกและดาว ศุกร์มีความแตกตา่ งกนั อยา่ งสิ้นเชงิ ก็คอื ชัน้ บรรยากาศซึง่ ดาวศุกรม์ กี ๊าซทหี่ นาแนน่ มาก จนกระท่ัง เราไมส่ ามารถมองทะลุช้นั บรรยากาศลงไปถงึ พื้นผิวของดาวศกุ ร์ไดด้ ว้ ยกลอ้ งโทรทรรศน์ธรรมดา นอกจากนน้ั บรรยากาศทีห่ นาแน่นนย้ี งั เป็นตวั การเก็บกกั ความร้อนไวใ้ นดาวศุกร์ดว้ ย ทาให้ดาวศกุ ร์ มอี ุณหภมู แิ ละความดนั สูงกว่าโลกของเรามาก พร้อมกันกบั การกักอุณหภูมไิ ว้ บรรยากาศทีห่ นาแนน่ ยังสะทอ้ นแสงส่วนมากทีม่ าจากดวงอาทติ ย์ออกไปดว้ ย ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทาไมดาวศกุ รจ์ ึงเป็นดาวที่ สวา่ งมากท่สี ุดบนทอ้ งฟ้ายามคา่ คนื นนั่ เอง สงิ่ ที่น่าแปลกอีกประการหนึ่งของดาวศุกร์ คือ การหมนุ รอบตวั เองทช่ี า้ มาก และเป็นการ หมุนที่กลับทิศทางกับการหมนุ โดยทวั่ ไป โดยทห่ี น่งึ วันของดาวศุกร์จะยาวนานถึง 117 วันของโลก และถ้าเราสามารถไปอยบู่ นดาวศุกรไ์ ด้ เราจะเห็นดาวอาทติ ยข์ ้ึนทางทิศตะวันตก และดวงอาทิตย์ ตกทางทศิ ตะวันออกอนั เน่ืองมาจากการหมุนกลับทศิ ทางของดาวศกุ ร์

9 ตารางแสดงข้อมูลที่สาคัญของดาวศกุ ร์ คน้ พบโดย นักดาราศาสตร์โบราณ ระยะทางโดยเฉลย่ี จากดวง 108,208,930 km อาทิตย์ ระยะทางใกล้ทีส่ ุดจากดวง 107,476,000 km อาทติ ย์ ระยะทางไกลที่สุดจากดวง 108,942,000 km อาทิตย์ รศั มีบรเิ วณเสน้ ศนู ยส์ ตู ร 6,051.8 km เสน้ รอบวงบรเิ วณเส้นศูนย์สูตร 38,025 km ปริมาตร 928,400,000,000 km3 มวล 4.869×1024 kg ความหนาแนน่ เฉลยี่ 5.24 g/cm3 ค่าความรีของวงโคจร 0.0068 อุณหภมู ิผิว ตา่ สุด/สูงสดุ ประมาณ 462 °C อ้างองิ : http://astro.phys.sc.chula.ac.th/IHY/Solar_system/Planets/Venus.htm

10 โลก (Earth) โลกเป็นดาวเคราะหด์ วงเล็กๆ ในจกั รวาลทก่ี ว้างใหญ่ไพศาล โลกเปน็ หนง่ึ ในดาวเคราะห์ แปดดวงท่ีโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ดวงอาทติ ย์เปน็ ดาวฤกษ์ดวงหน่ึงในบรรดาดาวฤกษห์ ลายพันล้าน ดวงของกาแลกซีทางชา้ งเผือก (Milky Way) และกาแลกซที างชา้ งเผือกเป็นหนึ่งในแสนลา้ นกาแลก ซี (galaxies) ของเอกภพ (universe) แมว้ ่าโลกเปน็ เพยี งดาวเคราะห์เล็กๆ ดวงหนง่ึ ในของเอกภพ แต่โลกก็เป็นทอี่ ยอู่ าศยั ของ มนษุ ย์ และสงิ่ มีชีวิตทงั้ หมด (เท่าท่ีเราร้จู ัก) ในเอกภพ สตั ว์ พชื หรอื สิ่งมชี ีวิตชนิดอ่ืนๆ อาศยั อยู่บน ผวิ โลก สิง่ มชี วี ติ เหล่านส้ี ามารถอาศัยอยู่บนโลกไดเ้ พราะว่าโลกอยหู่ ่างดวงอาทิตย์อยา่ งพอเหมาะ เพราะว่าส่งิ มชี วี ติ ต้องการความอบอุ่น และแสงจากดวงอาทติ ย์ เพือ่ ใหย้ ังชีพอย่ไู ด้ ถ้าโลกอยู่ใกล้ ดวงอาทิตย์มากกว่าน้ี โลกก็จะมคี วามร้อนมากข้ึน ส่ิงมชี วี ติ กจ็ ะตายหมด และถา้ โลกอยไู่ กลดวง อาทิตย์มากกว่าน้ี โลกก็จะหนาวเกนิ กว่าท่ีสิ่งมีชีวิตจะทนอยู่ได้ นอกจากนโี้ ลกยงั มีสง่ิ ทสี่ าคญั ต่อ ส่งิ มชี ีวิตอกี อย่างหน่งึ นน่ั คือน้า ผิวโลกมีน้าประมาณ 3 ใน 4 สว่ น

11 วิชาท่ีศกึ ษาเก่ยี วกบั โลก เราเรียกวา่ ธรณีวทิ ยา (Geology) และนักวทิ ยาศาสตร์ทศ่ี ึกษา เกี่ยวกบั โลกคือนกั ธรณีวิทยา (Geologists) นกั ธรณีวิทยาศึกษาภูมปิ ระเทศของโลกเชงิ กายภาพ เพ่ือทจี่ ะเขา้ ใจวา่ โลกเกิดมาจากอะไร โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไรบ้างตามเวลา และส่ิงอื่นๆ อกี มากมาย เช่น โลกลกึ มากแค่ไหน ซง่ึ สงิ่ ต่างๆ เหล่านีไ้ มส่ ามารถศกึ ษาไดโ้ ดยตรง แต่จะต้องดูจาก หินของโลก และวิธีอ่นื ๆ ปัจจุบนั นนี้ ักธรณีวิทยาสามารถศกึ ษาและมองโลกจากอวกาศ โลกมเี สน้ ผา่ นศูนยก์ ลางที่วดั จากข้ัวโลกเหนอื ไปขัว้ โลกใต้ 12,713.54 กิโลเมตร และมีเส้น ผา่ นศูนย์กลางท่วี ดั ผ่านเส้นศนู ย์สูตร 12,756.32 กิโลเมตร ซึง่ ต่างกนั อยู่ 42.78 กโิ ลเมตรหรอื ประมาณ 1/298 เท่าของเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางของโลก ดังนัน้ โลกจงึ ดกู ลมเม่อื มองจากนอกโลก โลกประกอบดว้ ยช้นั (layers) ต่างๆ หลายชน้ั เหมือนกบั หัวหอม บริเวณท่ีเปน็ ของแข็ง ของโลกเป็นชนั้ บางๆ ที่อยู่นอกสดุ เรียกว่า เปลอื กโลก (crust) ทีอ่ ยู่ใตเ้ ปลอื กโลกลงไปคอื ชัน้ เนอื้ โลก (mantle) เปลือกโลกและเนอื้ โลกดา้ นบนรวมเรียกว่าช้ันลโิ ธสเฟียร์ หรือธรณี ภาค (lithosphere) ใจกลางของโลกคือ แกน (core) ที่แกนโลกด้านนอก (outer core) เป็น ของเหลว ส่วนท่แี กนโลกดา้ นใน (inner core) เป็นของแขง็ สว่ นของน้าที่ปกคลุมผวิ โลกเราเรียกว่า อทุ กภาค (hydrosphere) โลกยังปกคลุมด้วยช้ันบางๆ ทเี่ ปน็ อากาศ เรียกว่า บรรยากาศ (atmosphere)

12 ในการศกึ ษาโครงสร้างภายในของโลกน้นั นักธรณีวิทยาจะศกึ ษาการส่ันทีเ่ กดิ จาก แผน่ ดนิ ไหว โดยเครื่องวดั ความไหวสะเทอื น (seismographs) คลืน่ แผน่ ดนิ ไหวนจ้ี ะมีความเรว็ เปลี่ยนไปเมือ่ เคลื่อนผ่านสสารทีม่ ีความหนาแนน่ ต่างกัน ดงั น้ันนกั ธรณีวิทยาจึงสามารถทราบ โครงสรา้ งตา่ งๆ ภายในเปลือกโลกได้ (อธบิ ายเพ่มิ ดใู น modern astrophysics) แกนโลก (core) แกนโลกประกอบดว้ ยธาตเุ หลก็ (iron) และนกิ เกิล (nickel) จานวนมาก อาจจะมธี าตเุ บา อ่ืนๆ ปนมาบ้าง รวมถึงกามะถัน (sulfur) และออกซเิ จน (oxygen) แกนโลกมเี ส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ประมาณ 7,100 กโิ ลเมตร (ขนาดประมาณใกล้เคียงกบั ดาวองั คาร) แกนโลกชนั้ นอกหนา ประมาณ 2,250 กโิ ลเมตร และแกนโลกชน้ั ในมีเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 2,600 กโิ ลเมตร สว่ นประกอบ ของแกนโลกชนั้ ในนน้ั เหมอื นกับแกนโลกช้ันนอก แตม่ สี ถานะเปน็ ของแข็ง ขนาดของแกนโลกชัน้ ใน ประมาณเป็นสีใ่ นหา้ เท่าของดวงจนั ทรข์ องโลก ยิง่ เขา้ ใกล้จุดศูนย์กลางของโลกมากเทา่ ไรก็ยิ่งร้อนข้ึนมากเท่าน้ัน และท่ีใต้เปลือกโลกจะมี อณุ หภูมปิ ระมาณ 1,000 องศาเซลเซียส และอณุ หภูมจิ ะสูงขน้ึ 1 องศาเซลเซยี ส ทกุ ๆ 1 กโิ ลเมตร นักธรณวี ิทยาเชือ่ วา่ ทแ่ี กนโลกดา้ นนอกจะมอี ณุ หภมู ปิ ระมาณ 3,700 -4,300 องศาเซลเซียส และท่ี แกนโลกชัน้ ในอาจมอี ณุ หภมู ิสงู ถึง 7,000 องศาเซลเซียส (สูงกวา่ ทผ่ี ิวของดวงอาทิตย์!) แตใ่ นแกน โลกจะมีความดันสงู มากจนเหลก็ ยงั อยู่ในสภาพของแข็ง

13 เน้อื โลก (mantle) เนือ้ โลกมคี วามหนาประมาณ 2,900 กโิ ลเมตร ชน้ั เนื้อโลกสามารถไหลไปมาแบบช้าๆ ได้ การไหลของเนอื้ โลกจะทาใหเ้ ปลอื กโลกภาคพน้ื ทวปี (continental crust) เล่ือนไปดว้ ย การเล่ือน ของเปลือกโลกภาคพน้ื ทวีปจะทาให้เกดิ ภูเขา ภเู ขาไฟ และแผ่นดนิ ไหว เปลอื กโลก (crust) หนิ รอ้ นๆ ที่อยู่ในเนื้อโลกจะลอยข้ึนมาอย่างชา้ ๆ ในขณะท่ีหนิ ท่เี ย็นกวา่ จะค่อยๆ จมลง เพราะวา่ สสารทมี่ ีอุณหภูมสิ งู กว่าจะเบากว่าสสารที่มีอณุ หภูมิต่ากว่า การลอยขึ้นและจมลงของสสาร เนอื่ งจากความแตกต่างของอุณหภูมนิ ีเ้ ราเรียกวา่ การพา (convection) เมอ่ื เนอื้ โลกมกี ารไหลไป อยา่ งช้าๆ ทาใหเ้ ปลอื กโลกแตกเปน็ ช้นิ เลก็ ๆ เรยี กว่า tectonic plates เมอื่ เนอ้ื โลกเคลือ่ นที่ไปกจ็ ะ ลาก tectonic plates เหล่านไ้ี ปดว้ ย ซ่งึ ทาใหเ้ กดิ ภูเขา ภูเขาไฟ และแผ่นดนิ ไหว การเคลอ่ื นทีข่ อง เปลือกโลกแบบนี้เราเรียกวา่ plate tectonics อ้างอิง : http://astro.phys.sc.chula.ac.th/IHY/Earth/Earth.htm

14 ดาวองั คาร (Mars) ประวตั ิความเปน็ มา ดาวอังคาร เปน็ ดาวเคราะห์ ในระบบสุรยิ ะทอ่ี ยหู่ า่ งจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 4 ชื่อละตนิ ของดาวองั คาร (Mars) มาจากชอ่ื เทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน หรือตรงกับเทพเจ้า Ares ของ กรีก เป็นเพราะดาวอังคารปรากฏเปน็ สแี ดงคล้ายสีโลหติ บางคร้ังจึงเรยี กว่า \"ดาวแดง\" หรือ \"Red Planet\" (ความจริงมสี คี ่อนไปทางสีส้มอมชมพูมากกว่า) สญั ลักษณ์แทนดาวอังคาร คือ ♂ เปน็ โลแ่ ละหอกของเทพเจ้ามารส์ ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทรข์ นาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟ บอสและไดมอส โดยท้ังสองดวงมีรปู ร่างบิดเบ้ยี วไมเ่ ปน็ รปู กลม ซ่ึงคาดกันวา่ อาจเปน็ ดาวเคราะห์ น้อย ทีห่ ลงเขา้ มาแลว้ ดาวองั คารคว้าดงึ เอาไวใ้ หอ้ ยู่ในเขตแรงดงึ ดดู ของตน ดาวอังคารเปน็ ดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีช้นั บรรยากาศเบาบาง พ้นื ผิวมลี ักษณะ คลา้ ยคลงึ ท้ังหลมุ อกุ กาบาตบนดวงจนั ทร์ และภเู ขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย และบรเิ วณน้าแข็งข้ัว โลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขา ที่สงู ทีส่ ดุ ในระบบสุรยิ ะคือ ภเู ขาไฟโอลิมปสั (Olympus Mons) และหบุ เขาลกึ ที่มีช่อื ว่ามารเิ นรสิ (Marineris) ท่ีใหญท่ ีส่ ดุ ในระบบสุริยะ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2008 มีบทความ 3 บทความตีพมิ พล์ งในนิตรสาร \"Nature\" เกี่ยวกับหลกั ฐานของหลุมอกุ กาบาตที่ใหญม่ หึมา โดยมคี วามกวา้ ง 8,500 กิโลเมตร ยาว 10,600 กิโลเมตร[3][4] นอกจากนั้นส่ิงทีด่ าวองั คารมีและคล้ายคลึงกับโลกก็คือคาบการหมุนรอบตวั เองและ ฤดูกาล

15 ดาวอังคารสามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ มีค่าความส่องสว่างปรากฏอยทู่ ่ี 3.0 มีเพียงแค่ดาว ศกุ ร์ ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์ทสี่ ว่างกว่า ลักษณะทางกายภาพ โดยภาพรวมนัน้ ดาวองั คารมขี นาดที่เลก็ กว่าโลก คอื มีความยาวของเส้นผ่านศูนยก์ ลางเท่ากบั รัศมี ของโลกและมีน้าหนกั เทยี บได้กบั 11% ของโลก ปริมาตร 15% ของโลก พ้ืนที่ผิวทัง้ หมดของดาว อังคารยังน้อยวา่ พืน้ ท่ีท่ีเป็นพน้ื ดนิ ของโลกเสียอีก[5] ส่วนสีของดาวทเ่ี ห็นเปน็ สีส้ม-แดงนั้น เกิดจาก ไอรอ์ อน(II) ออกไซด์ ซงึ่ เป็นท่ีรู้กันคอื แรเ่ หล็ก หรอื สนมิ เหลก็ นั่นเอง

16 ดาวบรวิ าร บรวิ ารของดาวองั คาร มอี ยู่ 2 ดวงเปน็ ดาวขนาดเลก็ นักวิทยาศาสตรค์ ิดว่าคงเปน็ สะเก็ดดาว เคราะห์นอ้ ย ที่ถกู สนามแรงโนม้ ถว่ งของดาวองั คารจบั ไว้ อตั ราการ เส้นผ่าน น้าหนกั ค่าเฉล่ียของ หมุนรอบตวั เอง ชือ่ ภาพ ศูนย์กลาง (กม.) (กก.) รัศมี (กม.) (ชม.) โฟบอส 22.2 (27 × 1.08×1016 9,378 7.66 (Phobos) 21.6 × 18.8) ไดมอส 12.6 (10 × 2.0×1015 23,400 30.35 (Deimos) 12 × 16)

17 การสารวจ  8 มนี าคม พ.ศ. 2550 - นายเจฟเฟรย์ แอนดรูวส์-แฮนนาและเพอื่ นร่วมงาน แห่งสถาบนั เทคโนโลยแี มสซาชเู ซตส์ พบหลักฐานสาคญั วา่ ครัง้ หนง่ึ ดาวองั คารเคยมโี ครงสรา้ งของ ระบบนา้ ซมึ ซ่งึ ถอื เปน็ ขอ้ พิสจู น์ชใี้ หเ้ ห็นว่าดาวองั คารเคยมคี วามสมั พันธอ์ ันสลับซับซอ้ นกบั องคป์ ระกอบของส่งิ มชี ีวิตมาเป็นเวลานาน  22 กนั ยายน พ.ศ. 2550 - ยาน 2001 มารส์ โอดิสซีย์ พบสง่ิ ที่ดูเหมือนถ้า 7 แหง่ บรเิ วณ เนินลาดของภูเขาไฟบนดาวองั คาร โดยทางยานไดส้ ง่ ภาพของพื้นบรเิ วณหนง่ึ ซึง่ มดื และมี ลักษณะเปน็ ทรงกลมทเ่ี ชอ่ื ว่าเป็นปากถา้ เช่อื ว่าภายในเป็นพ้นื ท่ีกว้างใต้ดนิ และนา่ จะมี อากาศเย็นกว่าพนื้ ท่ีโดยรอบในเวลากลางวนั และอุ่นกวา่ ในเวลากลางคืน ถ้าทั้ง 7 นีท้ างนา ซาได้ตั้งชอื่ ใหว้ า่ \"นอ้ งสาวท้งั 7”

17 ยานอวกาศ  มารเิ นอร์ 4  มาริเนอร์ 9  มารส์ 3  ไวกิ้ง  มารส์ พาทไฟเดอร์ อ้างองิ : http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~hsomsak/mars.html

18 ดาวพฤหสั บดี (Jupiter) ดาวพฤหสั บดีเป็นชื่อของเทพเจ้า Jupiter (หรอื Zeus) ซ่งึ เป็นราชาของเทพเจา้ ท้ังปวง และดาว พฤหสั กเ็ ปน็ ดาวเคราะห์ ทใี่ หญท่ ส่ี ดุ ในระบบสรุ ิยะจกั รวาลของเรา มีขนาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ประมาณ 11 เท่าของโลก มรี ะบบดาวบรวิ ารของตนเอง ไมต่ า่ กวา่ 16 ดวง ดาวพฤหสั บดี เป็นดาวเคราะห์ท่ีอยหู่ า่ งจากดวงอาทติ ย์เปน็ อนั ดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะหด์ วง ใหญท่ ี่สุด ในระบบสรุ ิยะ มีมวลมากกว่าโลกกวา่ 317 เท่าแตม่ ีขนาดใหญ่กวา่ โลก 1,400 เท่า หาก ดาวพฤหสั มีมวลมากกว่าอีก 100 เท่า ดาวพฤหสั ก็จะกลายเป็นดาวฤกษ์ขนาดเลก็ ๆได้เลย ดาวพฤหสั บดเี ป็นดาวเคราะห์ท่ีมขี นาดใหญ่ทีส่ ุดในระบบสุริยะ เป็น ดาวเคราะห์กา๊ ซยกั ษ์โคจร ห่างจากดวงอาทติ ย์เปน็ ลาดับที่ 5 ถัดจากดาวองั คาร มเี ส้นผ่านศนู ยก์ ลาง 142,984 กิโลเมตร มเี น้ือ สารมากทส่ี ุด และมากกว่า ดาวเคราะห์ ทุกดวงรวมกัน มีมวลราว 318.1 เท่าของโลก ใช้เวลาในการ หมนุ รอบ ตัวเอง เรว็ มากประมาณ 9 ชั่วโมง 55 นาที หรอื 10 ชัว่ โมงตอ่ 1 รอบ แตใ่ ช้เวลา โคจร รอบ ดวงอาทติ ย์ 1 รอบ ใชเ้ วลานานถงึ 12 ปีของโลก ดว้ ยความเร็ว 13.06 กิโลเมตรต่อวินาที ดาว พฤหสั จะเคลอ่ื นที่ชา้ ๆ ผ่านกล่มุ ดาวจักรราศไี ด้ ประมาณ ปีละ 1 กลุ่ม

19 ดาวพฤหัสบดีอยูห่ า่ งจากโลก 5.2 หน่วยดาราศาสตรห์ รอื ประมาณ 780 ลา้ นกโิ ลเมตร แรง ดงึ ดูดที่ผวิ ของ ดาวพฤหัสบดีสงู กว่าโลก 2.64 เท่า น่ันหมายถงึ ว่าถ้าอยู่บนโลกเราหนัก 50 กโิ ลกรัม แต่ถา้ ไปอย่บู นดาวพฤหัสบดี จะมีนา้ หนักถงึ 132 กโิ ลกรัม ดาวพฤหสั บดมี ดี วงจนั ทรเ์ ป็นบรวิ าร ขณะนถ้ี ึง 16 ดวง แตถ่ ้าใชก้ ล้องโทรทศั นส์ อ่ ง ดแู ล้ว จะเห็นดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง แต่ ละดวงจะโตกวา่ ดวงจันทร์ของโลกเรา ดวงจนั ทร์ท้ัง 4 ดวง ส่องกลอ้ งพบโดย กาลเิ ลโอ บิดาวชิ า ดาราศาสตร์ภาคสังเกตการณ์ ชาวอิตาลี เมื่อปี พ.ศ. 2153 (ค.ศ.1610) จึงได้ชอื่ ว่า ดวงจนั ทรก์ าลิ เลียน เรยี งตามลาดบั ระยะหา่ งจากดาวพฤหัสบดี คือ ไอโอ (lo) ยุโรปา (Europa) แกนิมีด (Ganymede) และ คัลลสิ โต (Callisto) ดวงทใ่ี หญ่ที่สดุ คือแกนิมดี (Ganymedq aze) บรรยากาศของดาวพฤหสั บดีมลี ักษณะเปน็ แถบกวา้ งหลายแถบ ระหวา่ งแถบเป็นรอยมืด เรยี กว่า เขม็ ขดั ขนานไป กบั แนวเส้นศูนยส์ ูตร ซง่ึ แถบกว้างนแ้ี ทท้ ี่จรงิ แล้วคือ แถบเมฆที่หนาทึบทอดตัวยาว ออกไป เคลื่อนทีห่ มนุ วนไป รอบตัวดวง มีองค์ประกอบ เป็นธาตุไฮโดรเจนและฮเี ลียม ไม่มีพนื้ ผวิ แขง็ แตม่ ีแกนใจกลางขนาดเล็กเปน็ หินแขง็ บรรยากาศมีอตั ราส่วนเหมอื นกันมาก กับบรรยากาศ ของดวงอาทติ ย์ ใต้เสน้ ศนู ย์สูตรไปทางซกี ใต้ จุดนีค้ ือพายุหมุนวน ดว้ ยความเรว็ สูงเปน็ ลักษณะเดน่ ท่ี ปรากฎเห็นมานานแลว้

20 บรรยากาศของดาวพฤหัสบดีมีอณุ หภมู แิ ละความกดดันไมแ่ ตกต่างไปจากทีม่ ีอยู่ตามบริเวณผวิ ของโลก ซ่ึงจะ คอยทาหน้าท่ีเสมือนป็น เรือนกระจกในการเกบ็ พลังงานจากดวงอาทติ ย์ไว้ โดยจะ ปล่อยพลังงานออกไป ในอากาศเพียง เล็กน้อยเทา่ น้ัน นอกจากนี้นกั ดาราฃศาสตร์ยังได้พบโมเลกุล อนิ ทรีย์ทซี่ บั ซอ้ นมากในบรรยากาศของดาวพฤหสั บดี การเคล่ือนตวั ของระบบเมฆ ทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ การ คายของประจุไฟฟา้ และการเกิดปฏกิ ริยาทางเคมใี นบรรยากาศ ซง่ึ เปน็ แนวทางในการคน้ หา กระบวนการทาให้เกิดอินทรียชีวติ ในสภาพทเ่ี ป็นอยูใ่ นดาวพฤหสั บดี เพ่อื หาหลกั ฐานให้แน่ชดั วา่ ชีวติ เกดิ ขึน้ มาไดอ้ ย่างไรในจกั รวาล เหมือนกบั ทีเ่ กิดขนึ้ มาแลว้ ในโลกของเรา การค้นพบที่สาคญั อีก อย่างหน่ึง เกี่ยวกบั ดาวพฤหสั บดกี ค็ อื เม่ือยานวอยเอเจอร์ 1 ถา่ ยภาพส่งมา พบว่า มีวงแหวนบาง มาก 1 ชั้นลอ้ มรอบดาวพฤหสั บดีอยู่ ซง่ึ สนั นษิ ฐานว่าวงแหวนน้คี อื ก้อนน้าแขง็ และก้อนวตั ถใุ หญ่ น้อยขนาดต่างๆกนั ลอ่ งลอยอยูร่ อบๆ ดาวพฤหสั บดี นอกจากน้ีภาพถ่ายจากยานวอยเอเจอร์ 1 และ 2 กพ็ บวา่ มภี เู ขาไฟกาลงั ระเบิดอยบู่ นดวงจนั ทรบ์ รวิ ารทีช่ ือ่ ไอโอ

21 ขอ้ มูลจาเพาะของดาวพฤหสั บดี ระยะห่างจากดวง โดยเฉลี่ย 778.34 ลา้ นกโิ ลเมตร(5.203 a.u.) อาทิตย์ ใกล้สุด 740.9 ล้านกโิ ลเมตร (4.951 a.u.) ไกลสุด 815.7 ล้านกิโลเมตร (5.455 a.u.) Eccentricity 0.048 คาบการหมนุ รอบ 9 ชวั่ โมง 50 นาที 30 วนิ าที ตัวเอง คาบการหมนุ รอบ 11.86 ปบี นโลก ด้วยความเร็ว 13.06 กิโลเมตรตอ่ ดวงอาทติ ย์ วินาที ระนาบโคจร 1:18:15.8 องศา (Inclination) แกนเอียงกบั 3:04 องศา ระนาบโคจร มวล 317.89 เท่าของโลก เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 143,884 กิโลเมตร (โลก 12,756 กโิ ลเมตร ทเี่ สน้ ศูนยส์ ูตร) แรงโน้มถว่ ง 2.64 เทา่ ของโลก ความเร็วหลดุ พ้น 60.22 กิโลเมตรต่อวินาที ความหน่าแนน่ 1 ต่อ 1.33 เมอื่ เทยี บกับน้า ความสวา่ งสงู สดุ -2.9

22 หมายเหตุ: Eccentricity เป็นค่าคงทีของวงโคจร ทบ่ี อกว่าวงโคจรนั้นรมี ากหรอื น้อย หาไดจ้ าก ระยะห่างของ จุด โฟกัสทั้งสอง หารดว้ ย ความยาวของแกนหลัก ซึ่งวงกลมจะมีคา่ Ecc=0 และพาลาโบล่าจะมีคา่ Ecc=1 Inclination มมุ เอียงท่รี ะนาบการโคจรของดาวเคราะหห์ รอื ดาวหาง ทากบั ระนานอิคลปิ ตคิ มหี น่วยเป็น องศา

23 ดาวพฤหสั เปน็ ดาวเคราะห์ก๊าซขนาดยกั ษท์ ไี่ ม่มีพื้นผิวใหเ้ หยียบ แกนกลางเป็นชน้ั แข็งของ ไฮโดรเจน และฮเี ลยี มท่แี ขง็ เหมอื นโลหะเน่อื งจากอยู่ภายใตค้ วามกดดันทีส่ งู มาก ขนาดราวสองเท่า ของโลก ถัดขึ้นมา ชัน้ กลางเป็นช้ันของของไฮโดรเจนเหลว หนาราว 45,000 กิโลเมตร ภายใตค้ วาม กดดันสงู ราว 3 ลา้ นเท่า ของ ความกดอากาศบนโลก ถัดขึน้ มาอีกเปน็ ชน้ั ของโมเลกลุ ของไฮโดรเจน ทแ่ี ตกตัวเป็นประจไุ ฟฟ้า ทาให้เกิดสนาม แมเ่ หล็กความเข้มสงู รอบดาวพฤหสั รูปคล้ายโดนทั ซึ่ง ตรวจวัดได้จากยานวอยเอเจอร์ ชนั้ บนสุดเปน็ ช้ันของ บรรยากาศทีห่ นาแน่น บรรยากาศของดาวพฤหสั ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 81% ฮเี ลียม 18% ทเ่ี หลอื เปน็ มีเธน แอมโมเนยี ฟอสฟอรสั และ ไอนา้ เนอื่ งจากดาวพฤหสั มีการหมุนรอบตัวเองท่ีเร็วมากคือประมาณ 10 ช่ัวโมงทัง้ ทมี่ ขี นาดใหญ่ จงึ ทาให้ ลกั ษณะของดาวพฤหสั ป่องบริเวณเส้นศูนยส์ ูตร และมีความ แปรปรวนของชน้ั บรรยากาศสูงมาก ทาใหช้ นั้ บรรยากาศ แบ่งออกเป็นแถบๆตามแนวขวางคล้าย เข็มขัด

24 จดุ แดงยกั ษ์ คนโบราณสามารถสังเกตเห็นจดุ แดงใหญ่บนดาวพฤหสั มาเป็นเวลานานหลายร้อยปแี ลว้ ปัจจุบันเรา วา่ ทราบน่ันคอื พายุหมนุ ขนาดยกั ษ์ใหญ่กวา่ โลกของเราถงึ 3 เทา่ หมนุ ทวนเข็มนาฬิกาด้วย คาบเวลา หน่งึ รอบกนิ เวลา 6 วัน ดว้ ยความเร็ว 400 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมงนบั เป็นพายุที่เรว็ ที่สุดใน ระบบสุริยะดว้ ย

25 วงแหวนของดาวพฤหสั วงแหวนของดาวพฤหัสเป็นวงแหวนชนั้ บางๆ ไมส่ ามารถมองเห็นจากโลก ดาวหางชูเมเกอร์-เลว่ี9 ถูกแรงโนม้ ถว่ งของดาวพฤหสั จบั ไวเ้ ม่อื ดาวหางนัน้ โคจรเขา้ มา เฉียด ดาวพฤหสั และเปน็ วาระสดุ ทา้ ยของดาวหางน้ัน ดาวหางถูกแรงโน้มถ่วงอนั มหาศาลของดาวพฤหัส ปีบใหแ้ ตก เปน็ ช้ินเล็กๆกว่า 20 ชิ้น แล้วดาวหางก็พ่งุ เขา้ ชนดาวพฤหัสเมื่อเดือนกรกฏาคม 2537 แต่การชนนไ้ี มส่ ามารถสงั เกตเห็นได้จากบนโลก แต่ยานกาลิเลโอ ถ่ายไว้ได้ การชนเกดิ ขนึ้ ตอ่ เนือ่ ง นานถึง 6 วนั และนบั เป็นเร่ืองทต่ี ้องจารึกไวใ้ นประวัติศาสตร์ ของวงการดาราศาสตร์เลยทีเดียว

26 ดาวบริวารของดาวพฤหสั ดาวพฤหัส ดาวเคราะห์ก๊าซยกั ษใ์ หญ่ ซ่ึงปัจจุบันครองแชมปด์ าวเคราะห์ท่มี ีดาวบรวิ ารมากทีส่ ุดคอื 40 ดวง แตใ่ นทน่ี ี้เราจะมาพดู ถึงดวงจันทรย์ กั ษ์ 4 ดวงสามารถมองเหน็ ไดจ้ ากบนโลก ซึง่ ถูกเห็นครง้ั แรกโดย กาลิเลโอ เมื่อปี คศ.1610 โดยใชก้ ล้องโทรทรรศน์ท่ีกาลิเลโอประดิษฐ์ขึน้ เอง เราจงึ เรียกว่า \"ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean's moon)\" ประกอบดว้ ย ไอโอ(Io) ยูโรปา(Europa) แกนิมดี (Ganimede) และ คลั ลิสโต (Callisto) ทเี่ หลือเปน็ ดวงจนั ทร์ขนาดเล็ก ถกู ค้นพบโดยยานสารวจ อวกาศ

27 ข้อมูลของดวงจนั ทร์บริวารของดาวพฤหัส ไอโอ (Io) ไอโอ (Io) ดวงจันทรข์ นาดใหญอ่ นั ดับ 3 มีเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 3,642 กโิ ลเมตร อยู่ห่างจาก ดาวพฤหัส 421,600 กิโลเมตร โคจรอยรู่ อบในสดุ ของกลุ่มดวงจนั ทรก์ าลเิ ลยี น 1 รอบกินเวลา 1 วนั 18 ช่ัวโมง 27 นาที มีคา่ ความสว่างเม่ือมองจากโลกประมาณ mag 5.0 เน่ืองจากไอโอ อย่ใู กล้ดาวพฤหัสมากทาใหถ้ กู สนามแรงโน้มถ่วง และสนามแมเ่ หล็ก กระทารุนแรงมาก จึงทาใหไ้ อโอแอคทีฟตลอดเวลา ทั่วท้งั ผวิ ของไอโอเต็มไปปล่อยภเู ขาไฟ ทคี่ ่อย ระบายความรอ้ นภายในตัวดวงจันทร์ ระเบิดพน่ ลาวาทเี่ ปน็ กามะถันเหลวปกคลุมทัว่ ผิวไอโอ เมอื่ ครั้งทย่ี านวอยเอเจอร์ผ่านไอโอได้จับภาพภูเขาไฟกาลังพน่ ลาวาสงู ถงึ 240 กโิ ลเมตร

28 ยโู รปา (Europa) ยูโรปา (Europa) ดวงจันทรน์ อ้ งเลก็ ในกลมุ่ มเี สน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 3,138 กโิ ลเมตร มขี นาด เลก็ กวา่ ดวงจันทร์ของโลก (เส้นผ่านศูนย์กลาง 3,450 กโิ ลเมตร) อยู่ห่างจากดาวพฤหสั 670,900 กิโลเมตร โคจรหา่ งจากดาวพฤหสั เปน็ อันดบั สองในกลุ่มใชเ้ วลา 1 รอบดาวพฤหัส 3 วัน 13 ชวั่ โมง 13 นาที มีค่าความสวา่ งเม่ือมองจากโลกประมาณ mag 5.3 ผิวของยโู รปาเป็นน้าแข็งราบเรียบ และมีร้วิ ขีดไปมาคล้ายลายบนเปลือกไข่ นกั วิทยาศาสตร์ สนั นิฐานว่าใต้ผิวนา้ แขง็ น้ีจะเปน็ มหาสมุทรท่ียังเป็นของเหลวอยู่

29 แกนมิ ดี (Ganymede) แกนมิ ดี (Ganymede) ดวงจันทรข์ นาดใหญท่ ี่สุดของดาวพฤหัส และใหญท่ ่สี ดุ ในบรรดาดาว บรวิ ารทัง้ หมดในระบบสุริยะด้วยและ ยงั มขี นาดใหญก่ ว่าดาวพธุ ด้วย มเี สน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 5,262 กโิ ลเมตร อยู่หา่ งจากดาวพฤหสั 1,070,000 กิโลเมตร โคจรรอบดาวพฤหัส 1 รอบกนิ เวลา 7 วนั 3 ชว่ั โมง 43 นาที มีค่าความสวา่ งเม่อื มองจากโลกประมาณ mag 4.6 ผิวของแกนมิ ีด คอ่ นขา้ งประหลาดเพราะมสี ว่ นทเี่ ขม้ ขนาดใหญ่แยกตา่ งหากจากส่วนที่ มีความสวา่ ง อย่างเหน็ ได้ชัด นักวทิ ยาศาสตรส์ ันนิฐานว่าน่าจะเกดิ จากการเคล่อื นตัวของ Plate Techtonic แบบเดยี วกบั ทเี่ กิดข้นึ บนโลก และภายในของแกนิมดี คงจะร้อนอยู่

30 คาลลิสโต (Callisto) คาลลิสโต (Callisto) โคจรอย่วู งนอกสดุ ของกลมุ่ ดวงจันทร์กาลิเลยี น มเี ส้นผ่านศนู ย์กลาง 4,806 กโิ ลเมตร อยหู่ ่างจากดาวพฤหสั 1,880,000 กิโลเมตร โคจรรอบดาวพฤหัส 1 รอบกนิ เวลา 16 วนั 16 ชวั่ โมง 32 นาที มีคา่ ความสวา่ งเมอื่ มองจากโลกประมาณ mag 5.6 เนื่องจากคาลลสิ โตอยู่ไกลสดุ จากดาวพฤหัส จงึ ไมถ่ กู รบกวนจากสนามแมเ่ หล็ก ทาให้ผิว ของคาลลิสโตประกอบดว้ ยน้าแขง็ และเปลือกแขง็ ทีเ่ ป็นหลุมอกุ กาบาต ลกึ ราวๆ 200-300 กิโลเมตร ใตผ้ วิ ลึกลงไปสนั นฐิ านว่าจะเปน็ นา้ หรอื นา้ แข็งหมุ้ แกนกลางที่เป็นซิลิเคท

31 รูปแสดงตาแหน่งวงโคจรของดวงจันทรก์ าลิเลยี น ในสดุ คือ ไอโอ ถดั ออกมาคือยโู รปา แกนิ มดี และ คาลิสโต แต่ชัน้ ในสุดยงั มดี วงจันทร์ขนาดเล็กโคจรอยรู่ อบในแต่เราไม่สามารถมองเห็นได้ จากโลกถูกคน้ พบโดยยานอวกาศวอยเอเจอร์ นอกจากนย้ี งั มดี าวบริวารรอบนอกอีกหลายดวง เช่นกนั แต่มขี นาดเลก็ และโคจรอยู่คนละระนาบกับวงโคจรของดาวพฤหสั อีกซา้ บางดวงยังหมนุ กลับทศิ ทางกับดาวบริวารดวงอื่นๆด้วย

31 เน่อื งจากคาบการโคจรรอบดาวพฤหัสของดาวบรวิ ารทัง้ 4 น้ันคอ่ นข้างแน่นอน เมอ่ื เราจบั มาพรอ๊ ตกราฟเส้นทางโคจรของแตล่ ะดวงตลอด 1 เดอื น จะมีลักษณะตามรูปขา้ งบนซงึ่ เป็นกราฟวง โคจรตลอดเดือนมกราคมน้ี เส้นและจดุ สีแดงแทนดวงจันทรไ์ อโอ สสี ม้ แทนยโู รปา สีเขยี วแทนแกนิ มดี และสีน้าเงินแทนคาลลสิ โต เส้นหนาตรงกลางแสดงตาแหน่งของดาวพฤหสั (สขี าว) ตาแหนง่ แนวดงิ่ ทต่ี รงกับตวั เลขจะแทนเวลา 0 นาฬกิ าของวันทนี่ นั้ ๆตามในเวลา ประเทศไทย ตัวอย่างเชน่ วันที่ 2 มกราคม เวลา 0 นาฬกิ า จะเห็นเราจะเห็นไอโอและแกนิมดี อยู่ ใกล้กนั ดา้ นบนของกราฟ (ทิศตะวันออก) ส่วนคาลลิสโตและยโู รปาจะอย่ใู กลก้ ันด้านลา่ งของกราฟ (ทิศตะวันตก) เมอื่ เวลาผา่ นมาจนถึงครึ่งทาง (ตอนเทยี่ ง) เส้นกราฟของไอโอ ยูโรปา และแกนมิ ดี จะ ตดั กนั ทดี่ าวพฤหสั พอดี หมายความว่าถา้ ตอนเทยี่ งเรามีโอกาสไดเ้ หน็ ดาวพฤหัสเราจะไม่เหน็ ดวง จนั ทร์ 3 ดวงน้ี แต่จะเห็นคาลลโิ ตทางทิศตะวันตกเพยี งดวงเดยี ว ไอโอดวงจันทรว์ งในสุด มีคาบการเปลี่ยนแปลง 1 รอบกินเวลาเพยี ง 42 ช่ัวโมงคร่ึง นน่ั หมายความวา่ เราสามารถเหน็ การเปลย่ี นตาแหน่งของไอโอไดท้ กุ ๆ 1 ชัว่ โมง

31 ถ้าเราพิจารณาเสน้ กราฟเราจะเห็นวา่ วงโคจรของดวงจันทร์ทั้ง 4 จะมบี างชว่ งท่ซี งิ โคร ไนส์กนั เชน่ ทุกๆ 2 รอบของไอโอจะเทา่ กับยโู รปา 1 รอบ (ช่วงประมาณวันท่ี 6 ถึงวนั ท่ี 10) และ ทุกๆ 2 รอบของยูโรปาจะเท่ากับ 1 รอบของแกนมิ ีด หรอื 4 รอบของไอโอ (ชว่ งประมาณวนั ท่ี 6 ถึง วโอันทย่ีโู 1ร3ป)าสแว่ ลนะคแากลนลมิ ิสดีโตมจาะตแอ่ ตกกันตได่างอ้ เยค่าา้ งเพไมอื่ ่รนจู้ ไบมไซ่ ปิง3เโร2คื่อรยไๆนสย์กกบั เวใ้นครคาเลราลจสิ ึงโสตามารถนาเส้นกราฟของไอ สง่ิ ทนี่ ่าสนใจของดวงจันทร์กาลิเลยี นไมไ่ ดอ้ ยแู่ ค่เป็นดวงจันทร์ใหญ่สุดของดาวพฤหสั หรอื เป็นดวงจนั ทร์ทเ่ี หน็ ไดจ้ ากโลกเท่านน้ั แต่ด้วยคาบการโคจรของดวงจนั ทร์ท้ัง 4 รอบดาวพฤหสั น้นั ใชเ้ วลาน้อย ทาใหเ้ ราสามารถเหน็ การเปลี่ยนตาแหน่งของดวงจนั ทร์ได้จากโลก ในชวั่ เวลาอนั สน้ั ไอโอดวงจนั ทรว์ งในสุด มีคาบการเปลี่ยนแปลง 1 รอบกินเวลาเพียง 42 ชว่ั โมงครึง่ นนั่ หมายความ ว่า เราสามารถเหน็ การเปลี่ยนตาแหนง่ ของไอโอได้ทกุ ๆ 1 ช่ัวโมง

33 ภาพจาลองจากโปรแกรม Strrynight แสดงใหเ้ หน็ การเปลย่ี นตาแหนง่ ของดวงจนั ทร์ท้งั 4 ดวง เม่อื คืนวนั ท่ี 19 มกราคม 2546 เวลา 02.00 น. (ภาพบนสดุ ) ซึ่งทง้ั 3 ภาพเวลาตา่ งกนั 1 ชั่วโมง จะเหน็ วา่ ภาพที่ 2 เมอ่ื เวลา 03.00 น. ดวงจันทร์ ไอโอจะคอ่ ยๆเคล่ือนหายไปด้านหลงั ดาว พฤหสั ขณะท่ี ยโู รปากบั คาลลสิ โต จะค่อยเคลื่อนเข้ามาใกลก้ นั ทุกที ภาพที่ 3(III) เมื่อเวลา 04.00 น. เราจะเห็นดวงจันทร์เพียง 2 ดวงเทา่ น้นั เพราะยูโรปา จะคอ่ ยๆเคลอื่ นหายไปดา้ นหลังดวงจนั ทร์คาลลิสโต เราเรยี กปรากฏการณ์นวี้ ่าการบังกนั (Occultation)

34 ปรากฏการณท์ ี่เรียกว่า การบังกนั (Occultation) กับ อปุ ราคา (Eclipse) ของดาวบริวาร ทงั้ 4 ซึ่งเราสามารถมองเหน็ ได้จากโลก ปีคศ.2003 ก็เป็น 1 ในรอบ 12 ปที ีเ่ ราจะได้เหน็ ช่วง ระหวา่ งเดือนธนั วาคม 2002 ถงึ เดือนมนี าคม 2003 นบั ว่าเป็นช่วงที่เหมาะที่สุด ซึ่งเราจะเห็นว่า ดาวบริวารทง้ั 4 ดวงน้นั จะเรียงตวั กนั เป็นแนวตรงใกล้เคียงกบั แนวเส้นศนู ย์สูตรของดาวพฤหัสมาก ท่สี ุด และต้องนบั จากนีไ้ ปอกี 6 ปีเราถึงเหน็ ปรากฏการณ์แบบน้อี ีก ปรากฏการณ์ท้ัง 2 แบบนี้ ก็ คลา้ ยๆกบั จันทรปุ ราคา หรือ สุริยุปราคา ทเี่ ราเหน็ บนโลกน่นั เอง เกิดข้นึ จากระนาบการโคจรของ ลก ดวงอาทิตย์ และ ดวงจนั ทร์ มาอยใู่ นระนาบเดียวกัน การบังกัน (Occultation) เกิดขึน้ จากดาวบริวาร 2 ดวงเคลื่อนมาใกลก้ นั จนตาแหน่งท่ีเรา มองเหน็ จากโลกเกดิ การบังกนั ขนึ้ ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ 3 แบบดว้ ยกนั คอื -บังกนั บางส่วน เกดิ จากความแตกตา่ งของระนาบระหวา่ งดาวบริวาร 2 ดวง - แบบวงแหวน เกิดจากดาวบรวิ ารดวงเลก็ กว่าบงั ดาวบรวิ ารดวงใหญ่ เช่น ไอโอบังแกนิ มีด เปน็ ต้น - แบบเต็มดวง เกิดจากดาวบรวิ ารดวงใหญ่บังดวงเล็ก เชน่ แกนมิ ีดบงั ไอโอ เปน็ ต้น ผลของการบงั กนั น้นั สาหรับกลอ้ งขนาดใหญท่ ่มี คี วามสามารถในการแยกความละเอียดได้สงู จะเห็นความสว่างของดาวบรวิ ารเปล่ียนแปลงระหวา่ งบงั กนั ในขณะท่กี ลอ้ งขนาดเลก็ ซง่ึ แยกความ แตกตา่ งไมอ่ อกจะมองเห็นเหมอื นดาวบริวารสองดวงเคล่ือนทมี่ ารวมกนั เป็นดวงเดียว

35 อุปราคา (Eclipse) เกดิ ขึน้ จากเงาของดาวบรวิ ารดวงหนง่ึ เคลอื่ นไปทับบนดาวบรวิ ารอกี ดวง คล้ายๆกบั ปรากฏการณ์จันทรปุ ราคาทีเ่ ราเห็นกนั บนโลก แบง่ ออกเปน็ 3 แบบเชน่ กนั คอื - อปุ ราคาบางสว่ น - อปุ ราคาวงแหวน -อุปราคาเตม็ ดวง ผลของการเกิดอุปราคานั้นเราจะเห็นความสว่างของดาวบรวิ ารนน้ั ลดลง หรอื หายไป ระหวา่ งท่โี คจรอยู่รอบดาวพฤหัส

36 - รูปบน แสดงตาแหน่งของ แกนมิ ีด ยโู รปา ไอโอ และดาวพฤหสั เรียงจากซ้ายมาขวา - รูปกลาง 1 ชวั่ โมงผา่ นมา ยโู รปามีความสว่างลดลงจนมองไม่เห็น เพราะถกู เงาของไอโอบงั - รูปลา่ ง 1 ชั่วโมงผา่ นมา ยโู รปาสว่างขึ้นมาอกี คร้ัง เมื่อพ้นจากเงาของไอโอ ปรากฏการณท์ ั้ง 2 แบบเป็นการวัดประสิทธภิ าพของอุปกรณไ์ ด้ทางหนึง่ ว่า มีความคมชดั ใน การแยกความแตกต่างของภาพได้มากนอ้ ยเพยี งใด ตามปกตแิ ล้วการสงั เกตปรากฏกาณ์ทั้ง 2 แบบนี้ จะต้องใช้กาลังขยายของกล้องสงู มากๆ ทาใหก้ ล้องที่มีขนาดใหญ่ไดเ้ ปรียบ โดยกาหนดกาลังขยาย ขนั้ ตา่ อยูท่ ่ี 30 คูณดว้ ยขนาดหน้ากลอ้ งเป็นนิ้ว เชน่ กล้องขนาด 6 น้ิวจะตอ้ งใชก้ าลังขยาย 180 เทา่ ขณะที่กลอ้ งขนาด 16 น้ิวจะได้กาลังขยายเป็น 480 เท่า อา้ งอิง : http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/solar2/Jupiter.htm

37 ดาวเสาร์ (Saturn) ประวตั คิ วามเปน็ มา ดาวเสาร์ (องั กฤษ: Saturn) เปน็ ตวั แทนของเทพแซทเทิร์น (Saturn) เทพแหง่ การ เพาะปลกู ในตานานของชาวโรมัน ส่วนในตานานกรกี มีชื่อวา่ โครนอส (Cronos) ซึ่งเป็นบดิ าแหง่ ซสู (Zeus) เทพแหง่ ดาวพฤหสั บดี โดยดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ ที่อยหู่ ่างจากดวงอาทิตย์เป็น ลาดบั ที่ 6 ทีร่ ะยะทาง 1,433 ลา้ นกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แกส๊ มขี นาดใหญท่ ่ีสดุ เป็นอนั ดับ สองในระบบสรุ ิยะรองจากดาวพฤหสั บดี ดาวเสารม์ ีวงแหวนขนาดใหญ่ ทปี่ ระกอบข้ึนจากกอ้ น หินท่มี ีนา้ แขง็ ปะปน สญั ลกั ษณแ์ ทนดาวเสาร์ คือ ♄ ดาวเสารม์ ีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศนู ยส์ ตู ร ทเ่ี รยี กว่าทรงกลมแปน้ (oblate spheroid) เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางตามแนวขวั้ ส้นั กวา่ ตามแนวเสน้ ศูนย์สูตรเกอื บ 10% เป็น ผลจากการหมนุ รอบตวั เองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอน่ื ๆ กม็ ีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเชน่ กนั แต่ไมม่ ากเท่าดาวเสาร์ ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ

38 ดาวเสาร์เปน็ ดาวเคราะหเ์ พยี งดวงเดียวในระบบสรุ ิยะ ทม่ี ีความหนาแนน่ เฉลยี่ น้อยกวา่ นา้ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนตเิ มตร) อย่างไรกต็ าม บรรยากาศช้ันบนของดาวเสารม์ ีความหนาแนน่ นอ้ ยกวา่ น้ี ขณะที่ท่แี กนมคี วามหนาแน่นมากกว่าน้า วงแหวนของดาวเสารป์ ระกอบไปด้วยเศษหิน และนา้ แขง็ ขนาดเลก็ เรียงตัวอยูใ่ นระนาบเดยี วกัน และวงแหวนของดาวเสารก์ ็ประกอบไปดว้ ย วง แหวนย่อยๆมากมาย ความจรงิ แล้ววงแหวนดาวเสารน์ น้ั บางมาก โดยมคี วามหนาเฉลยี่ เพียง 500 กิโลเมตรเทา่ นนั้ แตเ่ ศษวตั ถุในวงแหวนมคี วามสามารถในการสะทอ้ นแสงดี และกวา้ งกวา่ 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสงั เกตได้จากโลก ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ ดาวเสาร์มีรปู ร่างปอ่ งออกตามแนวเส้นศูนย์สตู ร ที่เรียกว่าทรงกลมแปน้ (oblate spheroid) เส้นผ่านศนู ย์กลางตามแนวขว้ั สัน้ กว่าตามแนวเสน้ ศนู ย์สตู รเกือบ 10% เปน็ ผลจากการ หมนุ รอบตวั เองอย่างรวดเรว็ ดาวเคราะหด์ วงอน่ื ๆ ก็มลี กั ษณะเปน็ ทรงกลมแป้นเชน่ กนั แตไ่ ม่มาก เท่าดาวเสาร์ ดาวเสารเ์ ป็นดาวเคราะหเ์ พียงดวงเดยี วในระบบสุรยิ ะ ท่มี คี วามหนาแนน่ เฉล่ยี นอ้ ยกว่า น้า (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศช้นั บนของดาวเสารม์ ีความหนาแน่น นอ้ ยกว่าน้ี ขณะท่ีท่ีแกนมีความหนาแนน่ มากกว่าน้า วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปดว้ ย เศษหนิ และน้าแขง็ ขนาดเล็ก เรยี งตัวอยใู่ นระนาบเดยี วกัน และวงแหวนของดาวเสารก์ ็ประกอบไปดว้ ย วง แหวนยอ่ ยๆมากมาย ความจรงิ แลว้ วงแหวนดาวเสารน์ ้นั บางมาก โดยมคี วามหนาเฉล่ียเพียง 500 กโิ ลเมตรเทา่ นั้น แต่เศษวตั ถใุ นวงแหวนมคี วามสามารถในการสะทอ้ นแสงดี และกวา้ งกว่า 80,000 กโิ ลเมตร จงึ สามารถสังเกตไดจ้ ากโลก

39 วงแหวน ดาวเสาร์เปน็ ดาวเคราะหท์ มี่ รี ะบบวงแหวนดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่มากกวา่ ดาวเคราะห์ อืน่ ในระบบสุรยิ ะ วงแหวนของดาวเสาร์ ประกอบดว้ ยอนภุ าคขนาดเลก็ จานวนมากนบั ไม่ถ้วน ท่มี ี ขนาดต้ังแตไ่ มก่ ี่ไมโครเมตรไปจนถงึ หลายเมตร กระจุกตัวรวมกันอยแู่ ละโคจรไปรอบๆ ดาวเสาร์ อนภุ าคในวงแหวนส่วนใหญ่เป็นน้าแขง็ มีบางส่วนท่ีเปน็ ฝนุ่ และสสารอนื่ วงแหวนของดาวเสาร์ชว่ ยสะทอ้ นแสง ทาใหม้ องเห็นความสว่างของดาวเสารเ์ พม่ิ มากขน้ึ แตเ่ ราไม่สามารถมองเหน็ วงแหวนเหลา่ นไ้ี ดด้ ้วยตาเปลา่ ในปี ค.ศ. 1610 ซง่ึ กาลเิ ลโอ เริ่มใชก้ ลอ้ ง โทรทรรศน์ในการสารวจท้องฟา้ เขาเปน็ กลุม่ คนยคุ แรกๆ ทพ่ี บและเฝ้าสังเกตวงแหวนของดาว เสาร์ แม้จะมองไมเ่ ห็นลักษณะอันแท้จริงของมนั ได้อย่างชัดเจน ปี ค.ศ. 1655 คริสเตียน ฮอย เกนส์ เปน็ ผู้แรกท่สี ามารถอธิบายลกั ษณะของวงแหวนวา่ เปน็ แผนจานวนรอบๆ ดาวเสาร์ มีแถบช่องว่างระหวา่ งวงแหวนอย่หู ลายช่อง ในจานวนนม้ี อี ยู่ 2 แถบท่มี ดี วงจันทรแ์ ทรกอยู่ ชอ่ งอน่ื ๆ อกี หลายช่องอย่ใู นตาแหน่งการส่นั พ้องของวงโคจรกับดวงจันทร์ของดาวเสาร์ และยังมีอีก หลายชอ่ งท่ียงั หาคาอธบิ ายไมไ่ ด้

39 ดวงจนั ทร์บริวาร ดาวเสารม์ ดี วงจนั ทร์ซง่ึ ไดร้ บั การยืนยนั วงโคจรแล้ว 62 ดวง โดย 53 ดวงในจานวนนีม้ ีชอ่ื เรยี กแล้ว และสว่ นใหญ่มขี นาดคอ่ นขา้ งเลก็ แตก่ ม็ ีอยู่ 7 ดวงท่ีมีขนาดใหญพ่ อที่จะคงสภาพตวั เองเป็นทรงกลม ได้ (ดงั นน้ั ดวงจนั ทรเ์ หล่านี้อาจไดร้ บั การจดั เปน็ ดาวเคราะหแ์ คระหากพวกมันโคจรรอบดวงอาทติ ย์ โดยตรง) นอกจากจะมีวงแหวนที่กวา้ งและหนาแน่นแล้ว ระบบดาวเสารย์ ังเปน็ ระบบดาวเคราะหท์ ม่ี ี ความหลากหลายมากทส่ี ุดภายในระบบสุริยะอีกดว้ ย ตวั อย่างเช่น ดวงจนั ทรท์ ี่มชี ่ือเสยี งอย่างดวง จันทร์ไททัน ทม่ี ชี ั้นบรรยากาศคล้ายคลึงกับโลก ทั้งยังมภี มู ทิ ัศนเ์ ปน็ ทะเลสาบไฮโดรคารบ์ อนและ โครงข่ายแม่น้า และดวงจันทร์เอนเซลาดัสทีซ่ อ่ นแหลง่ นา้ ไวภ้ ายใต้พืน้ ผิวของมัน เป็นตน้

40 ดวงจนั ทร์ 22 ดวงของดาวเสาร์เป็นบรวิ ารท่มี ีวงโคจรปกติ คอื มีวงโคจรไปในทางเดยี วกบั ดาวดวงอ่นื ๆ และเอยี งทามมุ กับเส้นศนู ยส์ ูตรของดาวเสาร์ไม่มากนัก นอกจากบรวิ าร 7 ดวงหลกั แลว้ มี 4 ดวงเป็นดวงจนั ทร์โทรจนั (หมายถงึ กลุ่มดวงจันทรเ์ ล็ก ๆ ท่โี คจรไปตามเส้นทางของดวง จันทร์ดวงใหญก่ ว่าอีกดวงหนง่ึ ) อกี 2 ดวงเปน็ ดวงจันทรร์ ่วมวงโคจร และอีก 2 ดวงโคจรอยูภ่ ายใน ชอ่ งวา่ งระหวา่ งวงแหวนดาวเสาร์ ดวงจนั ทร์เหล่านี้ได้รบั การต้งั ช่ือตามธรรมเนียมเดมิ คือ ตามชอ่ื ของบรรดายักษ์ไททันหรอื บุคคลอื่น ๆ ที่มคี วามเกย่ี วข้องกับเทพแซตเทริ ์นของชาวโรมัน (หรอื เทพ โครนสั ของกรีก) ส่วนดวงจันทร์ทีเ่ หลืออีก 38 ดวง ทงั้ หมดมีขนาดเล็กและมีวงโคจรผดิ ปกติ คือ มีวงโคจรอยู่ หา่ งจากดาวเสาร์มากกว่า เอยี งมากกว่า โดยมที ง้ั ไปทางเดียวกนั และสวนทางกับทศิ ทางการ หมนุ รอบตวั เองของดาวเสาร์ ดวงจนั ทรเ์ หลา่ น้ีอาจเป็นดาวเคราะหน์ ้อยทถ่ี กู แรงโนม้ ถ่วงของดาว เสาร์ดึงมา หรืออาจเปน็ เศษซากของวัตถขุ นาดใหญ่ทีเ่ ขา้ ใกล้ดาวเสาร์มากเกินไปจนถูกแรงน้าขน้ึ น้า ลงของดาวเสารฉ์ กี ออกเป็นเส่ยี ง ๆ เราแบ่งกล่มุ ของพวกมนั ตามลักษณะวงโคจรไดเ้ ป็นกลมุ่ อินูอติ กลุ่มนอร์ส และกลุม่ แกลิก แต่ละดวงต้งั ชอ่ื ตามเทพปกรณัมท่สี อดคล้องกับกล่มุ ทมี่ นั สงั กัดอยู่ อ้างอิง : http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~hsomsak/saturn.html

41 ดาวยูเรนัส (Uranus) ประวตั คิ วามเป็นมา ดาวยูเรนัส (หรอื มฤตย)ู เปน็ ดาวเคราะหท์ ่ีอยู่ห่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดับที่ 7 ในระบบสรุ ิยะ จัดเปน็ ดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญเ่ ป็นอันดับท่ี 3. ต้งั ชื่อตามเทพเจ้า Ouranos ของกรีก สัญลกั ษณ์แทนดาวยเู รนสั คือ Uranus symbol.ant.png หรือ สัญลกั ษณ์ดาราศาสตร์ดาวยูเรนสั (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คอื ดาวมฤตยู ผ้คู ้นพบดาวยเู รนสั คอื เซอร์วิลเลียม เฮอรเ์ ชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781) ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นกั ดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอรแ์ อร์บอรน์ (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) คน้ พบวา่ ดาวยเู รนสั มี วงแหวนจางๆโดยรอบ และเรากไ็ ดเ้ หน็ รายละเอียด ของดาวยเู รนสั พร้อมทั้งวงแหวน และดวงจนั ทรบ์ ริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมอ่ื ยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคลอื่ นผา่ น

42 โครงสรา้ งภายใน บรรยากาศชัน้ นอก ประกอบด้วยไฮโดรเจนและฮเี ลียมเป็นส่วนใหญ่ แต่ลกึ ลงไปมี ส่วนประกอบของ แอมโมเนยี มเี ทน ผสมอยดู่ ว้ ย ดาวยูเรนัสแผค่ วามร้อนออกจากตวั ดาวนอ้ ย มาก อาจจะเป็นเพราะภายในไม่มกี ารยบุ ตวั แลว้ หรืออาจมบี างอย่างปดิ ก้ันไว้กย็ ังไม่ทราบแน่ชัด นักดาราศาสตรค์ าดว่า แกนของดาวยเู รนัส มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ดาวเสารแ์ ละดาวพฤหัสบดี ถัดมา เป็นแกนชั้นนอกท่ีเต็มไปด้วยแอมโมเนียและมีเทน เราจงึ มองว่าดาวยูเรนัสเป็นสเี ขยี ว คาบการหมนุ รอบดวงอาทิตย์ ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทติ ยใ์ ช้เวลา 84 ปี แกนของดาวทามมุ กบั ระนาบระบบสรุ ิยะ ถึง 98 องศา ทาให้ฤดกู าลบนดาวยาวนานมาก คือ ดา้ นหนึง่ จะมีฤดูหนาว 42 ปี และอีกดา้ นจะ รอ้ นนาน 42 ปี และบางที่บนดาวพระอาทติ ย์จะไม่ตกเลยตลอด 42 ปี และบางทีก่ ็จะไมไ่ ด้รบั แสง เลยตลอด 42 ปี ทีร่ ะยะนี้ พลังงานความร้อนจากดวงอาทติ ย์แผ่มาน้อยมาก จึงทาใหก้ ลางวันและ กลางคนื ของดาวยเู รนัสมีอุณหภมู ติ ่างกนั 2 องศาเซลเซียสเท่านั้น

43 ดวงจันทร์ของดาวยูเรนัสถูกแบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ดวงจนั ทร์รอบในสบิ สามดวง (thirteen inner moons), กลุ่มดวงจนั ทร์ขนาดใหญ่หา้ ดวง (five major moons) และกลุ่มดวง จันทร์ทรงแปลกเก้าดวง (nine irregular moons) โดยกลุม่ ดวงจนั ทรร์ อบในสบิ สามดวงจะ กระจัดกระจายอยู่ภายในบรเิ วณวงแหวนของดาวยูเรนสั กลมุ่ ดวงจนั ทรข์ นาดใหญ่หา้ ดวงเป็นดวง จันทร์ท่มี ีขนาดใหญ่และเป็นทรงกลม ในนน้ั 4 ดวงเป็นดวงจันทร์ที่ยงั มกี ระบวนการภายใน มีภเู ขา ไฟ และการเปล่ยี นแปลงบนเปลือกดาวอยู[่ 3] ดวงจันทรท์ ี่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในกลุม่ คอื ททิ าเนีย มี ขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางประมาณ 1,578 กม. และยังเปน็ 1 ใน 8 ดวงจันทร์ขนาดใหญใ่ นระบบ สุรยิ ะ ส่วนกลมุ่ ดวงจันทร์ทรงแปลกเกา้ ดวง เปน็ ดวงจนั ทร์ท่มี ีรปู ร่างผิดปกติและมีวงโคจรที่เอียง (ส่วนใหญ่) ทามุมกับดาวยูเรนสั และโคจรอยูไ่ กลมาก

44 ดวงจันทรข์ องดาวยูเรนัสถูกแบง่ ออกเปน็ 3 กลุม่ ได้แก่ กลมุ่ ดวงจันทรร์ อบในสบิ สามดวง (thirteen inner moons), กลมุ่ ดวงจันทรข์ นาดใหญ่หา้ ดวง (five major moons) และกลุ่มดวง จันทรท์ รงแปลกเก้าดวง (nine irregular moons) โดยกลุ่มดวงจนั ทรร์ อบในสิบสามดวงจะ กระจัดกระจายอย่ภู ายในบริเวณวงแหวนของดาวยูเรนัส กลุ่มดวงจนั ทรข์ นาดใหญ่หา้ ดวงเป็นดวง จนั ทรท์ ม่ี ีขนาดใหญแ่ ละเป็นทรงกลม ในนนั้ 4 ดวงเป็นดวงจันทรท์ ่ียังมีกระบวนการภายใน มีภเู ขา ไฟ และการเปลีย่ นแปลงบนเปลอื กดาวอยู[่ 3] ดวงจันทร์ที่มขี นาดใหญ่ทีส่ ุดในกลมุ่ คอื ทิทาเนีย มี ขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 1,578 กม. และยังเปน็ 1 ใน 8 ดวงจนั ทร์ขนาดใหญ่ในระบบ สุรยิ ะ ส่วนกลุ่มดวงจนั ทร์ทรงแปลกเกา้ ดวง เป็นดวงจนั ทร์ที่มีรปู ร่างผิดปกตแิ ละมวี งโคจรท่ีเอียง (ส่วนใหญ่) ทามุมกบั ดาวยูเรนัสและโคจรอยไู่ กลมาก วงแหวน วงแหวนของดาวยูเรนัสมคี วามมืดมาก ผดิ กับวงแหวนทส่ี ว่างของดาวเสาร์ ถา้ ไม่มอง ด้วยกล้องโทรทัศน์ก็จะมองไม่เหน็ วงแหวนของดาวยเู รนสั ถกู พบโดยหอดดู าวแอรบ์ อร์นในปี 1977 ซึง่ เป็นยานชนดิ พิเศษทน่ี ากล้องโทรทัศน์ไปด้วย นักดาราศาสตรบ์ นเครอ่ื งบินเฝ้ามองดดู าว ยูเรนัสเมื่อมดี าวฤกษ์เคลื่อนไหวมาตรงขา้ มหน้าของมนั ยานวอยเอเจอร์ 2 มองดูท่วี งแหวนเมอื่ มันบนิ ผ่านดาวยูเรนัส วงแหวนของดาวยูเรนัสจะแคบ วงแหวนทกี่ ว้างที่สุดคือช่องว่างท่ีใหญ่ซ่งึ ประกอบไปด้วยกอ้ นฝุ่น ยานวอเยเจอร์พบส่วนโค้งบางอย่าง ซง่ึ เป็นส่วนของวงแหวนทไี่ ม่ สมบรู ณ์ วงแหวนของดาวยเู รนสั ประกอบด้วยชิ้นน้าแข็งมืดทเ่ี คล่ือนไหว น้าแขง็ ประกอบดว้ ย มเี ทนแข็ง ชิน้ ส่วนของมนั อาจจะชนกนั และทาให้เกิดฝุ่นท่ีอยูใ่ นช่องว่างระหว่างวงแหวน อ้างองิ : http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~hsomsak/urenus.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook