Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเข็มแข็งของโรงเรียน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเข็มแข็งของโรงเรียน

Published by Wan Piti, 2021-09-01 04:30:42

Description: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเข็มแข็งของโรงเรียน

Search

Read the Text Version

เกษม วัฒนชยั



“ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับความเขม้ แขง็ ของโรงเรยี น” โดย นายแพทย์ เกษม วฒั นชัย ประธานมูลนิธิยุวสถิรคณุ

“ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเข้มแขง็ ของโรงเรียน” คำ�บรรยาย ศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เจ้าของ ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ พิมพ์ครั้งแรก มกราคม ๒๕๕๘ จำ�นวนพิมพ์ ๑๐,๐๐๐ ฉบับ ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๙๒๒๖๓-๑-๔ คณะบรรณาธิการ ปรียานุข ธรรมปิยา ผาณิต เกิดโชคชัย ปาริชาต เรืองดิลกรัตน์ ธนินนาท เชี่ยวชาญพานิชย์ รูปเลม่ : บรษิ ัท พ.ศ. พฒั นา ออนไลน์ จ�ำ กัด ๑๒ หม่อมแผว้ แยก ๓ ถนนพระราม ๖ ซอย ๔๑ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๗๙ ๖๒๒๒ (อัตโนมตั ิ ๑๕ คู่สาย) โทรสาร ๐ ๒๒๗๙ ๖๒๐๓-๔ พมิ พท์ ่ี : บรษิ ัท ธนธชั การพมิ พ์ จำ�กดั ๔๘๐/๑ ซอยแสงสนั ต์ ถนนประชาอทุ ศิ แขวงราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๔๐

ชวนอา่ น ในโอกาสที่ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และประธานมูลนิธิยุวสถิรคุณ ได้กรุณาเป็นประธานกล่าวเปิดงาน “คัดสรรอัญมณีเวทีภูมิภาค” ภาคกลาง เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร เม่ือ วนั ที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ จัดโดย ศูนยส์ ถานศกึ ษาพอเพียง มลู นิธิยุวสถริ คุณ ทา่ นไดก้ รุณาเลา่ เร่ือง เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่อยากให้ครูและเด็กๆ ได้รับรู้ เช่น เร่ืองการกำ�จัดโรคระบาด โครงการเกย่ี วกบั โครงสรา้ งพน้ื ฐานเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และโครงการตา่ งๆ ทพ่ี ระองคท์ า่ นพระราชทาน ความช่วยเหลือให้แก่ประชาชนในระหว่างที่ทรงครองสิริราชสมบัติตลอดระยะเวลาเกือบ ๗๐ ปี พร้อมทั้งได้ อธิบาย ขยายความและยกตัวอย่างท่ีครูและเด็กๆ สามารถเข้าใจได้ชัดเจนในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ซ่ึงเป็นหลักคิด หลักปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย เพื่อใหท้ กุ คน ทุกครอบครัว ทุกโรงเรียน ทกุ ชุมชน ทุกบรษิ ทั และทุกประเทศ มคี วามเขม้ แขง็ และสามารถ รับมือกบั การเปลยี่ นแปลงหรอื วกิ ฤตที่อาจจะเกิดขน้ึ ได้ หลังจากที่ท่านประธานในพิธีกล่าวเสร็จแล้ว มีผู้ร่วมงานจำ�นวนมากได้ปรารภกับดิฉันว่า ประสงค์ จะนำ�คำ�กล่าวของท่านประธานไปแบ่งปันให้แก่เพ่ือนผู้บริหาร ครู นักเรียน และบุคคลอ่ืนๆ ที่ไม่ได้มีโอกาส มารับฟังเรื่องดีงามในวันน้ัน ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ จึงขออนุญาตท่านประธาน นำ�คำ�กล่าวเปิดงานมาถอดความเพ่ือจัดทำ�หนังสือ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเข้มแข็ง ของโรงเรยี น” เลม่ นี้ เพ่อื เผยแพร่ใหผ้ สู้ นใจได้เรยี นรู้ ชื่นชมในพระมหากรณุ าธคิ ุณทีม่ ตี อ่ พสกนกิ รชาวไทย จะได้นอ้ มน�ำ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ิตประจำ�วนั เพื่อชีวิตทีม่ ั่นคงและมีความสขุ สืบไป ในนามของศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ ใคร่ขอกราบขอบพระคุณท่านศาสตราจารย์ เกียรตคิ ณุ นายแพทย์เกษม วฒั นชยั องคมนตรแี ละประธานมูลนิธิยวุ สถริ คณุ ไว้ ณ โอกาสนี้ ปรยี านชุ ธรรมปิยา ผ้อู ำ�นวยการศูนย์สถานศกึ ษาพอเพยี ง มลู นิธิยุวสถิรคณุ



ปาฐกถาพเิ ศษ ๕ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกับความเข้มแขง็ ของโรงเรยี น” โดย ศาสตราจารยนายแพทย เกษม วัฒนชยั ประธานมูลนิธยิ ุวสถิรคณุ ในงานคัดสรรอญั มณีเวทีภูมิภาค เวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้ ภาคกลาง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา จดั โดย ศูนยส์ ถานศึกษาพอเพยี ง มลู นิธิยวุ สถริ คณุ วนั ที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรมรามาการเ์ ดนท์ กรงุ เทพมหานคร วนั นี้จะพูดสองเรอื่ งดว้ ยกนั เร่อื งแรก คอื การทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรง ครองสริ ริ าชสมบตั มิ า ๖๐ กวา่ ปี ไดท้ รงงานตรากตราำ พระวรกายอยา่ งมากสาำ หรบั ประชาชน อยากจะใหค้ ุณครูและเดก็ ๆ ไดร้ ับรู้ จริงๆ ตอนที่เสด็จข้นึ ครองราชย์ คือวนั ที่ ๙ มถิ ุนายน ๒๔๘๙ ตอนนนั้ พระองคย์ งั ไมท่ รงบรรลนุ ติ ภิ าวะ ภายใตก้ ฎหมายไทยถา้ พระมหากษตั รยิ ย์ งั ไมท่ รงบรรลนุ ติ ภิ าวะจะทรงสงั่ ราชการไมไ่ ด้ ตอ้ งมผี สู้ าำ เรจ็ ราชการแทนพระองค์ ตอนนนั้ จงึ มีคณะผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์ดูแลบ้านเมืองไป ส่วนพระองค์ก็เสด็จพระราชดำาเนิน กลบั ไปสวติ เซอร์แลนด์เพอ่ื ทรงศกึ ษาตอ่

เดิมทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระอนุชาของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๘ ทรงศึกษาวิชาที่สนพระราชหฤทัย คือทางด้านช่าง ด้านวิศวะ แต่พอจะต้องมาทรงรับ พระราชภาระเป็นพระมหากษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงเปลี่ยนวิชาที่จะ ทรงศึกษาในมหาวิทยาลัย มาเป็นเร่ืองรัฐศาสตร์ เร่ืองกฎหมาย ที่ตรงกับพระราชภาระ ของพระมหากษัตริย์ จนถึงวนั ท่เี ราเรยี กกันว่าวนั ฉัตรมงคล คือวันท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ คือวันท่ีเสด็จเข้าพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซ่ึงเป็นพิธีของพราหมณ์ คือพิธีท่ีจะเสด็จขึ้น ๖ ครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ทำาหน้าท่ีเต็มท่ีโดยไม่ต้องมีผู้สำาเร็จราชการ ปีน้ีก็ ๒๕๕๗ เอา ๒๕๕๗ ไปลบ ๒๔๘๙ กไ็ ด้ หรือ ๒๔๙๓ ก็ได้ ก็เกือบ ๗๐ ปแี ลว้ ตอนทเี่ สดจ็ ขน้ึ ครองราชยใ์ หมๆ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไป ทุกภาค ภาคเหนือ ภาคอสี าน ภาคกลาง ภาคใต้ ตะวันออก ตะวนั ตก ทกุ ภาคเลย เสดจ็ ฯ ไปทรงเย่ียมราษฎรของพระองค์ แล้วกไ็ ปทรงดแู ลวา่ มอี ะไรทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จะทรงช่วยประชาชนได้ หลังจากนั้นอีกหลายปี สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชกระแสถึงพระราชภาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงช่วยเหลือประชาชน ไว้ชัดเจนมาก มีพระราชกระแสอย่างน้ีครับ “ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ

สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และก็เจ้านายทุกพระองค์ทรงไปช่วยประชาชน ๗ เป็นการไปช่วยรัฐบาลช่วยประชาชนนะ” เพราะว่าหน้าท่ีในการบริหารประเทศในระบอบ ประชาธิปไตย เป็นเร่ืองของรัฐบาล แต่ในความท่ีทรงเป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงลงไปชว่ ยงานของรฐั บาลนัน่ เอง ตรงน้ีในฐานะมูลนิธิก็ดี รวมท้ังมูลนิธิยุวสถิรคุณด้วย พวกเราท่ีเป็นคนไทยท้ังหลาย เราตอ้ งรนู้ ะวา่ หนา้ ทห่ี ลกั ของเราคอื อะไร แลว้ หนา้ ทท่ี เี่ ราไปชว่ ยรฐั บาลคอื อะไร เรากค็ ดิ ตาม ท่สี มเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ ไดม้ พี ระราชกระแส หน้าท่ขี องมลู นธิ ยิ ุวสถิรคณุ กม็ าช่วยงานของรัฐบาล อยา่ งการจัดงานวันนี้ กไ็ ด้ทราบว่าโรงเรยี นหรอื สถานศึกษาตา่ งๆ ช่วยกนั เป็นเจา้ ภาพ ส่วนมลู นธิ ยิ วุ สถริ คุณมาเปน็ แรงหนุน เพราะมลู นธิ ิฯ มหี นา้ ทมี่ าช่วย รฐั บาล เม่ือเราไปดูโครงการต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานความ ช่วยเหลือใหแ้ กป่ ระชาชน จะสามารถแบ่งเปน็ ชว่ งๆ ไดเ้ ป็น ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๓๐ ๔๐ จนกระทง่ั ถงึ ๖๐ ๗๐ ปี

ในช่วงแรกๆ เนื่องจากประเทศเรายังมีโรคระบาดเยอะมาก มีอหิวาตกโรค ตายกนั ทีเปน็ หม่นื มีโรคไข้ทรพิษ มโี รคโปลิโอ สมยั โนน้ นะ เป็นโปลโิ อนแ่ี ยเ่ ลย เพราะว่า ถ้าเป็นแต่เพียงขาใดขาหนึ่ง ขานั้นก็เสีย แต่ถ้ามันลามมาถึงกล้ามเนื้อท่ีช่วยหายใจ ก็จะ หายใจไม่ได้ ตอนนน้ั ตอ้ งใชป้ อดเทียม แล้วพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ได้ทรงจดั ฉาย หนงั หาเงินมาซ้ือปอดเทียมใหค้ นไข้ ทรงช่วยทุกอย่างเลย มอี ะไรทรงชว่ ยได้ทรงชว่ ยหมด ตอนแรกๆ ทรงช่วยเร่ืองกำาจัดโรคระบาด โรคเรื้อน วัณโรคต่างๆ เด๋ียวนี้ก็หายไปหมด ๘ อย่างโรคเร้ือนนี่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงออกแบบวิธีการช่วยทั้งคนไข้โรคเร้ือน และลกู หลานของคนที่เป็นโรคเรือ้ น ให้ตดั ขาดเลย ไม่ใหล้ กู หลานตอ้ งเปน็ ด้วย กลายเปน็ แบบเรียนของท่ัวโลกไป โดยมีมูลนิธิราชประชาสมาสัยอยู่ท่ีพระประแดงเป็นหลักใน การดำาเนินการ มีโรงเรียนราชประชาสมาสัยท่ีแยกลูกหลานของคนไข้โรคเรื้อนออกมา จะได้ไมต่ อ้ งเป็นเหมอื นพ่อแม่ สมัยผมเด็กๆ อยู่ท่ีพิจิตร ในตลาดน่ี เวลาขอทานมาขอที่หน้าบ้าน เป็นโรคเร้ือน ร้อยเปอร์เซ็นต์ เดี๋ยวน้ีไม่เห็นแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศแรกๆ ที่สามารถตัดขาดจาก โรคเร้ือนไปได้ วัณโรคก็ลดไปเยอะ อหิวาตกโรค นานๆ จะเกิดที หายไปเกือบหมด

โรคคอพอก โรคเออเพราะขาดไอโอดนี โรคต่างๆ เหลา่ น้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ ๙ พระราชทานพระราชดาำ รวิ า่ จะแกป้ ญั หาระยะยาวอยา่ งไร และแกป้ ญั หาทวั่ ประเทศอยา่ งไร อันท่ีสอง เมอื่ แก้โรคระบาดสำาเรจ็ ไปแลว้ ปตี ่อๆ มา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลอื ด้านวางแผน ที่เขาเรียกวา่ โครงการทเี่ กีย่ วกับโครงสร้างพ้ืนฐาน เชน่ ถนน หนทาง ยกตัวอย่างแถวหัวหิน ในหมู่บ้านท่ีอยู่ไกลจากถนนใหญ่ ชาวบ้านออกมาซื้อของ ก็ลำาบากยากเย็น ก็ได้โปรดเกล้าฯให้ทหาร ตชด. (กองกำาลังตำารวจตระเวณชายแดน) เอารถแบคโฮเขา้ ไปชว่ ยตดั ถนน สบื เนอื่ งมาจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงขบั รถยนต์ พระท่ีนั่งเข้าไปเอง รถยนตพ์ ระทนี่ ัง่ ตกหลม่ หลม่ มันเยอะมาก หลงั จากที่เสด็จฯ กลับมาที่ หวั หนิ กท็ รงขอให้ ตชด. ทหี่ วั หนิ เอารถแบคโฮเขา้ ไปปรบั ถนน แลว้ กโ็ รยกรวด โรยอะไรกว็ า่ กันไป สมยั โนน้ เม่ือ ๕๐ กว่าปีท่แี ล้ว พระราชทานพระราชดำารใิ ห้สร้างถนนหนทางต่างๆ คลองส่งนำา้ ตา่ งๆ ทัว่ ไปหมดเลย ตอ่ มาอันดบั สาม คอื โครงการทเี่ ก่ียวกับการทำามาหากินของคนจน คอื ชาวไร่ชาวนา กม็ ีโครงการเยอะเลย ตอนน้ีเรามีสำานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ (สำานักงาน กปร.) ดูแลอยู่ ๔,๐๐๐ กว่าโครงการทั่วประเทศ

ในทุกภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำาเนินโครงการที่ช่วยแบบพัฒนาพ้ืนท่ี เรียกว่า “ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำาริ” ซ่ึงมีอยู่ ๖ แห่งทั่วประเทศ เพ่ือศกึ ษาการพฒั นาในพ้ืนที่ ทภ่ี าคกลางกบั ภาคตะวนั ออกมสี องท่ี ทแ่ี รกคอื ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เนอื่ งมาจาก พระราชดำาริ อ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจนั ทบรุ ี ก่อนทีจ่ ะทรงช่วยเหลือนั้น อา่ วค้งุ กระเบน นาำ้ เน่าหมดเลย กงุ้ หอยปปู ลาตายหมด ชาวประมงต้องยา้ ยไปทอ่ี ืน่ สดุ ทา้ ยทรงพลิกฟน ๑๐ อา่ วคงุ้ กระเบน ตัดเรื่องน้ำาเสียทลี่ งอ่าว ตอนน้ีชาวบ้าน กลบั มาอย่ไู ดแ้ ล้ว แลว้ ก็สามารถ เพาะพนั ธปุ์ ลาแปลกๆ ได้ กรมประมงกท็ าำ งานอยอู่ ย่างตอ่ เน่ือง ส่วนอีกแห่งหน่ึงอยู่ท่ีฉะเชิงเทรา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ เขาหินซ้อน พวกเราได้ไปดูกันหรือยัง เขาหินซ้อนแถวนั้น สมัยก่อนเป็นดินปนทราย ปลูกไดอ้ ยา่ งเดยี ว คือ มันสำาปะหลงั แล้วสมัย ๓๐ ปี ก่อนโน้น ถ้าปไี หนราคามันตำ่ากว่า บาทนงึ ชาวบา้ นเขาบอกผมเองครบั เขาบอกตอ้ งปลน้ กนิ ครบั ใครขบั รถผา่ นกเ็ อาปน แกบ ไปยงิ ใหร้ ถควำ่า แล้วก็เอาของในรถ เดีย๋ วน้ไี ม่ต้องแลว้ ทำาตามโครงการตามพระราชดำาริท่ี ไปชว่ ยชาวบา้ น ผมไปเยยี่ มชาวบา้ น เขาบอกวา่ เดย๋ี วนผ้ี มสง่ ลกู เรยี นมธั ยม เรยี นอดุ มศกึ ษา

ได้แลว้ ครับ โดยเอาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ เอาเกษตรทฤษฎีใหมไ่ ปใช้ และ ๑๑ เอาความรตู้ ่างๆ เข้าไป ไดขา ววาพวกเราพอจะคนุ กบั ความรูเร่อื งสามศาสตรแ ลวใชไ หมครับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเวลาจะทรงงาน ทรงงานก็คือทำางานนั่นเอง ภาษา ราชาศัพท์ จะทรงศกึ ษาเรือ่ งนั้นอย่างลึกซึ้งเลย เคยมพี ระราชดำารสั ว่าในความที่ทรงเป็น พระมหากษัตริย์นี่ ถ้าไปทรงแนะนำาประชาชนผิด รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็จะผิดเสียหายมาก ผิดไมไ่ ด้ เพราะฉะน้ันจะมีพระราชกระแสตลอดเวลาวา่ จะทาำ อะไรต้องศึกษาใหล้ กึ ซึ้ง ในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีอยู่ข้อหนึ่งใช่ไหม เง่ือนไขความรู้ทางวิชาการ ทำาอะไรต้องรู้ลึกอย่างรอบคอบ ทำามั่วๆ ไม่ได้ ทำาแบบไม่รู้เร่ืองนี่ไม่ได้ จะเสียหาย นอกจากเสยี เวลาแลว้ ยงั เสียหายอกี เพราะฉะนัน้ มีพระราชดาำ รัสตลอดเวลาว่า จะทำาอะไร ต้องศึกษาให้ลึกซึ้ง นักเรียนก็เหมือนกันนะ เวลาเรียนวิชาอะไร ต้องเรียนให้ลึกซ้ึง ทุ่มเท ดหู นงั สอื ตอ้ งเรยี นใหร้ ใู้ หจ้ รงิ ๆ ครกู เ็ หมอื นกนั วชิ าไหนตอ้ งเตรยี ม ชวั่ โมงหนา้ จะสอนอะไร ต้องเตรียมให้ลึกซ้ึง ไม่ใช่สอนมายี่สิบปีฉันไม่ต้องเตรียมแล้ว ไม่ใช่ ต้องเตรียม ความรู้

มันเพ่ิมอยู่เร่ือย แล้วความรู้ของครูที่จะไปสอนชั่วโมงหน้า เรามีเพิ่มหรือเปล่า ตามโลก ทันหรือเปลา่ ผู้อำานวยการโรงเรียนเคยคิดถึงเรื่องนี้บ้างไหมว่า ทุกชั่วโมงท่ีโรงเรียนเราสอน ให้นกั เรียน ควรเป็นความร้ทู ่ีทนั สมัย ลกึ ซง้ึ รอบคอบใชไ่ หม นเี่ อาไปใช้ไดเ้ ลย สี่พันกว่าโครงการทั่วประเทศ มีศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ให้ศึกษาทุกภาค ๖ แห่ง ก็ไปศึกษาเอาก็แล้วกันว่าท่ีไหน เพราะฉะนั้นคนไทยจะได้เปรียบกว่าประเทศอ่ืนตรงท่ีว่า ๑๒ เวลาเราจะไปจับพืน้ ที่ไหน แลว้ พฒั นานี่ เรามอี งคค์ วามรู้อยแู่ ล้วนะครับ เราสามารถแบ่งศาสตร์การพัฒนาได้สามศาสตร์ด้วยกัน อันที่หนึ่ง คือ ศาสตรชาว บ้าน ท่ีเราเรียกกันว่า ภูมิปญญาชาวบ้าน ปูย่าตายายเรามาอยู่ท่ีแถวนี้ ประเทศเราน่ี ๗-๘๐๐ ปแี ลว้ ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตง้ั อาณาจกั รสโุ ขทยั พ.ศ. ๑๗๘๐ ราวๆ นนั้ ตอ่ มากม็ าตงั้ อาณาจกั ร ลา้ นนาที่เชยี งใหม่ พ.ศ. ๑๘๓๙ แลว้ ก็มาตงั้ กรุงศรอี ยุธยาสมยั พระเจ้าอูท่ อง พ.ศ. ๑๘๙๓ ทาำ ไมถึงจำาได้ กเ็ อาตัวเลขสลับกนั เทา่ นนั้ เอง ตอนท้ายของเชียงใหม่ ๑๘๓๙ ของอยธุ ยา ๑๘๙๓ ประวตั ศิ าสตรเ์ รยี นง่ายจำางา่ ยถา้ ร้วู ธิ ีจาำ เด็กๆ เขา้ ใจนะ เวลาสอบนี่ง่ายๆ ไมย่ าก อะไร ประมาณนนั้ พ.ศ. ๑๘๐๐ บวกลบแล้วเราก็ต้ังประเทศท่นี ี่ ๗๐๐ กว่าปีแล้ว ในชว่ ง

๗๐๐ กวา่ ปีนี่ เรายังไม่มมี หาวทิ ยาลยั เลยนะ เพ่งิ มีมาไม่ก่ีปนี ี่เอง จฬุ าฯ ยังไมฉ่ ลองร้อยปี ๑๓ แสดงว่าบ้านเราไม่มีมหาวิทยาลัยในสมัยโน้น ปูย่าตายายทำาไมถึงอยู่ที่นี่มาได้ตั้ง ๖-๗๐๐ ปี เพราะว่าอะไร เพราะวา่ ลองถกู ลองผดิ ลองปลูกข้าวแบบนีด้ ีไหม ปลกู อ้อยแบบน้ีดีไหม สมยั โนน้ ไมม่ วี ชิ าปลกู ออ้ ยจากเมอื งนอก และวชิ าทป่ี ยู า่ เรยี นกนั มาเปน็ วชิ าทเี่ หมาะสาำ หรบั พนื้ ทน่ี ้นั ๆ เหมาะสาำ หรับภาคอสี าน ตะวนั ตก ตะวันออก อยา่ ไปดถู ูกวิชาของปยู ่าตายายท่ี เรยี กวา่ ศาสตรช าวบา้ น หรอื ภมู ปิ ญ ญาชาวบา้ น ครเู องกต็ อ้ งไปศกึ ษารอบๆ โรงเรยี นวา่ มีวิชาอะไร บางท่ไี ปเรียนกบั ปราชญ์ชาวบ้าน แล้วก็เอามาสอนลกู ศิษยไ์ ด้ วชิ าทาำ นา ครเู คยทาำ นาไหม ทง้ั ๆ ทไี่ ปตง้ั โรงเรยี นอยตู่ รงกลางนา ผมไปโรงเรยี นหนง่ึ ท่ี อุบลฯ อำาเภอ สริ นิ ธร เปน็ โรงเรียนประถม ป.๑ - ป.๖ ครูน่ารักมาก ผู้อาำ นวยการนย่ี อด ยังงเี้ ลย ท่ีนน่ั เปน็ ชาวนาท้งั นัน้ คนรวยหน่อยก็ปลกู ยางพารา โรงเรียนมีพนื้ ที่มากหนอ่ ย ๓๕ ไร่ ครแู บ่งสว่ นหนงึ่ ทาำ นา แลว้ ทาำ นาแบบงานวจิ ยั ด้วยนะ เด็กนักเรยี น ป.๒ สามารถ มาบอกกบั เราไดว้ ่าจะเตรียมปุยอินทรีย์ท่ีใช้ในนาข้าวอย่างไร ฉอดๆๆๆ ข้ันตอนท่ี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ บอกได้หมดยืนพดู แบบนี้ไมต่ ้องเอากระดาษทอ่ ง ถามว่า ทาำ ไมบอกได้ เขาบอก ครูสอน และก็เอาวิชาทาำ นาไปท่บี ้านพ่อบา้ นแม่ที่ทาำ นา เก่ียวขา้ วลงแปลง ทำาได้หมดครับ

กระทรวงศึกษาฯ ไมเ่ คยเอาหลักสตู รของพอ่ แม่ลกู ศิษยไ์ ปสอนในโรงเรียนเลย เพราะ ฉะน้ัน ตอนน้ีคนหนุ่มคนสาวเลยไม่ทำานา ท้ังๆ ที่เป็นลูกชาวนานะ ขณะนี้อายุเฉลี่ยของ ชาวนาไทย ๕๔ ปี สงู เปน็ อนั ดับสามของโลก ชาวนารัสเซยี อายุมากท่ีสดุ ๕๗ ปี เพราะ อะไร เพราะโรงเรยี นไมอ่ ีนังขงั ขอบเลยวา่ ชาวบ้านทีเ่ ปน็ พ่อแมท่ ำางานอะไร มอี าชีพอะไร เราสอนวิชานัน้ สคิ รบั ในโรงเรียนทว่ี ่าน้ยี ังมพี ืน้ ทป่ี ลกู ยางพร้อมๆ กบั ชาวบา้ น ขณะนต้ี ้น ยางอายุ ๖-๗ ปีแล้ว กรดี ไดแ้ ล้ว ครไู ปเอาเกษตรอาำ เภอมาสอนนักเรียนกรีดยาง วันเสาร์ ๑๔ อาทติ ย์ เดก็ ป.๓ ป.๔ ไปรบั จา้ งกรดี ยางชาวบา้ นไดเ้ ลย หนงึ่ ศาสตรช าวบา้ น อยา่ ไปดถู กู สอง ศาสตรส ากล ก็คอื ส่งิ ทีค่ รไู ปเรียนมาแลว้ มาสอนหนังสือนีแ่ หล่ะ กเ็ อาไปเติมสิ ครบั ครเู กง่ กว่าชาวบา้ นตัง้ เยอะแยะ ไปเรียนศาสตร์สากล คือ ศาสตร์ฝร่ัง เอามาสอนใน วทิ ยาลัยครู ครศุ าสตร์ ศกึ ษาศาสตร์ หรอื ไปหาในอนิ เตอรเ์ นตกไ็ ด้ แลว้ ไปเติมให้ลูกหลาน เขาสิครับ วธิ ที ำาเกษตรอนิ ทรีย์ ชาวบ้านอาจจะไม่รู้เรื่อง แต่ครูน่ีร้เู รอื่ ง เพราะครูสามารถ นาำ ไปหาวิชาความรู้จากศาสตร์สากลได้ และอันทสี่ ามท่ีประเทศอน่ื ไมม่ คี ือ ศาสตรพระราชา คอื โครงการตามพระราชดาำ ริ สพ่ี นั กวา่ โครงการ มหี มด การจดั การดนิ การจดั การนา้ำ การเกษตรแปรรปู พลงั งานทางเลอื ก

ส่งิ แวดลอ้ มชมุ ชน การปลูกปา ปลูกตน้ ไม้ ปลูกพชื ผักสวนครัว มีหมดละ่ ครับ โครงการตาม ๑๕ พระราชดำาริมที ุกอยา่ งทีผ่ มกราบเรียน หกเรื่อง เจด็ เรื่อง เปน็ ประโยชนต์ ่อชาวบ้านทัง้ นัน้ และเปน็ ประโยชนแ์ กน่ กั เรยี นทงั้ นน้ั นะครบั กข็ ออนญุ าตฝากตรงนว้ี า่ สง่ิ ทเี่ ราจะเรยี นรจู้ าก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวน่ีมีเยอะมาก เป็นส่ิงที่เราจับต้องได้ เป็นโครงการท่ีเราไป เยี่ยมได้ ไปศึกษาได้ เรอื่ งทส่ี องทเ่ี ราควรจะเรยี นรู้ คอื สงิ่ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สอนเรา เปน็ เรอ่ื ง ทางนามธรรม แต่เราเอามาแปลงเปน็ รปู ธรรมได้ ยกตวั อย่าง เช่น ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทีไ่ ด้พระราชทานเมือ่ วนั ท่ี ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๒ เมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ประเทศไทยเกิดโรคต้มยำากุ้ง คือ เกิดวิกฤตทาง การเงนิ พรวดเดยี วเจง หมดเลย บรษิ ทั ต่างๆ ปิดหมด โรงงานปดิ หมด กรรมกรโรงงานโดน ไล่ออก หยุดหมด ไมม่ ีงานทำา ไม่มีเงนิ เดือน บา้ นกไ็ มม่ ี เพราะว่าเชา่ หอพักอยู่ ร่งุ ขึน้ เช้า ไม่มีท่ีกิน ไม่มีท่ีนอน ก็ฆ่าตัวตาย ตอนน้ันคนไทยฆ่าตัวตายเยอะมาก หนังสือพิมพ์ เอามาลงทุกวันเลย ชว่ งปี ๒๕๔๐ – ๒๕๔๑ พอปลายปี ๒๕๔๒ กพ็ ระราชทานปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงให้กับพวกเรา

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนวิธีคิดและวิธีปฏิบัติเพื่อให้ทุกคนเข้ม แข็ง ถ้าผมออกข้อสอบนะ ถามว่าปรัชญาน้ีคืออะไร คำาตอบที่ผมจะให้คะแนนเต็ม ก็คือ เปนวิธีคิดและวิธีปฏิบัติเพ่ือให้ทุกคน ทุกครอบครัว ทุกบริษัท ทุกโรงเรียน ทุกชุมชน ทุกประเทศเข้มแข็งสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ สามารถ รับมือกับวิกฤตได้ เช่น นำ้าท่วม ก็อาจจะเสียหาย แต่ไม่เสียหายถึงกับหมดเนื้อ หมดตัว ฟนเร็ว ประทานโทษ บ้านไหนก็ตาม ท่ีคุณพ่อเป็นคนหาเงินเล้ียงครอบครัว ๑๖ อยู่ๆ คุณพ่อเกิดรถชนตาย นี่คือวิกฤตของครอบครัว ถ้าครอบครัวน้ันนำาปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ต้ังแต่ต้นนะครับ เมียกับลูกก็ไม่ถึงกับล้มตายไปด้วย ยัง สามารถจะฟน ได้ ลกู ยงั สามารถเรยี นหนงั สอื ตอ่ ได้ แตถ่ า้ ไมเ่ อาปรชั ญานไ้ี ปใช้ กอ็ าจจะเปน็ หนส้ี นิ รงุ รงั เมอื่ พอ่ ทเ่ี ปน็ คนหาเงนิ ลม้ หายไป เมยี กบั ลกู กเ็ จง เลย ลกู กต็ อ้ งออกจากโรงเรยี น ฟน ไม่ได้ เพราะฉะน้ัน ถ้าดูให้ดี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงน้ี มสี องสว่ น ส่วนสาำ คญั ก็คอื สว่ นทีเ่ กีย่ วกับการตดั สนิ ใจคือ สามหว่ ง ไดแ้ ก่ พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู คิ ้มุ กนั ในตัวท่ี ดี นน่ั เกยี่ วกบั การตัดสนิ ใจ เราจะตัดสนิ ใจ จะทาำ อะไร จะซอื้ อะไรกต็ าม ไม่ว่านักเรยี นจะซื้อ

รองเทา้ กฬี าสกั คหู่ นง่ึ คณุ ครผู หู้ ญงิ จะไปตดั ชดุ ใหมช่ ดุ ไทยอกี ชดุ หนง่ึ คณุ ครผู ชู้ ายอยากจะ ๑๗ ไปออกรถใหม่นี่ ขอใหค้ ดิ กอ่ นว่า สองหลักการแรกคือ พอประมาณ และมีเหตุผล มคี วาม จาำ เปน็ ต้องทาำ อย่างน้นั หรอื เปลา่ จาำ เป็นตอ้ งซ้ือหรือเปล่า เหตผุ ลน้ีจริงๆ ต้องวางอยู่ฐาน หลายฐาน มีเหตผุ ลทางวชิ าการ มีเหตผุ ลทางด้านกฎหมาย เหตผุ ล ทางด้านศีลธรรม เหตุผลในเร่ืองความจำาเป็นของชีวิต อธิบายได้ไหมทำาไมต้องไปซื้อรองเท้ากีฬาอีกคู่หนึ่ง ทง้ั ๆ ทมี่ ีอย่แู ล้วสามคู่ ทำาไมต้องตดั ชุดไทยอกี ชดุ หนงึ่ ขณะนมี้ อี ยูแ่ ลว้ หา้ ชุด ไม่พอเหรอ จะออกรถใหมท่ ง้ั ๆ ทยี่ งั เปน็ หนเ้ี ขาอยอู่ กี สามแสน อนั นแ้ี หละ่ การตดั สนิ ใจทาำ อะไรตอ้ งวาง อยบู่ นเหตผุ ล คือตอ้ งพอประมาณตามอตั ภาพดว้ ยและตอ้ งมเี หตุผลด้วย หลกั ทสี่ าม คอื ไมก ระเทอื นภมู คิ มุ้ กนั คาำ วา่ ไมก่ ระเทอื นภมู คิ มุ้ กนั กค็ อื ไมก่ ระเทอื น ฐานของครอบครัวของเรา ครอบครัวของเราขณะนี้มีเงินออมอยู่สามล้าน เราจะเอาเงิน ไปตัดเส้ืออีกสักชุดหนึ่ง ไม่เป็นไรหรอกครับ สองพันสามพันก็เชิญ แต่อีกครอบครัวหน่ึง เป็นหน้ีอยู่สี่แสน จะไปตัดชุดอีกหมื่นหนึ่งมันควรไหม มันไปกระเทือนภูมิคุ้มกันไหม เขา้ ใจนะ

อย่างเรามาเป็นผู้อำานวยการโรงเรียนนี้ แหมอยากจะสร้างบารมี อยากจะสร้างร้ัว โรงเรยี นใหมห่ มดเลย ปา ยโรงเรยี นดว้ ย ขอสกั เจด็ แสน ทงั้ ๆ ทโ่ี รงเรยี นนี้ คา่ ไฟยงั ไมไ่ ดใ้ หเ้ ขา เลยหกเดือนแลว้ ไมม่ ีเงนิ ใหเ้ ขา อันน้แี หละคือ ขอ้ สาม ไปกระเทือนภูมิคุม้ กนั ของโรงเรียน เข้าใจไหมครบั ผมมีตัวเลขจะเล่าให้ฟังนะ กระทรวงศึกษาธิการ มีข้าราชการทุกประเภทรวมแล้ว สแี่ สนคน ทงั้ สแี่ สน บางคนเปน็ หน้ี บางคนไมเ่ ปน็ หน้ี บางคนเปน็ หนน้ี อ้ ย บางคนเป็น ๑๘ หน้ีมาก แตห่ น้ที ้ังหมดหลงจง รวมกันแล้วเป็นส่แี สนล้าน จดไว้ๆ สีแ่ สนล้าน ตวั เลขท่หี นง่ึ ส่ีแสนคน ตัวเลขท่ีสอง หนี้สี่แสนล้านบาท เฉล่ียคนละล้านสาม ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ งบประมาณกระทรวงศึกษาฯ เกือบห้าแสนล้าน แปดสิบเปอร์เซ็นต์เป็นเงินจ้างคนทำางาน คือสี่แสนล้านบาท ทำาไมได้เงินเดือนต้ังเยอะ แล้วทำาไมเป็นหน้ี ก็เพราะไม่เอาปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ผมเสนอผบู้ รหิ ารทอี่ ยใู่ นทน่ี นี้ ะครบั ถา้ ผอู้ าำ นวยการอยากใหค้ รใู นโรงเรยี นหายเปน็ หนนี้ ะ พรงุ่ นก้ี ลบั ไปประชมุ ครทู เ่ี ปน็ หน้ี บอกครคู รบั ครขู า อยากจะปลดหนไี้ หม ถา้ อยากปลดหนี้ เอาปรชั ญานี้ไปใช้ รับรองปลดได้ สามปี หา้ ปี แลว้ แต่หนมี้ ากหนีน้ ้อย ทำาไดเ้ ลยนะจรงิ ๆ เครื่องมือมอี ันเดยี ว คือบัญชีครัวเรือน บัญชรี ายรับ-รายจา่ ยประจำาเดอื น

แตม่ เี งอ่ื นไขของเศรษฐกจิ พอเพยี งนะ ขอ้ หนงึ่ ตอ้ งมคี ณุ ธรรมถกู ไหม ตอ้ งเปน็ คนทมี่ ี ๑๙ พนื้ ฐานดา้ นจติ ใจ มีคณุ ธรรม ถกู ไหมครบั คณุ ธรรมทพ่ี ดู อย่ใู นเศรษฐกจิ พอเพยี งคอื อะไร ความซื่อสตั ยส์ จุ ริต ถูกไหมครับ เงื่อนไขแรกเลยกค็ ือ ทั้งนตี้ ้องพัฒนาพน้ื ฐานจติ ใจคนใน ชาติ ไมว่ ่าจะเปน็ ข้าราชการ หรอื นักทฤษฎี หรอื นกั ธุรกจิ ให้มคี ุณธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความซ่อื สัตยส์ ุจรติ ในบญั ชรี ับจ่าย เลน่ หวยเดือนละเทา่ ไร ใสใ่ หเ้ ตม็ ๆ ตามความเป็นจริง กนิ เหลา้ เท่าไร สูบบุหร่ีเท่าไร ถูกไหมครับ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ ลดหน้ี อันนี้ง่ายๆ นะ ทุกคนทำาได้ นักเรียนก็เหมือนกันนะ ผมอยากให้โรงเรียนในประเทศไทยสอนเด็กอย่างน้อยมัธยมหน่ึง ขึน้ มา ใหร้ ้จู กั การวางแผนการเงิน และใหท้ าำ บญั ชีรายรับรายจ่าย และให้รจู้ กั วเิ คราะห์ทงั้ รายรับและรายจ่าย โดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามข้อนั่นแหละ พอประมาณ มเี หตผุ ล ไมก่ ระทบตอ่ ภมู คิ มุ้ กนั เมอื่ โตขน้ึ เขาจะเปน็ คนซงึ่ ไมต่ ดิ หนคี้ น เขาจะตอ้ งระมดั ระวงั ในการใช้จา่ ย เรื่องที่สองที่จะเอาปรัชญานี้ไปใช้ คือไปสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่องค์กร ท่ีจริงคำาว่า ภมู คิ ้มุ กัน เป็นภาษาหมอ แปลว่าความเข้มแขง็ เชน่ ภมู คิ ุม้ กนั โรค เราไปฉีดวัคซีนแก้ไขห้ วดั

ใหญ่ เพื่อเรามีความเข้มแข็งต่อต้านเชื้อไข้หวัดใหญ่ เข้าใจนะครับ ผมจะใช้คำาว่าความ เข้มแข็งแทนเพื่อจะได้เข้าใจง่าย ในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในประโยคสุดท้าย มีพดู ไว้ว่า จะต้องสรา้ งความเข้มแขง็ หรอื ภมู ิคุ้มกันสีด่ า้ นด้วยกัน สำาหรบั ครอบครวั สาำ หรบั ตัวเรา สำาหรับโรงเรียน สำาหรับบริษัท คือหน่ึงความเข้มแข็งด้านวัตถุ หรือด้านการเงิน หรอื ด้านเศรษฐกิจ อนั นบี้ อกไปแล้ว วางแผนการเงินทำาบัญชีครวั เรือน สองความเข้มแข็ง ทางด้านสังคม อันน้ีได้แก่การอยู่ร่วมกันในสังคมโดยไม่เบียดเบียนกัน ช่วยเหลือกัน ๒๐ ก็ต้องมีการพัฒนาด้านการศึกษา ศีลธรรม ศาสนา สุขภาพ สามความเข้มแข็งด้าน สิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียนเป็นอย่างไร ร่มรื่น ปลอดภัยไหม สิ่งแวดล้อม ในบ้านเป็นอย่างไรบ้าง ขยะเต็มบ้านไหม และข้อสี่ความเข้มแข็งด้านวัฒนธรรม ยังเลน่ ลาำ ตดั กนั อยู่รเึ ปลา่ ในภาคกลางน่ี โรงเรียน ชมุ ชน สังคม ตอ้ งมคี วามเข้มแข็ง ๔ ด้าน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหไ้ ว้ครบหมดเลย สมมตผิ มเป็นผ้อู าำ นวยการ ผมอยากเอาปรชั ญาไปใชก้ บั โรงเรียนผม ผมจะประชุมครู ประชุมนักเรียนทั้งหมดเลย บอกเรามาช่วยกันประเมินความเข้มแข็งส่ีด้าน หนึ่งด้านวัตถุ คือ ด้านเศรษฐกจิ ขณะน้ีโรงเรียนมเี งนิ เหลือเท่าไร มหี น้เี ท่าไร มีรายได้เท่าไร มีรายจา่ ย

เทา่ ไรตอ่ ปี ทาำ อยา่ งไรจะลดรายจ่าย ทาำ อย่างไรโรงเรยี นจะเพ่ิมรายได้ อันน้ีคอื การสร้าง ๒๑ ความเข้มแข็งทางด้านวัตถุ ให้โรงเรียนระดมสมองกันสิครับ เราจะประหยัดไฟร่วมกัน ไหม จะได้ลดรายจ่าย ประหยดั น้าำ กนั ไหม เราจะทาำ อาสาสมัครกวาดพ้นื โรงเรียน ชว่ ยกัน จะไดไ้ มต่ อ้ งจ้างกนั มากมายนกั เรื่องที่สอง ความเข้มแข็งทางด้านสังคม ในโรงเรียนจะเอายังไงดี จะให้มีการ เล่นหวยอยู่ไหม จะใหม้ กี ารสบู บหุ รไี่ หม จะใหม้ ีการเล่นไพ่ไหม อันนค้ี อื ด้านสงั คมท้ังหมด ถ้าโรงเรียนน้ันทุกคน เป็นโรงเรียนคุณธรรมนะ เคยได้ยินโรงเรียนคุณธรรมไหม โรงเรียน คุณธรรมมีร้อยกวา่ โรงเรยี นแล้ว ถา้ เป็นโรงเรยี นคุณธรรมแลว้ ข้อสองผา่ นเลย ข้อสามด้านส่ิงแวดล้อมของโรงเรียน ประตูโรงเรียนมันจะพังรึเปล่า มันจะมาทับ เด็กอนุบาลตายอีกไหม ผูอ้ าำ นวยการเคยตรวจดโู รงเรยี นรอบๆ ไหม สิ่งแวดล้อมโรงเรยี น ผู้อำานวยการเคยดูไหม มะพร้าวมันยืนต้นตายมาห้าปีแล้ว มันจะลงมาทับเด็กตายเม่ือ ไรก็ไม่รู้ เรารีบตัดก่อนได้ไหม อันนี้แหล่ะครับ คือปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครับ ความเข้มแข็งในเร่ืองสิ่งแวดล้อม เรามาช่วยกันทำาสิ่งแวดล้อมให้ดี ขยะเรามาแยกไหม ขยะนเี้ อาไปทำาประโยชน์ไหม เอาไปรไี ซเคิลไหม อันนีแ่ หละครบั คือความเขม้ แขง็ ด้าน สง่ิ แวดลอ้ มตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

อันสุดท้ายคือด้านวัฒนธรรม ก็เหมือนกัน นักเรียนโตขึ้นมาน่ีมีวัฒนธรรมไหม อยา่ งน้อยมีวินยั ไหม มมี ารยาทไทยไหม อนั น้ันคือพืน้ ฐานของวัฒนธรรม คือมารยาทไทย และวินัยของนักเรียน สองอันนี้ต้องมาก่อน ก่อนจะไปทำาเร่ืองยากๆ ทำาเร่ืองง่ายก่อน คอื วินัยนกั เรยี น ความตรงตอ่ เวลา การแตง่ กายสภุ าพ สงิ่ ต่างๆ เหลา่ นี้ ถ้าคณุ ครปู ลกู ฝงั ใหน้ ักเรยี น นแี่ หล่ะ คือภมู คิ มุ้ กนั ท้งั สด่ี ้าน ๒๒ สรปุ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงคืออะไร คือ หลักคดิ และหลกั ปฏบิ ัติเพ่อื ให้เกดิ ความเขม้ แข็ง พร้อมรับการเปล่ียนแปลง จะมีผู้อำานวยการเก่าซึ่งดีมากเลยย้ายไป ได้ผู้อำานวยการใหม่ไม่ค่อยดีเท่าไรมา โรงเรียนก็ ยังเข้มแข็งอยไู่ ด้ ไม่ใช่วา่ พอผอู้ าำ นวยการใหมม่ าทรุดเลย เพราะเราเขม้ แขง็ ทุกคนประหยดั ทุกคนมีคุณธรรม ทุกคนมีวัฒนธรรมในโรงเรียน ทุกคนรักสิ่งแวดล้อมอยู่แล้ว เข้าใจนะ โรงเรยี นโดนนา้ำ ทว่ มสกั เดอื นหนงึ่ กอ็ ยไู่ ด้ เพราะทกุ คนรกั โรงเรยี น มาชว่ ยโรงเรยี นหมดเลย โรงเรียนมีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสูง โรงเรียนนี้เปรียบกับอีกโรงเรียนหน่ึง ผู้อำานวยการ

ก็เมาหยำาเป ครูก็มาโรงเรียนม่ัง ไม่มามั่ง เด็กก็วุ่นวายไปหมด ยาบ้าก็มากมายก่ายกอง ๒๓ อันนัน้ แหล่ะคอื ภูมคิ มุ้ กันมันแย่ ถ้ากลับไปโรงเรยี นแลว้ เราไปประเมนิ ภูมิค้มุ กันว่า ด้านไหนเราออ่ นแอ ก็ฉีดวคั ซนี ให้มันเข้มแข็ง มีมาตรการว่าหนึ่งปีประเมินตัวเองทีหน่ึง ปีหน้าเอาปรัชญาน้ีมาใช้ใหม่ ถ้าทำาทกุ ปีประเมนิ ทกุ ปี สด่ี ้านน่ี โรงเรยี นจะเขม้ แข็งไหมครับ เขม้ แข็งแน่นอนเลย อนั น้ี แหละ่ คอื ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หนค้ี รลู ดไหม ลดแนน่ อน กลบั ไปแบง่ ครอู อกเปน็ สองพวก หนึ่งพวกทไ่ี ม่มีหนี้ กับพวกทม่ี หี น้ี และก็บอกเลย พวกไม่มหี น้ี ใหเ้ อาปรชั ญา น้ีไปใช้สิ แล้วจะค่อยๆ มีเงนิ ออมมากขน้ึ ๆ อีกไมก่ ี่ปกี ็เปน็ เศรษฐีเลย แลว้ เปน็ คนสะอาด เปน็ คนบรสิ ุทธิ์ ทกุ คนยกมือไหวไ้ ดห้ มดเลย เขา้ ใจนะครบั ส่วนกลมุ่ ท่ีสอง กลุ่มเป็นหน้ี ไมเ่ ป็นไร ใชเ้ วลาสกั สามปีลดหน้ีทุกบ้านเลย แต่ที่บ้านต้องเอาดว้ ยนะ แล้วผมเชือ่ เลยว่า โรงเรยี นเราจะมคี รูท่ีไมเ่ ป็นหน้อี ีก เอานะ มาวันนี้ไม่ได้อะไรกลับไป ก็ขอให้ได้ว่า ปรัชญาน้ีใช้ได้อย่างน้อยสองระดับ คือระดับบุคคลใช้ได้ท้ังครูและนักเรียนในการจัดการการเงินของตัวเอง ในการเรียนรู้ท่ีจะ วิเคราะห์วางแผนการเงิน เพ่ือไม่เป็นหน้ีและมีเงินออมมากขึ้น สอง เราสามารถนำาเอา

ปรัชญาน้ีไปสร้างความเข้มแข็งหรือภูมิคุ้มกันทั้งสี่ด้านได้ ท้ังระดับครอบครัวของครูเอง และระดับโรงเรียนด้วย ขอให้ทุกคนรับรู้ไว้ว่า วิธีคิดแบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานใหเ้ ราน่ี ขณะนบี้ รษิ ทั เอกชนเอาไปใชม้ ากเลย ต่างประเทศก็กำาลังต่ืนเต้นมาก ว่าทำาไมมีส่ิงน้ีเกิดขึ้น เพราะส่ิงน้ีช่วยลดความจนไป เลยนะ การแก้ไขความจน ลดไปหมดเลยนะครับ เพมิ่ ความมัน่ คงของครอบครัวและชมุ ชน ขน้ึ มา ปญั หาคอื คนไทยท่เี อาไปใช้ มนี ้อยเหลือเกิน เพราะอะไรกไ็ ม่ร้นู ะครับ เพราะฉะนน้ั ๒๔ ฝากครูไวด้ ้วยนะครบั ขอบคณุ ครับ



มูลนิธิยวุ สถริ คุณ วัตถุประสงค เพ่ือสง เสรมิ และสนับสนุนกจิ กรรมทีเ่ สริมสรางคณุ ธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แกเยาวชนอยางยั่งยืน สนับสนุนกิจกรรมเพื่อเสริมสรางความสัมพันธที่ดีระหวางครูและเด็ก FOUNDATION OF VIRTUOUS YOUTH รวมถึงสนบั สนนุ การเสรมิ สรางเกยี รติยศ ศักดศรแี ละอดุ มการณของครู เพอื่ ใหค รูเปนแบบอยา งทีด่ ี ในการขับเคลื่อนของมูลนิธิยุวสถิรคุณ ศนู ยสถานศึกษาพอเพยี ง จะเปนการดำเนินงานควบคูกันไปใน ๓ ศูนยหลัก ซึ่งเปนหัวใจของมูลนิธิ ดังนี้ มุงเนนใหสถานศึกษานำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกตใชในการจดั การเรียน การสอน การจัด กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน และการบริหารจดั การสถานศกึ ษา เพอื่ ให เกดิ ผลในทางปฏบิ ัตใิ นทกุ ระดบั ไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ และมีประสทิ ธิผล เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะโรงเรียนสถานศกึ ษา พอเพียงใหเกิดความยง่ั ยนื อยา งตอเนอ่ื ง www.vyouth.org มูลนิธิยุวสถิรคุณ (สำนักงานใหญ) ๒๑๔ ถนนนครสวรรค แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๒ ๐๒๑๖ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๒๓๕ ศูนยสถานศึกษาพอเพียง ศูนยโรงเรียนคุณธรรม ศูนยจิตวิทยาการศึกษา ๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๒ ๐๐๒๔ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๒ ๐๑๐๔ โทรศัพท ๐ ๒๗๘๗ ๗๐๓๓ ถึง ๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๘๒๒๖ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๒๔๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๒๐๘ www.sufficiencyeconomy.org fb : ศูนยสถานศึกษาพอเพียง