Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดูแลปกป้องเมื่อแยกกักตัว

ดูแลปกป้องเมื่อแยกกักตัว

Description: ดูแลปกป้องเมื่อแยกกักตัว

Search

Read the Text Version

นวทางการปฏบิ ตั ิ เมือ่ แยกกกั ตัวผปŒู ว† ยโรคโคว�ด 19 ดแู ล ปกป‡อง เมือ่ แยกกักตวั CI HI



คำ� นำ� ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อ เปน็ จำ� นวนมาก สง่ ผลใหเ้ กดิ จำ� นวนเตยี งในการรกั ษาไมเ่ พียงพอกบั ผปู้ ว่ ยทเี่ พ่ิมข้ึน ประกอบกบั ยงั มผี ตู้ ดิ เชอ้ื อกี จำ� นวนมากทยี่ งั รอรบั การรกั ษาอยทู่ บ่ี า้ นกระทรวงสาธารณสขุ ไดป้ รบั มาตรการ ดูแลผู้ติดเชื้อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โดยแบ่งระดับอาการผู้ป่วย เปน็ 3 กลมุ่ คอื สเี ขียว สเี หลอื ง และสแี ดง เพื่อการดแู ลและรกั ษาอยา่ งเปน็ ระบบ ผตู้ ดิ เชอื้ สว่ นใหญ่ มีอาการเลก็ น้อยหรือไม่มีอาการเลย ไมจ่ ำ� เป็นต้องอยโู่ รงพยาบาล สามารถแยกกักตวั ท่ีบา้ นได้ และตอ้ งปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การตดิ เชอื้ สคู่ นในครอบครวั แตห่ ากไมส่ ามารถอยทู่ บ่ี า้ นได้จะนำ� มารกั ษา ที่ศูนย์แยกกักตัวในชุมชนหรอื ศูนย์พักกอย โดยให้ชุมชนช่วยกันดูแล เพอื่ จะได้มีเตียงเพียงพอ ส�ำหรับให้ผู้ติดเชื้อกลุ่มสีเหลือง สีแดงได้รับการดูแลอย่างเต็มที่ ลดการแพร่กระจายเช้ือ ส่คู รอบครวั ชมุ ชน สงั คม และลดการเสยี ชีวิต คู่มือแนวทางการปฏิบัติเมื่อแยกกักตัวผู้ป่วยโรคโควิด 19 ฉบับน้ี รวบรวมความรู้ การส่งเสรมิ สุขภาพที่เหมาะส�ำหรับผู้ท่ีแยกกักตัวในศูนย์พักคอย เช่น การบริหารปอด การออกก�ำลังกาย การผ่อนคลายความเครียด การดูแลสุขภาพช่องปาก การป้องกัน การแพรเ่ ชอ้ื เปน็ ตน้ รวมทงั้ การปฏบิ ตั ติ วั เมอ่ื หายจากโรคโควิด 19 หวงั เปน็ อยา่ งยิง่ วา่ คมู่ อื ฉบบั น้ี จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ที่แยกกักตัว และผู้ที่สนใจสามารถน�ำไปสร้างความรอบรู้สุขภาพ และประยุกต์ใช้เพือ่ ส่งเสรมิ สุขภาพสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ สู่ผู้อื่น ชมุ ชน และสิ่งแวดล้อม กรมอนามยั กนั ยายน 2564

สารบัญ เรอื่ ง หนา้ ส่วนท่ี 1 โรคโควิด 19 1 อาการผปู้ ่วยสเี ขยี ว 2 อาการผ้ปู ว่ ยสีเหลือง 3 อาการผู้ป่วยสีแดง 4 สว่ นท่ี 2 การแยกกักตวั ท่บี ้าน (Home Isolation : HI) 5 ศนู ยแ์ ยกกักตวั ใชชุมชน (Community Isolation : CI) 6 สว่ นท่ี 3 ตรวจประจำ� ทำ� ทุกวัน 7 วัดระดบั ออกซเิ จนที่ปลายน้วิ 8 ปรอทวดั ไข้ 9 ส่วนที่ 4 กนิ ดี สขุ ภาพดี เสริมภมู คิ ุม้ กัน 11 วิตามินและแร่ธาตุเสริมภูมคิ ุ้มกนั 12 ส่วนที่ 5 สง่ เสรมิ สุขภาพทีศ่ นู ย์พกั คอย 13 6 ทา่ บริหารปอด 14 กิจกรรมทางกาย 15 9 ทา่ ยืดเหยียดกลา้ มเน้ือ 16 8 ทา่ โยคะพื้นฐานทำ� ได้งา่ ยท�ำไดท้ ี่บ้าน 17 Body Weight 18 การออกก�ำลงั กายด้วย 10 ทา่ คตี ะมวยไทย 19 ปาก คือ ประตสู ่สู ุขภาพ 20 ดมื่ น�ำ้ รกั ษาสมดุล 21 เคลด็ ลับ หลับสบาย 22 จติ ดสี ุขภาพดี เสริมสร้างความเขม้ แข็งทางจติ ใจ 23 สว่ นที่ 6 ดแู ลกันและกันเพอ่ื ตวั เองและสว่ นรวม 24 ใสห่ นา้ กากอนามัยใหป้ ลอดภยั 25 ทิ้งอย่างไรให้ถกู วธิ ี 26 7 ขัน้ ตอน ลา้ งมือให้สะอาดป้องกนั โรค 27 การจดั การขยะติดเช้ือ 28 ตัวอย่างตารางกจิ กรรมระหวา่ งวันเม่ือแยกกักตวั ในศนู ย์พกั คอย 30 สว่ นที่ 7 หายป่วยยังคงต้องปอ้ งกัน 31 แนวทางการปฏบิ ัติเม่อื หายจากโควิด 19 32 ภาคผนวก 36

นวทางการปฏิบตั ิ เมื่อแยกกกั ตวั ผŒปู ว† ยโรคโควด� 19 โรคโควิด 19 สถานการณแ์ ละการดูแลผปู้ ว่ ยโรคโควดิ 19 สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในประเทศไทย พบผปู้ ว่ ยเปน็ จำ� นวนมาก ส่งผลให้เกิดจ�ำนวนเตียงในการรักษา ไม่เพียงพอกับผู้ป่วยท่ีเพมิ่ ขนึ้ ประกอบกับยังมีผู้ป่วย อีกจ�ำนวนมาก ที่ยังรอรบั การรักษาอยทู่ บ่ี ้าน กระทรวงสาธารณสุขได้ปรับมาตรการดูแลผู้ป่วยโรคโควิด 19 ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โดยแบ่งกลุ่มผู้ป่วยโรคโควดิ 19 ตามอาการเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสีเขยี ว กลุ่มสีเหลือง และกลุ่มสีแดง เพอ่ื การดูแลและรักษาอย่างเป็นระบบ ลดการ แพร่กระจายเชื้อสูค่ รอบครัว ชมุ ชน สงั คม และลดการเสยี ชีวิต 1

ท่มี า: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 2

ท่มี า: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 3

ท่มี า: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 4

นวทางการปฏิบตั ิ เมอื่ แยกกักตัวผปูŒ †วยโรคโคว�ด 19 (กHาoรmแeยกIsกoกั laตtiวัoทnี่บ:า้ HนI) การแยกกักตัวที่บ้าน เป็นทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยโรคโควดิ 19 อาการไม่รุนแรง หรืออยู่โรงพยาบาลมาแล้วอย่างน้อย 7-10 วัน สามารถกลับไปพักพน้ื ที่บ้านต่อโดยต้อง ผ่านความยินยอมของหมอและความสมัครใจของผู้ป่วย ทั้งน้ี ผู้ป่วยต้องอายุไม่เกิน 70 ปี พักอาศัยอยู่คนเดียวหรอื อยู่ร่วมกับคนอ่ืนไม่เกิน 1 คน หรอื มีห้องส่วนตัวเป็นสัดส่วน และไมอ่ ยรู่ ว่ มกบั ผสู้ งู อายุ และไมเ่ ปน็ โรคทเี่ สย่ี งตอ่ การเกดิ อาการรนุ แรงเชน่ โรคปอดอุดกนั้ เรือ้ รงั โรคไตเรอ้ื รงั โรคอ้วน โรคเบาหวาน เป็นต้น ขอั ดีของการแยกกักตวั ทบี่ า้ นส�ำหรับผู้ป่วยสเี ขยี ว - ลดความเสีย่ งในการสัมผสั เช้ือเพิม่ - การอย่บู า้ น ช่วยลดความเครยี ด ท�ำใหส้ ุขภาพจิตดีขึ้น และสุขภาพจติ ท่ีดี ท�ำให้รา่ งกาย ฟืน้ ตวั ไดเ้ ร็วข้นึ - ช่วยให้คนป่วยท่ีเพ่งิ ตรวจพบเช้ือได้รับการดูแลรักษาที่เร็วขน้ึ แก้ปัญหาเดิมท่ีเข้าไม่ถึง บริการ ท่ีมา: คมู่ อื การแยกกกั ตวั ที่บ้าน (ฉบบั ปรบั ปรุงใหม)่ 5

(Coกmารmแยunกiกtyกั Iตsoวั lใaนtชioมุ nช:นCI) การแยกกักตัวในชุมชน เป็นทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยท่ีโรคโควดิ 19 ท่ีติดเช้ือใหม่ หรอื ผู้ป่วยที่มีอาการเล็กน้อย และไม่สามารถแยกกักตัวท่ีบ้านได้ สามารถอยู่ร่วมกันได้ เป็นครอบครัวทกุ กลมุ่ อายุ ศนู ย์แยกกกั ตัวในชมุ ชนหรอื ศูนย์พกั คอย (Community Isolation Center) ศูนย์แยกกักตัวในชุมชน เป็นสถานท่ีให้การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่ไม่สามารถ แยกกักตัวท่ีบ้านได้ เช่น วัด โรงเรยี น อาคารอเนกประสงค์ อาคารกีฬา หอประชุมขนาดใหญ่ หรอื แคมปค์ นงานกอ่ สรา้ ง เป็นต้น ศูนย์แยกกักตัวในชุมชนหรอื ศูนย์พักคอย ซ่ึงจะได้รับยาและรับการตรวจติดตามอาการ ตามแนวทางการรกั ษาผปู้ ว่ ยโรคโควิด 19 สามารถประสานส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลหากผู้ป่วยมีอาการแย่ลง มีสิง่ แวดล้อม ถูกสุขลักษณะหรอื ได้รับการปรับปรุง เพอื่ ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดออกนอกชุมชน ซ่ึงชุมชน ให้การยอมรับ ศนู ยพักคอย ท่มี า: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ และแนวทางการแยกกักผปู้ ว่ ย COVID-19 ในชุมชน (24 ก.ค. 64) 6

นวทางการปฏิบัติ เมอื่ แยกกกั ตัวผปŒู †วยโรคโควด� 19 ตรวจประจำ ทำทกุ วนั 37.5 วดั ค‹าออกซิเจน วดั ไขŒ ไมต‹ า่ํ กวา‹ รŒอยละ 96 ไมเ‹ กิน 37.5 องศาเซลเซยี ส 7

วดั ระดับออกซเิ จนที่ปลายนวิ้ วัดระดับออกซิเจนที่ปลายนว้ิ วนั ละ 1- 2 คร้งั และจดบนั ทึกเพอื่ ประกอบการรักษาของแพทย์ การใชเ้ ครือ่ งวดั ออกซเิ จนปลายนว้ิ 1. ใส่ถ่าน หรอื ชารจ์ ใหเ้ ต็ม 2. กดปุ่มเปดิ เครือ่ ง 3. สอดปลายน้ิวมอื ตามตำ� แหนง่ ทกี่ �ำหนด 4. หายใจเขา้ ออกลกึ ๆ แล้วรอสกั พกั จากนั้นจดค่าทีว่ ดั 5. อา่ นคา่ และแปลผล เลขตวั บน คอื ค่าระดับออกซิเจน ในเลอื ดมีหนว่ ยเปน็ เปอรเ์ ซ็นต์ เลขตวั ลา่ ง คอื คา่ อัตราการเตน้ ของหวั ใจ มหี น่วยเป็นครั้งตอ่ นาที ค่าปกตขิ องระดับออกซเิ จนทว่ี ดั ได้ อยู่ที่ 96 -100% หากตำ่� กว่าเกณฑ์ ให้รีบตดิ ต่อแพทย์ ทีม่ า: ค่มู ือการแยกกกั ตัวทีบ่ า้ น (ฉบับปรบั ปรุงใหม)่ 8

ปรอทวัดไข้ วดั ไข้ วนั ละ 1 - 2 คร้ัง และจดบันทกึ เพื่อประกอบการรกั ษาของแพทย์ การใชป้ รอทวัดไขแ้ บบดิจทิ ัลมหี ลายวิธี เชน่ 1. สอดสว่ นหวั สเี งนิ เข้าไปในรกั แร้ พับแขน หนบี ทิง้ ไว้ 2-3 นาที 2. อมปรอทไว้ใตล้ ิ้น นาน 3 นาที (ไมค่ วรดม่ื น�ำ้ ร้อนหรือเยน็ ก่อนวดั 10-15 นาท)ี หากมไี ข้เกิน 37.5 องศาเซลเซยี ส พักผอ่ นมากๆ ดมื่ น้�ำให้เพียงพอ กนิ ยาลดไข้ได้ แต่ถา้ ไม่ดีขึน้ ให้รบี ติดต่อแพทย์ *** ทำ� ความสะอาดปรอททกุ คร้ังหลงั ใช้ 3. กนิ ยาตามแพทยส์ งั่ อยา่ งเครง่ ครัด 4. ปฏบิ ัติตามข้อแนะนำ� ของศูนย์แยกกักตัว หรอื ศนู ย์พกั คอย ที่มา: คูม่ ือการแยกกกั ตัวท่บี า้ น (ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม)่ 9

5. สงั เกตอาการผดิ ปกตขิ องตนเอง หากมอี าการผดิ ปกติใหร้ ีบแจ้งเจา้ หน้าที่ 37ม.5ีไขอ้สงงู ศมาาเกซลกเวซา่ ยี ส วดั คา่ ออกซเิ จน ตปำ่� ลกาวยา่ น9ว้ิ 6ได%้ ทอ้ งเสีย อาเจยี น กินอาหารไม่ได้ หพาูดยเใปจน็ไมปส่ ระะดโยวคกยตาิดวขๆดั ไม่ได้ ไอมากขึน้ แนน่ นหอนน้ารอากบตไมอ่ ่ไเดน้ ่อื ง มีอาการซึมลง ทีม่ า: คมู่ ือการแยกกกั ตวั ที่บา้ น (ฉบับปรับปรุงใหม)่ เรียกไม่รูส้ กึ ตัว หรอื ไมต่ อบสนอง 10

นวทางการปฏบิ ัติ เมอ่ื แยกกักตัวผŒูปว† ยโรคโคว�ด 19 กินดี สขุ ภาพดี เสริมภูมิคมุ้ กัน การกนิ อาหารนบั วา่ มสี ว่ นสำ� คญั ทจ่ี ะชว่ ยเสริมภมู คิ มุ้ กนั เปน็ เกราะปอ้ งกนั โรค เราควร กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย เพิ่มผักและผลไม้หลากหลายสีและหลายชนิด ในปรมิ าณทเี่ หมาะสม จะทำ� ใหร้ า่ งกายไดร้ บั พลงั งานและสารอาหารทเี่ พยี งพอ เปน็ การเสรมิ สรา้ ง ระบบภมู คิ ุม้ กนั โรคท�ำใหร้ า่ งกายแข็งแรง ไมเ่ จบ็ ปว่ ยง่าย ท่ีมา: สำ� นกั โภชนาการ กรมอนามัย 11

ว�ตามนิ และแร‹ธาตุ เสร�มภมู ิคŒุมกัน ว�ตามนิ ซี ฝรง่ั เงาะ สาล่� คะนŒา ว�ตามินดี นา้ํ มันปาลม ไข‹ไก‹สุก กลวŒ ยไข‹ วต� ามนิ อี ปลาทับทมิ เห็ดหอม ปลานลิ ธาตสุ ังกะส� เตาŒ หูŒ ถ่ัวแดง งาดำ อาหารที่ใหŒกล‹ุมจล� น� ทรย�  โยเกริ ต เนยแข็ง นมเปรย้� ว 12

นวทางการปฏบิ ตั ิ เม่อื แยกกักตัวผŒูป†วยโรคโคว�ด 19 สง่ เสรมิ สขุ ภาพท่ศี ูนยพ์ กั คอย สถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ 19 ส่งผลใหม้ ีผู้เสยี ชีวิตแต่ละวนั เป็นจำ� นวนมาก กลุ่มเสย่ี ง ได้แก่ ผสู้ งู อายุ ผ้ทู ่ีมโี รคประจ�ำตวั เก่ียวกบั ปอด เชน่ โรคปอด หอบหืด รวมท้ังผู้ปว่ ย โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สงู โรคหวั ใจ โรคอว้ น ยงั คงเปน็ กลมุ่ เสย่ี ง ล�ำดับต้น ๆ ท่ีต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เนื่องจากกลุ่มน้ีปอดท�ำงานได้น้อยลงอีกท้ัง ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ซ่ีโครง และกระบังลมท่ีลดลง รวมถึงกลุ่มวัยท�ำงานแม้จะมี สภาพร่างกายแข็งแรงกว่ากลุ่มเสี่ยงดังกล่าว แต่การดูแลสุขภาพและปัจจัยด้านต่างๆ ก็มีความจ�ำเป็น ดังนั้น การบรหิ ารปอด เป็นสิ่งส�ำคัญที่สามารถช่วยบรรเทาความรุนแรง และยังช่วยในการฟนื้ ฟูสมรรถภาพปอด ของผูป้ ่วยอกี ด้วย ซ่ึงทุกคนสามารถทำ� ด้วยตนเอง 13

6 ทา‹ บรห� ารเสร�มสราŒ งปอดแขง็ แรง การบร�หารปอด และทดสอบการหายใจ เปนš สง� สำคัญที่สามารถช‹วยบรรเทาความรุนแรง และยังช‹วยในการฟ�นฟ�สมรรถภาพปอดของผŒปู ว† ย ซง่ึ สามารถทำไดดŒ Œวยตนเอง หลักการเสรม� สรŒางสมรรถภาพปอดทำไดดŒ Œวยการฝกƒ การขยายตวั ของปอด ยืดเหยียดกลาŒ มเนื้อทรวงอกและกลาŒ มเน้อื กะบงั ลม การทดสอบการหายใจ โดยการเดินหร�อลุกนง่ั 6 นาที หากเหนื่อยหอบใหรŒ �บแจŒงเจาŒ หนŒาที่ 1 23 ท‹าพง� ปอ† ง ทา‹ อกน�ิง ทา‹ ขยับซโ่ี ครง หายใจเขŒาใหทŒ Œองป†อง (อกไมข‹ ยาย) หายใจเขาŒ ใหทŒ Œองปอ† ง (อกไม‹ขยาย) หายใจเขาŒ ทางจมูกใหซŒ ีโ่ ครงขยายออก หายใจออกใหŒทอŒ งแฟบ หายใจออกใหทŒ อŒ งแฟบ หายใจออกชŒาๆ ทางปากใหŒซ่ีโครง 4 5 6หบุ ลง ทา‹ ชมู อื ท‹ากางปก� ขยายปอด ทา‹ ยืดสะบกั หายใจเขŒาทางจมกู พรอŒ มกัน หายใจเขาŒ ทางจมูก หายใจเขาŒ ทางจมกู พรอŒ มกาง ยกแขนทั้งสองขางขน้� ดŒานหนŒา พรŒอมกางแขนออกสองขาŒ ง ขอŒ ศอกออก หายใจออกทางปากยาวๆ หายใจออกทางปากยาวๆ หายใจออกทางปากยาวๆ พรŒอมกับ พรŒอมผ‹อนแขนลง กลบั ส‹ทู ‹าเดมิ หบุ ศอกและโกง‹ หลัง 14 ทม่ี า: กองกิจกรรมทางกายเพื่อสขุ ภาพ กรมอนามัย

กิจกรรมทางกาย ในชว่ งระหว่างวนั ในการกักตัวอยูใ่ นศูนย์แยกกักตัวหรือศนู ยพ์ ักคอย นอกจากปฏิบตั ิ กิจวัตรประจ�ำวันแล้ว ควรมีกิจกรรมทางกายระหว่างวัน เพอ่ื ลดการเนือยน่ิง เช่น การท�ำ ความสะอาดท่พี ัก ซกั เสอื้ ผา้ โยคะ ออกก�ำลังกาย โดยใช้นำ�้ หนักเปน็ ตวั ตา้ นทานการเคลอ่ื นไหว (Body Weight) การยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ เป็นตน้ ซ่งึ จะช่วยเพ่มิ ความแข็งแรงใหร้ ่างกายสามารถ ต่อสู้และรับมอื กบั โรคได้ดี 15

9 ท‹า ยดื เหยยี ด ยดื เหยียดกลาŒ มเนอื้ หวั ไหล‹ ยดื เหยยี ดกลŒามเน้อื กลาŒ มเน้อื คอดาŒ นขาŒ ง ดŒานหนาŒ และหนาŒ อก ตนŒ แขนดาŒ นหลงั และหวั ไหล‹ดาŒ นขาŒ ง ยดื เหยียดกลŒามเนือ้ ยืดเหยยี ดกลาŒ มเนื้อ ยดื เหยียดกลาŒ มเน้ือน‹อง ลำตวั ดŒานขŒาง ส‹วนหลงั บน ตŒนขาดŒานหลัง สะโพก และหลัง ยดื เหยียดกลŒามเนื้อ ยดื เหยยี ดกลาŒ มเน้ือ ยดื เหยียดกลาŒ มเน้อื นอ‹ ง สะโพกดาŒ นใน สะโพกดŒานหนาŒ 16 ทม่ี า: กองกจิ กรรมทางกายเพอ่ื สุขภาพ กรมอนามัย

ทา‹ โยคะพน้� ฐาน ฝกƒ สมาธเิ พ�มความยดื หยน‹ุ ของกลŒามเนื้อ ลดความตร�งเครย� ด ปรับบุคล�กภาพ เพม� กจิ กรรมทางกายดŒวยการเลน‹ โยคะ 1. ทา‹ ตŒนไมŒ (Tree Pose) 2. ท‹านกั รบ (High Lunge) สรŒางความแข็งแรงของกลŒามเนอื้ ตŒนขาน‹อง สรŒางความแข็งแรงของกลาŒ มเนอ้ื ขอŒ เทาŒ และกระดูกสนั หลงั ลดการปวดสะโพก ตนŒ ขานอ‹ ง ขอŒ เทŒา และหลัง และเทŒา เนนŒ การทรงตัว กระตุŒนอวยั วะภายในช‹องทŒอง ลดอาการปวดหลงั 3. ท‹าสุนขั กมŒ หนาŒ 4. ท‹าอ�ฐ (Camel) (Downward Facing Dog) ยืดกลาŒ มเนอ้ื หนŒาทŒอง ตŒนขาดŒานหนŒา ยดื เหยียดกลŒามเนอ้ื ตนŒ ขาดŒานหลงั เอน็ หลังและสะโพก กระตุนŒ อวัยวะ และน‹อง ช‹วยลดอาการปวดหลงั ปวดศรี ษะ ในช‹องทŒอง และคอ นอนไมห‹ ลบั 5. ทา‹ สะพาน (Bridge) 6. ท‹านกพ�ราบ (Pigeon) เพ�มความแขง็ แรงใหกŒ บั ทรวงอก และปอด ยดื กลŒามเนื้อบร�เวณสะโพก ลดอาการปวดหลัง 7. ทา‹ งู (Cobra) 8. ท‹าเด็ก (Child's Pose) เพ�มความแขง็ แรงของกลŒามเนื้อมอื หวั ไหล‹ ลดอาการปวดหลงั และคอ หลัง ยืดกลŒามเนือ้ หนาŒ ทอŒ ง ยดื กลŒามเนอ้ื หลงั และสะโพก ทม่ี า: กองกจิ กรรมทางกายเพือ่ สขุ ภาพ กรมอนามัย 17

BODY WEIGHT การใชนŒ าํ้ หนทักเำปนš็งต‹าัวยตไาŒ ดนทŒทาุกนกทา่ีรเคล�อ่ นไหว SQUART TOUCH CRUNCH ขามแี รง ทŒองบนแบนราบ ยนื ตรงเทŒากวาŒ ง นอนหงายชันเขา‹ งอเขา‹ ลดสะโพก วางเทาŒ กวาŒ งเทา‹ สะโพก มือ 2 ขาŒ งแตะศรี ษะ มือทัง้ 2 ขŒาง แตะขŒอเทŒา เกร็งหนาŒ ทŒอง ออกแรงทเี่ ทŒา ดนั สะโพกยืนตัวตรง มอื ทั้ง 2 ขŒางชขู �้นเหนือศรี ษะ LYLING LEG RAISE KICK CRUNCH ทอŒ งลา‹ งราบเร�ยบ นอนหงาย ขาเหยยี ดตรง หนŒาทอŒ งทำงาน แขนสองขาŒ งวางแนบลำตัว ยืนตรง เกร็งหนŒาทŒอง ยกขาท้งั 2 ขาŒ งขน้� จนสดุ ยกขาขŒางหนึ่งไปดŒานหนŒา ทำมุมตง้ั ฉากกับพ�้น พรอŒ มยน่ื มอื ฝ˜ง› ตรงขŒามแตะท่ีปลายเทาŒ เกรง็ หนาŒ ทŒอง แขม‹วพ�ง SUPER MAN SIDE LEG RAISE หลงั ลา‹ งแข็งแรง นอนควา่ํ ขาเหยยี ดตรง สะโพกทนทาน มือวางระดบั หนŒาอกขŒอศอกตัง้ ฉาก ยนื ตรง มอื เทŒาเอว ยกศีรษะ อก แขน ขา ลอยข้น� จากพน้� ยกขาออกดŒานขŒาง ขาตรง เขา‹ ไมง‹ อ ตวั ต้ังตรง เกร็งสะโพกดŒานขŒาง PUSH UP PLANK อกกระชับ แกนกลางมนั่ คง นอนคว่ํา นอนคว่ํา วางมอื ระดบั อก กวาŒ งกวา‹ หัวไหล‹ วางศอก หร�อฝ†ามอื ยันพน้� ตั้งฉาก 90 องศา ออกแรงดนั พ้�นยกตวั ข�้น หลังตรง เกรง็ หนาŒ ทŒอง ยกตวั ข�้น หลังตรง คŒางไวŒ เกร็งหนาŒ ทŒอง ไหล‹ หลัง และขา 18 ที่มา: กองกิจกรรมทางกายเพอื่ สขุ ภาพ กรมอนามยั

การออกกำลังกายดŒวย ๑๐ ท‹า คตี ะมวยไทย หมดั ตรง ศอกงัด ใชŒหมัดท่ีถนดั พ�ง‹ ไปยังเป‡าหมาย การตศี อกจากลา‹ งข�น้ บน โดยอาศยั แรงจากหัวไหล‹ และลำตัว ตรงเปนš มุมฉาก และท‹ายืนพ�น้ โดยนํ้าหนักตัวอย‹ูที่ ลักษณะคลาŒ ยเสยผม เทาŒ หนาŒ ใชแŒ รงส‹งจากเทŒาหลงั สะโพก และหัวไหล‹ เขา‹ ตรง หมัดตวดั การพง�‹ เข‹าตรงไปขŒางหนาŒ เขŒาสเู‹ ปา‡ หมายโดยการเกรง็ ใชŒสันหมัด กดตรงบรเ� วณ หนาŒ ทอŒ งและสะโพก เปา‡ หมายในลกั ษณะเหยยี ดแขน ออกไปพรอŒ มชกตวดั วงแคบ เตะตรง หมดั เสย การเตะเสยจากพน้� ข้น� ไปสว‹ นบน ในลักษณะตง้ั ฉากกบั พ้�น การใชŒหมดั ชกเขŒาหาเปา‡ หมาย โดยงอขŒอศอก เกรง็ ขอŒ ศอก เตะตัด หงายหมัด แลวŒ พ‹ง� หมดั ยกเขาŒ สู‹ เปา‡ หมาย เชน‹ ปลายคาง ดั้ง จมูก การเตะที่ใชŒเทŒาวาดข้น� ขนานกับพน้� สามารถเตะตดั ไดทŒ ั้งสว‹ นลา‹ งของ ศอกกระทุงŒ ลำตัว และสว‹ นบนของเป‡าหมาย การใชŒศอกพ‹ง� ออกไปดŒานหลงั ในลกั ษณะกระทุŒง ศอกตดั ถีบตรง การตศี อกไปดาŒ นหนาŒ สเ‹ู ปา‡ หมาย การถีบออกไปตรงๆ ใหŒผ‹าเทŒา โดยใหศŒ อกขนานกบั พน�้ ปะทะเปา‡ หมายในส‹วนตา‹ งๆ โดยอาจเหยยี ดเทŒาตรง หร�องอเทาŒ เขาŒ ถบี ก็ไดŒ ทมี่ า: กองกจิ กรรมทางกายเพ่ือสุขภาพ กรมอนามัย 19

ปาก คอื ประตูสูส่ ุขภาพ สุขภาพช่องปาก เป็นองค์ประกอบหนึ่งของสุขภาพ หากดูแลไม่ดีอาจเป็นจุดเร่ิมต้น ทก่ี ่อใหเ้ กิดปญั หาสขุ ภาพอ่นื ๆ การดแู ลสุขภาพชอ่ งปากท่ดี ที ่ีสดุ คือ การแปรงฟัน เพราะชว่ ย ลดการเกิดโรคในช่องปาก รักษาฟัน และเหงือกให้แข็งแรง ลดอาการแทรกซ้อนท่ีอาจเกิดจาก เช้ือในช่องปาก เช่น การติดเช้ือท่ีปอด ควรแปรงฟันโดยมีระยะห่างจากผู้อ่ืน 1.5 - 2 เมตร เพ่ือลดการแพรก่ ระจาย และควรใช้ไหมขัดฟันท�ำความสะอาดบรเิ วณซอกฟนั เน่อื งจากซอกฟัน เป็นบริเวณท่ีขนแปรงสีฟันไม่สามารถเข้าไปท�ำความสะอาดได้อย่างท่ัวถึง มักเกิดฟันผุ และเหงอื กอกั เสบได้ง่ายกว่าบรเิ วณอ่นื ๆ วิธีแปรงฟนั ทแี่ นะนำ� คือ การแปรงฟันแบบ 2-2-2 แปรงฟน� วันละ 2 ครงั้ ช‹วงเชŒาและกอ‹ นนอน เพอ�่ ลดเชื้อจ�ล�นทร�ย หร�อคราบ บนตวั ฟ�น แปรงฟน� ดวŒ ยยาส�ฟ�นผสมฟลอู อไรดน านอยา‹ งนŒอย 2 นาที ใหสŒ ะอาดท่วั ทั้งปาก ทุกซ่ี ทกุ ดาŒ น ไม‹กนิ ขนม หรอ� อาหารหวานหลงั แปรงฟ�ง 2 ช่วั โมง เพ�อ่ ใหชŒ ‹องปากสะอาดนานที่สดุ เท‹าที่จะทำไดŒ ที่มา: สำ� นกั ทันตสาธารณสขุ กรมอนามยั 20

ด่ืมน้�ำรักษาสมดลุ น�้ำเป็นสงิ่ ส�ำคัญต่อร่างกาย ผู้ป่วยควรดื่มน้�ำสะอาดและเพยี งพอต่อการน�ำไปใช้ ของร่างกาย เพอื่ รักษาความสมดุลของร่างกาย ช่วยเผาผลาญพลังงาน ไม่ก่อให้เกิดไขมัน ส่วนเกิน ป้องกันภาวะขาดน้�ำ ท�ำให้ร่างกายมีสุขภาพดี ควรดื่มน้�ำสะอาดอย่างน้อย 2 ลิตร หรือ 8 -10 แก้วตอ่ วัน ดืม่ นำ้ อย‹างเพย� งพอ เร�มต้ังแต‹ตนื่ นอน ตอนเชŒา ตอนสาย ด่ืมน้าํ 1 แกวŒ หรอ� 240 ซีซี ช‹วงเวลา 09.00-10.00 น. ตอนบา‹ ย ตอนค่ํา ช‹วงเวลา 13.00-14.00 น. ช‹วงเวลา 19.00-20.00 น. กอ‹ นเขาŒ นอน เพ่�อใหนŒ ้ำทีด่ ื่มไหลเวย� นชะลาŒ ง ส�งตกคŒางในลำไสŒ และกระเพาะอาหาร ถŒาเปนš น้ำอน‹� จะช‹วยใหŒหลับสบายดขี �้น ทีม่ า: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 21

เคลด็ ลบั หลบั สบาย กาซรอ‹ดม่ืมแนซ้ำมแสล‹วกะนกาตรานร‹าสกองมๆินนออหขงาลอแหับงลราเะปรรา‹ งทšนะบกีด่คบาวมี ยปาปี รมแระลจะสโำะยาสเทปชำนนšคกพญัาคร้น�วกเฐารับมา�ยกนสนาทำรรคสีู่Œ เคจญัำวรคาขญ� ัญมอเจงเตชกำิบน‹ าแโเรตดลนแะียอกลวนาะกพรเบั ทพฒั กำ่อ� างนใราหาหนกŒราา‹ายงรใกขจาอยงรไดา‹ พŒงกกั าผยอ‹ น ของระบบภมู คิ Œุมกนั ท่ีชว‹ ยตŒานทานโรค ซ่ึงวัยทำงานควรนอนหลับวนั ละ 7-9 ชั่วโมง หลก� เลย่� งการด่มื ชา กาแฟ หลงั เทย่ี ง ออกกำลงั กายเปนš ประจำวนั ละ 30 นาที กอ‹ นนอน อย‹างนอŒ ย 3 ชัว่ โมง ไม‹ควรงบ� หลบั ตอนเยน็ ใชผŒ าŒ ปด ตาช‹วยบงั แสง และส�งรบกวน หลก� เล�ย่ งการเลน‹ มอื ถือก‹อนนอน อ‹านหนงั สอ� นั่งสมาธิ ฟ�งเพลงสบายๆ เบาๆ ทมี่ า: กองกจิ กรรมทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 22

จติ ดี สขุ ภาพดี เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ทางใจ ในช่วงท่ีโรคโควดิ 19 ก�ำลังแพร่ระบาดในขณะน้ี หลีกเล่ียงไม่ได้เลยที่หลาย ๆ คนจะต้อง เผชิญกบั ความเครียด เพราะตอ้ งมีการปรบั ตวั ครง้ั ใหญ่ ไม่วา่ จะเปน็ ผู้ป่วย หรอื คนทว่ั ไปก็ตาม ส่งผลกระทบท�ำให้เรามีสภาวะทางใจที่แย่ลง ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่�ำ เกิดโรคที่ตามมา จากความเครยี ด เกิดพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ ดังนั้น วิธีคิดและวธิ ีผ่อนคลายเพอื่ ไม่ให้ตัวเอง เครยี ดมากเกินไปจึงส�ำคญั มาก วิธีสรา้ งพลงั ใจควรคิดในแง่บวก สร้างความเช่ือมน่ั ว่าเราตอ้ งหายป่วย สิง่ ส�ำคัญตดิ ตาม ขา่ วสารโรคโควดิ 19 แตพ่ อดี รวมทง้ั ผอ่ นคลายความเครียดดว้ ยการอา่ นหนงั สอื ทำ� งานอดเิ รก ที่ตนเองท�ำประจ�ำน�ำไปท�ำในช่วงท่ีกักตัว ออกก�ำลังกาย ดูหนัง ฟังเพลง ฝึกสมาธิ ซึ่งจะช่วย ใหเ้ ราลดความกังวล สรา้ งพลงั ใจใหก้ บั ตนเอง ทมี่ า: กรมควบคุมมลพษิ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี 23

นวทางการปฏบิ ัติ เม่ือแยกกกั ตวั ผปูŒ †วยโรคโควด� 19 ดแู ลกนั และกัน เพ่อ� ตวั เองและสว‹ นรวม สวมหนาŒ กากอนามยั เวนŒ ระยะหา‹ งจากผูŒอนื่ ไม‹ใชสŒ ง� ของร‹วมกนั หมน่ั ลาŒ งมือดวŒ ยน้าํ และสบู‹ ไม‹นŒอยกวา‹ 1.5 - 2 เมตร ดูแลรักษาความสะอาด ไมจ‹ ับกล‹ุมทำกจิ กรรมรว‹ มกัน ไมร‹ บั ประทานอาหารรว‹ มกนั ทม่ี า: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 24

ใส‹หนาŒ กากอนามยั ใตหŒอŒปงลแนอบดหภนŒายั ลŒางมอื ใหสŒ ะอาด ดงึ สายรดั ท้งั สองขŒาง ดŒวยสบู‹และนา้ํ คลŒองหู กดแถบลวด ดึงหนาŒ กากใหŒคลุม ใหŒแนบสนั จมูก จมกู และใตคŒ าง เมอ่ื สวมหนŒากากแลŒว ใหหŒ ล�กเล�่ยงการสมั ผัสหนาŒ กาก และเมอ่ื ถอดหนŒากากหร�อสัมผัสหนŒากาก ใหŒใชŒสเปรยแ อลกอฮอลลาŒ งมอื ทกุ ครง้ั ทม่ี า: กองส่งเสริมความรอบรแู้ ละสื่อสารสขุ ภาพ 25

ท�งิ อยา‹ งไรใหถŒ กู วธ� ี “หนาŒ กากอนามัยใชŒแลวŒ ” หŒามใชŒซา้ํ นับเปนš ขยะติดเชื้อชนดิ หน่ึง สามารถแพรเ‹ ช้ือโรคแกผ‹ Œทู ส่ี ัมผสั ไดŒ 12 3 ลาŒ งมือใหŒสะอาด จบั สายรัด ทำตำหนกิ ‹อนทง�ิ ดึงหนาŒ กากออกทางดŒานหนŒา 4 6 5 จับขอบ พับคร่�ง พับครง�่ อกี 2 ทบ ทง�ิ ลงถุง 2 ช้ัน ใหดŒ าŒ นทสี่ ัมผสั หนาŒ อย‹ูดŒานใน แลŒวมัดใหŒแนน‹ ราดดวŒ ยน้ํายาฆ‹าเชอื้ แลŒวมดั ปากถงุ ใหŒแนน‹ 7 8 ขยะติดเชอื้ ท�ิงลงในขยะตดิ เช้ือ ลาŒ งมอื ใหŒสะอาด ทีม่ า: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 26

7 ขน้ั ตอน ลาŒ งมอื ใหสŒ ะอาดปอ‡ งกนั โรค ลาŒ งมอื เปนš ประจำอย‹างถกู ว�ธดี Œวยน้ำและสบู‹ อยา‹ งนŒอย 20-30 ว�นาที หร�อลŒางมอื ดวŒ ยแอลกอฮอลเจล โดยเฉพาะก‹อนและหลังกนิ อาหาร หลังเขาŒ หŒองน้ำหอŒ งสŒวม หลังการหยบิ จบั ของทม่ี กี ารสัมผัสรว‹ ม 27

การจดั การขยะตดิ เชื้อ ขยะตดิ ทป่ี นเป„œอนนำ้ มกู นำ้ ลาย หรอ� สารคัดหลง่ั เช‹น หนŒากากอนามยั กระดาษทชิ ชู เปšนตนŒ ถอื เปนš ขยะที่มคี วามเส�ย่ งสูงตอ‹ การแพรเ‹ ช้อื ไดŒ จง� ตŒองจดั การเปนš ขยะตดิ เชื้อ 12 รวบรวมขยะมดั ปากถุงใหแŒ นน‹ ฉดี พน‹ ดวŒ ยแอลกอฮอล บร�เวณปากถงุ 3 4 นำไปไวยŒ ังจ�ดพักขยะท่ีจัดไวŒ ลŒางมือดŒวยนำ้ และสบ‹ู หร�อแอลกอฮอลเ จลทกุ ครง้ั 28

การดแู ลความสะอาดเสอื้ ผา้ หากศนู ยแ์ ยกกกั ตวั ในชมุ ชนสามารถซกั เสอื้ ผา้ ได้ ใหซ้ กั ดว้ ย สบู่หรือผงซักฟอกหรือน้�ำยาซักผ้า หากมีเครอ่ื งซักผ้าให้ซักด้วยผงซักฟอกหรอื น้�ำยาซักผ้า ในนำ้� อุณหภมู ิ 60 - 90 องศาเซลเซียส อยา่ งน้อย 25 นาที และผง่ึ แดดให้แห้ง ดูแลความสะอาดบริเวณเตียงนอนให้สะอาดอยู่เสมอ ร่วมกันดูแลความสะอาดห้องน�้ำ หอ้ งสว้ ม หลังการใชท้ ุกคร้ัง และส่งิ ของหรือจุดที่มีการสัมผัสรว่ ม เชน่ อปุ กรณท์ �ำความสะอาด ลูกบิดประตู สวิตช์ไฟ เกา้ อ้ี เปน็ ต้น 29

ตวั อยา่ งตารางกจิ กรรมระหว่างวัน เมือ่ แยกกักตวั ในศนู ยพ์ ักคอย เวลา กิจกรรม 06.00 - 07.00 น. ตนื่ นอน ทำ�กิจวตั รประจำ�วนั ทำ�ความสะอาดท่พี ัก 07.00 - 08.00 น. วดั ไข้ และวัดออกซิเจนปลายนิ้ว 08.00 - 09.00 น. รบั ประทานอาหารเช้า 10.00 - 11.00 น. บรหิ ารปอด/ ยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือ/ โยคะ 11.00 - 12.00 น. พกั ผอ่ นตามอัธยาศยั / ทำ�งานอดิเรก/ ฝกึ อาชีพ 12.00 - 13.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั 13.00 - 14.00 น. ทำ�กจิ กรรมเพื่อผ่อนคลาย เชน่ ดหู นัง ฟังเพลง อ่านหนังสือ เปน็ ตน้ 14.00 - 15.00 น. พักผ่อนตามอธั ยาศัย/ ทำ�งานอดเิ รก/ ฝกึ อาชพี 15.00 - 16.00 น. บรหิ ารปอด/ ยดื เหยยี ดกล้ามเนอื้ / โยคะ การยดื เหยียดกลา้ มเนอ้ื / คีตะมวยไทย/ Body weight 17.00 - 18.00 น. รบั ประทานอาหารเยน็ 18.00 - 19.00 น. วัดไข้ และวดั ออกซเิ จนปลายน้ิว 19.00 - 20.00 น. ทำ�กิจวตั รประจำ�วนั 20.00 - 21.00 น. ฝกึ สมาธิ/ สวดมนต์ไหวพ้ ระ/ อา่ นหนังสอื 21.00 น. เปน็ ต้นไป เข้านอน หมายเหตุ 1. เว้นระยะห่างในการทำ�กิจกรรม และทำ�ความสะอาดอุปกรณห์ ลงั การใชท้ กุ คร้ัง 2. กิจกรรมอาจจะเปล่ยี นแปลงเวลาได้ ให้ปฏบิ ตั ิตามเวลาทีศ่ นู ยแ์ ยกกกั ตวั หรอื ศนู ยพ์ ักคอยกำ�หนด 30

นวทางการปฏบิ ัติ เม่ือแยกกักตัวผŒปู ว† ยโรคโควด� 19 หายป†วยยงั คงตŒองป‡องกนั ออกจากบาŒ นเมื่อจำเปšน เวŒนระยะห‹าง 1.5 - 2 เมตร สวมหนŒากากอนามยั ตลอดเวลา ลŒางมอื บอ‹ ยๆ ดวŒ ยสบ‹ู อย‹าใชŒมอื สมั ผัสหนาŒ กาก ผเŒู ปšนกล‹ุมเส�่ยง หร�อเจลแอลกอฮอล 70 % รวมทั้งใบหนาŒ ตา จมกู หลก� เล่�ยงการออกนอกบŒาน ทำความสะอาดและฆา‹ เชอื้ แยกของใชสŒ ว‹ นตวั ทุกชนิด กนิ อาหารปรุงสกุ ใหม‹ พน�้ ผวิ ทถ่ี ูกสัมผัสบอ‹ ยๆ ไมใ‹ ชŒรว‹ มกับผอŒู ื่น แยกสำรับ ใชŒชอŒ นกลางสว‹ นตัว COVID-19 Ag C T หากสงสัยวา‹ ตนเองเสย่� ง ตรวจดŒวย ATK เพอ�่ ยนื ยันวา‹ ตดิ เชื้อหรอ� ไม‹ ทม่ี า: ศูนย์ขอ้ มลู COVID - 19 กรมประชาสัมพนั ธ์ 31

ทม่ี า: ศูนยส์ อ่ื สารสาธารณะ กรมอนามยั 32

2) สำหรับคนในครอบครวั “สวมหนาŒ กาก เวนŒ ระยะห‹าง ลาŒ งมือ” ทำความสะอาดเครอ�่ งนอน เส้ือผาŒ ของทกุ คนอยเ‹ู สมอ งดกนิ อาหารร‹วมกนั ไมค‹ วรพด� คุยขณะกนิ ขาŒ ว ลาŒ งมือกอ‹ น - หลงั เขŒาหŒองนาํ้ และทำความสะอาดหลงั ใชŒทุกครงั้ เหน็ อกเหน็ ใจ ใหŒกำลังใจซึง่ กันและกัน หากจะมีความสัมพันธล ึกซ้งึ เช‹น การมีเพศสมั พนั ธ จบ� ควรรอใหหŒ ายปว† ยก‹อน(อยา‹ งนŒอย 30 วัน) และผูทŒ ห่ี ายปว† ย ตอŒ งไมม‹ อี าการเปšนไขŒ ไอ ท่มี า: ศนู ย์สือ่ สารสาธารณะ กรมอนามัย 33

3) สำหรับคนในชุมชน แนวทางการปฏบิ ตั ิตัวเม่อื หายจากโคว�ด นติ ิบุคคล ผนŒู ำชมุ ชน อสม. แจŒงทกุ คนทราบว‹า มคี นหายปว† ยและตดิ ตามช‹วยเหลอ� ยึดหลัก “สวมหนŒากาก เวŒนระยะหา‹ ง ลาŒ งมือ” เขŒาใจ ใหกŒ ำลงั ใจ ไมร‹ ังเกียจผŒหู ายป†วย ท่มี า: ศนู ย์ส่อื สารสาธารณะ กรมอนามยั 34

4) สำหรบั สถานท่ีทำงาน ผŒูหายปว† ย แจงŒ หน‹วยงานเพ�่อขอทำงานทบี่ Œาน (Work From Home) หลังจากหายป†วย ในกรณี ท่ีไมส‹ ามารถทำงานท่บี ŒานไดŒ ใหเŒ นนŒ มาตรการปอ‡ งกนั ตนเอง โดยมคี ำแนะนำดังนี้ ยึดหลกั “สวมหนาŒ กาก เวŒนระยะห‹าง ลาŒ งมือ” ค‹อยๆ ปรับสภาพรา‹ งกายทำงาน ไมเ‹ ร‹งร�บทำงานหนัก วางแผนจัดตารางงานและแบง‹ ภาระงานใหเŒ หมาะสม ลดหรอ� หล�กเล่ย� งการทำกจิ กรรมหลายอยา‹ งพรอŒ มกนั ในคร้ังเดยี วหรอ� ทำใหŒรŒสู ก� เหนอ่ื ยมากกว‹าปกติ หาเวลาพักระหวา‹ งวันเพ่�อใหรŒ า‹ งกายค‹อยๆ ฟ�นฟ� หากรŒูส�กเคร�ยดและลŒาใหหŒ ยุดพกั ไม‹ฝน„ รา‹ งกาย สถานทีท่ ำงาน ทำความเขŒาใจ เหน็ อกเห็นใจ และไม‹รงั เกยี จผทูŒ หี่ ายปว† ย หัวหนŒา‹ งานพ�จารณามอบหมายงาน ท่ีไม‹หนักเกินไปในชว‹ งแรก จดั ตารางงานโดยใหมŒ กี ารกระจาย และแบ‹งภาระงานใหเŒ หมาะสม ท่ีมา: ศูนยส์ อ่ื สารสาธารณะ กรมอนามยั 35

ภาคผนวก

7เมนูอาหาร สรŒางภมู ิคุมŒ กัน ตŒานโควด� 19 1. ไขย‹ ดั ไสŒ 2. ตŒมเลอ� ดหมู 3. ตŒมยำปลาทู 4. ตมŒ จ�ดตำลง� เตาŒ หูŒไข‹ 5. ปลาน่งึ ข�ง 6. ขาŒ วผดั หอยลาย 7. ปลาผัดเปร�้ยวหวาน ทม่ี า: ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามยั 37

ตัวอยา่ งเมนูอาหารสำ�หรบั ผู้ปว่ ยโควิด 19 มอ้ื เชา้ มื้อกลางวัน ม้อื เยน็ ขา้ วตม้ หมทู รงเคร่อื ง ผลไม้ เซยี่ งไฮผ้ ดั ข้ีเมา เต้าทงึ แปะก๊วย ข้าวสวย ผดั ผกั หมนู �ำ้ มนั หอย ต้มยำ� ปลา ผลไม้ นมถ่วั เหลือง ข้าวตา้ ปลา ผลไม้ ข้าวผดั หอยลาย ผลไม้ ข้าวสวย แกงสม้ ผกั รวม ไขย่ ัดไส้ ผลไม้ นมถว่ั เหลอื ง ข้ามตม้ ปลา ฟักทองธัญพชื กว๋ ยเต๋ยี วไก่ฉีกใสโ่ หระพา ผลไม้ ข้าวสวย แกงจืดผักรวม น�ำ้ พรกิ ผลไม้ นมถ่วั เหลือง ข้าวสวย ปลาผัดเปรยี้ วหวาน ผัดบะหมป่ี ลากระปอ๋ ง ผลไม้ ขา้ วสวย ยำ� ใบบวั บก แกงจดื เลอื ดหมู ผัดบวบใสห่ มู ผลไม้ ผลไม้ นมถว่ั เหลือง ขา้ วสวย หมผู ัดขงิ ผัดมกั กะโรนีไก่ เต้าฮวย 5 สี ขา้ วสวย แกงเลยี ง ผดั กะเพรา แกงส้มผักรวม ผลไม้ ผลไม้ ขา้ วสวย แกงเหด็ ใสไ่ ขต่ ุ๋นผักสามสี ผัดบะหมีท่ ูน่า ผลไม้ ขา้ วไก่อบแครอท แกงจืดมะระ ผลไม้ สอดไส้ ผลไม้ นมถ่วั เหลอื ง ขา้ วสวยผัดฟกั ทองใสไ่ ข่ ข้าวผัดกระเทยี มกะเพราไก่ ข้าวสวย แกงเผ็ดฟกั ทองหมู ตม้ ยำ� ปลา ผลไม้ ผลไม้ นมถ่วั เหลือง ปลาน่ึงขิง ผลไม้ ข้าวสวย ปลานงึ่ มะนาว ขา้ วสวย ผัดฟักทองใส่ไข่ ขา้ วสวย ตม้ จืดตำ� ลงึ เตา้ หู้ไข่ ผดั ตม้ ยำ� ปลา ผลไม้ ผัดบวบใส่ไข่ ผลไม้ นมถั่วเหลอื ง ผกั บุ้งไฟแดง ผลไม้ ข้าวสวย เกาเหลาเลอื ดหมู ขา้ วผดั ปลากระปอ๋ ง ผลไม้ ข้าวผัดรวมมติ ร ต้มย�ำปลาทู ยำ� มะเขือยาว ผลไม้ กว๋ ยเตยี๋ ว ผดั เต้าหู้ ผลไม้ ผลไม้ นมถว่ั เหลอื ง ข้าวสวย แกงป่าปลา บะหมน่ี ำ้� ใส ผลไม้ ข้าวสวย แกงจืดแตงกวาไก่สบั แกงจดื ผกั กาดขาว เตา้ หหู้ มสู บั ผลไม้ ขา้ วสวย ยำ� ปลาทู แกงจืดเตา้ หู้ ยำ� มะระจนี ผลไม้ นมถัว่ เหลือง ข้าวสวย ซปุ ไก่ใสม่ ะเขือเทศ ไขย่ ัดไส้ ข้าวตม้ ทรงเคร่ือง ธัญพืช ผลไม้ สอดไส้ ผลไม้ ข้าวสวย ปลานง่ึ ซีอ๊ิว ผลไม้ นมถัว่ เหลอื ง ข้าวสวยแกงเหลอื งมะละกอ ไข่ตุ๋น แกงจดื ฟักเขยี วหมสู บั ผลไม้ ผกั สามสี ผลไม้นมถั่วเหลือง ขา้ วกลอ้ งราดกะเพราสมุนไพร ผดั ก๋วยเตี๋ยว ข้าวสวย เกาเหลาหมู แกงจดื มะระสอดไส้ ผลไม้ เซีย่ งไฮ้ ผลไม้ ผดั ฟักทองใส่ไข่ ผลไม้ นมถ่ัวเหลือง ขา้ วสวย ปลาทอดขม้ิน ราดหน้าไก่ ผกั สามสี ข้าวสวย ตม้ ยำ� ปลา ผดั ผักบงุ้ แกงจืดแตงกวาสับ ผลไม้ ผลไม้ ผลไม้ นมถ่ัวเหลอื ง 38 ท่ีมา: ส�ำนกั โภชนาการ กรมอนามยั

แบบประเมิณความเครียด ความเครยี ดเกดิ ขน้ึ ไดก้ บั ทกุ คน สาเหตทุ ที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความเครยี ดมหี ลายอยา่ ง เชน่ รายไดท้ ไี่ มเ่ พยี งพอ หนส้ี นิ ภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ความสญู เสยี ความเจบ็ ปว่ ย เปน็ ตน้ ความเครยี ดมที ง้ั ประโยชนแ์ ละโทษ หากมากเกนิ ไปจะเกดิ ผลเสยี ตอ่ รา่ งกายและจติ ใจของทา่ นไดข้ อใหท้ า่ นลองประเมนิ ตนเองโดยใหค้ ะแนน 0 - 3 ท่ี ตรงกบั ความรสู้ กึ ของทา่ น การแปลผล คะแนน 0 หมายถึง แทบไมม่ ี คะแนน 0 - 4 เครียดนอ้ ย คะแนน 1 หมายถงึ เป็นบางครงั้ คะแนน 5 - 7 เครียดปานกลาง คะแนน 2 หมายถงึ เป็นบ่อยคร้ัง คะแนน 8 - 9 เครียดมาก คะแนน 3 หมายถึง เปน็ ประจ�ำ คะแนน 10 - 15 เครยี ดมากที่สุด ข้อที่ อาการหรอื ความร้สู ึกท่ีเกิดในระยะ 2-4 สัปดาห์ คะแนน 0 1 23 1 มปี ญั หาการนอน นอนไมห่ ลบั หรอื นอนมาก 2 มสี มาธนิ อ้ ยลง 3 หงดุ หงดิ /กระวนกระวาย/วา้ วนุ่ ใจ แบบประเมนิ ความเครยี ดออนไลน์ 4 รสู้ กึ เบอื่ เซง็ 5 ไมอ่ ยากพบปะผคู้ น คำ� แนะนำ� 1. เครยี ดนอ้ ย เปน็ ความเครยี ดในชวี ติ ประจำ� วนั ซงึ่ แตล่ ะคนสามารถปรบั ตวั เองไดเ้ องไมเ่ กดิ ปญั หาสขุ ภาพ ของตนเอง และทนยงั สามารถชว่ ยดแู ลบคุ คลอนื่ ๆ ในครอบครวั และชมุ ชนไดด้ ว้ ย 2. เครยี ดปานกลาง ในภาวะวกิ ฤตหรอื ภยั พบิ ตั บิ คุ คลตอ้ งเตรยี มพรอ้ มในการจดั การปญั หาตา่ งๆ จนทำ� ให้ เกดิ ความเครยี ดเพมิ่ ขนึ้ ในระดบั ปานกลาง ซง่ึ ยงั ถอื วา่ ปกตเิ พราะทำ� ใหเ้ กดิ ความกระตอื รอื รน้ ในการเผชญิ ปญั หา 3. เครยี ดมาก ในภาวะวกิ ฤตหรอื ภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ อาจทำ� ใหเ้ กดิ การตอบสนองทร่ี นุ แรงขนึ้ ชว้ั คราว ซง่ึ มกั จะ ลดมาเปน็ ปกตหิ ลงั เหตกุ ารณ์ อยา่ งไรกต็ ามทา่ นควรมกี ารจดั การกบั ความเครยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี - การฝกึ การหายใจคลายเครยี ด - การพดู คยุ กบั คนใกลช้ ดิ การสวดมนตไ์ หวพ้ ระ การชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ทปี่ ระสบปญั หาจะชว่ ยใหค้ วามเครยี ดลดลง - การมคี วามหวงั วา่ เราจะฝา่ ฟนั อปุ สรรคหรอื ปญั หาครง้ั นไี้ ปไดแ้ ละมองเหน็ บวก เชน่ อยา่ งนอ้ ยกย็ งั รกั ษา ชวี ติ ไวไ้ ด้ มคี นเหน็ ใจและมกี ารชว่ ยเหลอื จากฝา่ ยตา่ งๆ - มองขา้ มความขดั แยง้ เกา่ ๆ ในอดตี และรวมตวั กนั ชว่ ยใหช้ มุ ชนผา่ นวกิ ฤตไปได้ - ภายใน 2 สัปดาห์ ท่านควรไปพบบุคลากรสุขภาพจิตเพื่อประเมินซ�้ำว่าความเครียดลดลงหรือไม่ เพราะความเครยี ดทมี่ ากและตอ่ เนอื่ งอาจนำ� ไปสโู่ รควติ กกงั วล ภาวะซมึ เศรา้ และเสยี่ งตอ่ การฆา่ ตวั ตายได้ ซง่ึ จะตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาจากบคุ ลากรสขุ ภาพจติ หรอื แพทย์ 4. เครียดมากท่ีสุด เป็นเครียดที่รุนแรงซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะร่างกาย ท�ำให้อ่อนแอ เจ็บป่วยง่าย และตอ่ ภาวะจติ ใจ จนอาจทำ� ใหเ้ กดิ โรควติ กกงั วล ภาวะซมึ เศรา้ และเสยี่ งตอ่ การฆา่ ตวั ตายจะตอ้ งไดร้ บั การรกั ษา จากบคุ ลากรสขุ ภาพจติ หรอื แพทยท์ นั ที และไดร้ บั การดแู ลตอ่ เนอ่ื งไปอกี 3 - 6 เดอื น หากท่านมปี ัญหาต้องการคำ�ปรึกษาสามารถโทรสายดว่ น 1323 (ฟรีตลอด 24 ชม.) ทมี่ า: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข 39

ว�ธีการตรวจโคว�ด 19 ดŒวยตนเอง ดวŒ ยชดุ ทดสอบแอนตเิ จน Antigen Test Kit ATK 1. เตรย� มการทดสอบ Antigent Test Kit Exp : XXX XX XX 1.1 1.2 1.3 ลŒางมอื เชด็ และโตะใหŒสะอาด อ‹านคำแนะนำการใชŒงาน ตรวจสอบวันหมดอายุ ในคมู‹ ือที่มากบั ชดุ ทดสอบ 2.4 การอา‹ นผล 2. ทำการทดสอบตามคู‹มือท่ีกำหนด ใชŒไมŒ swop โพรงจมูก ผลบวก (พบเช้ือ) ทั้ง 2 ขŒาง หมุนขŒางละ 5 รอบ ข�ดขน้� ตวั C กบั T 2.1 ผลลบ (ไม‹พบเชื้อ) ข�ดข�้นตัว C จม‹� ไมŒ swop ลงในหลอด ท่ีมีน้าํ ยาสกดั หมุนและกด อยา‹ งนอŒ ย 5 รอบ เอาไมอŒ อก ปดฝาจก� ขด� ขน�้ ตวั T หรอ� ไม‹ข�น้ ขด� ท่ีตำแหน‹งใดๆเลย อา‹ นผลไม‹ไดŒตอŒ งใชชŒ ดุ ทดสอบชน�ิ ใหม‹ 2.2 หยดนํ้ายาทส่ี กัดแลวŒ นำชดุ ทดสอบและอ�ปกรณ ลงในตลับทดสอบ ทใี่ ชแŒ ลŒว แช‹นํา้ ยาฆา‹ เชือ้ หรอ� รอเวลาอย‹างนอŒ ย 15 นาทีขน้� ไป นา้ํ ยาแอลกอฮอล และแยกใสถ‹ ุง 2.3 2.5 ปดใหมŒ ดิ ชดิ และทิ�งใหŒเหมาะสม 40 ทีม่ า: กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ

เตร�ยมตวั เตรย� มใจ และตŒองเตร�ยมอะไรอีกบŒาง คำแนะนำของผูปŒ †วยโคว�ด 19 เม่อื เขŒาแยกกักตวั เส�อ้ ผาŒ ของใชŒสว‹ นตัว 14ทส่ี วมใส‹สบายๆ อยา‹ งนอŒ ย ชุด เช‹น สบู‹ ยาสระผม แปรงสฟ� น� ยาส�ฟ�น ผงซกั ฟอง ผาŒ อนามยั ผŒาเช็ดตัว เปšนตนŒ ยารักษาโรคประจำตวั อ�ปกรณป‡องกันการแพร‹เชอื้ เชน‹ ยาโรคเบาหวาน ยาโรคความดนั โลหิตสงู หนŒากากอนามยั เจลลŒางมอื ยาโรคหอบหดื ยาโรคหัวใจ หร�อหากมปี ระวตั ิ ทชิ ชูเปย‚ ก ทชิ ชแู หงŒ การรกั ษาโรคใหŒนำตดิ ตัวไปดวŒ ย โทรศพั ท ปล๊ักไฟ บตั รประจำตวั ประชาชน อ�ปกรณชารจ ไฟ เพ�อ่ ไวŒตดิ ตอ‹ สอ่� สาร เพอ�่ ใชŒสำหรับยนื ยันตวั ตน กับเจŒาหนาŒ ที่ และบคุ คลภายนอก 41

แบบประเมนิ เบอื้ งตน้ สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยในการดแู ลสขุ ภาพเมอื่ แยกกกั ตวั ข้อมลู ทวั่ ไปของผปู้ ่วย เพศ : ................... อายุ .......... การศึกษา ............................. อาชพี : ...................... โรคประจำ�ตัว (ถา้ มี) ................................................... รายได ้ : ............................ เขา้ พกั วันที่ : ................................... ศนู ย์พักคอย : ................................................... หวั ขอ้ มี ไมม่ ี 1. การเตรียมอปุ กรณ์ ยา เวชภณั ฑ์ 1.1 ทา่ นมีการเตรียมยารักษาโรคประจำ�ตวั 1.2 มยี าทจี่ ำ� เปน็ เชน่ ยาลดไข้ (พาราเซตามอล) ยาแกไ้ อ ยาลดนำ�้ มกู เกลอื แร่ ฟา้ ทะลายโจร 1.3 ทา่ นมหี น้ากากอนามัย แอลกอฮอล์ 70% ทเ่ี พียงพอสำ�หรบั การเขา้ พกั 1.4 ทา่ นมขี องใชส้ ว่ นตวั เชน่ หนา้ กากอนามยั สบู่ แปรงสฟี นั ยาสฟี นั ทชิ ชู่ แกว้ นำ้� เสอื้ ผา้ เปน็ ตน้ 2. การประเมนิ อาการของผปู้ ว่ ย และการใชย้ า 2.1 ทา่ นมกี ารตรวจวัดอุณหภมู ิทกุ วนั (อณุ หภมู ปิ กติ ไมเ่ กิน 37.5 องศาเซลเซียส) 2.2 ผปู้ ว่ ยมกี ารตรวจปรมิ าณออกซเิ จนในเลอื ดทกุ วนั (คา่ ปกติ ไมต่ ำ่� กวา่ รอ้ ยละ 96) 2.3 ทา่ นสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั เจา้ หนา้ ทเ่ี พอื่ ตดิ ตอ่ สอบถามอาการไดส้ ะดวก 2.4 ทา่ นมอี าการปวดศรี ษะ ไอ เจบ็ คอ หอบ เหนอื่ ย ออ่ นเพลยี จมกู ไมไ่ ดก้ ลนิ่ ลนิ้ ไมไ่ ด้ รบั รส ทอ้ งเสยี เปน็ ตน้ 2.5 ทา่ นรับประทานยาเพือ่ การรกั ษาอาการตามท่ีแพทย์สง่ั อย่างถูกต้องและครบ ตามปริมาณทกี่ ำ� หนด เช่น ฟา้ ทะลายโจร ยาฟาวิพริ าเวียร์ เปน็ ตน้ 3. การสง่ เสริมสขุ ภาพตามหลกั 3อ 2ส 1ฟ 1น • อาหาร 3.1 ทา่ นรบั ประทานครบ 5 หมู่ ทงั้ 3 มอ้ื 3.2 ท่านรบั ประทานผกั ผลไม้ ทุกม้อื และหลีกเลี่ยง อาหารหวาน มนั เค็ม 3.3 อาหารทรี่ บั ประทานเป็นอาหารทปี่ รงุ สกุ สะอาด และใหมอ่ ย่เู สมอ 3.4 ทา่ นด่มื น้ำ� เปล่าใหเ้ พยี งพอวันละ 8 แก้ว หรือ 2 ลติ ร 3.5 ทา่ นได้ดืม่ นำ้� สมุนไพรเพอ่ื สุขภาพ เชน่ น้ำ� ขิง น้ำ� กระชาย เป็นต้น 3.6 ท่านแยกรับประทานอาหาร และปฏบิ ตั ิตามมาตรการเวน้ ระยะหา่ ง 42

หวั ขอ้ มี ไมม่ ี • ออกกำ� ลงั กาย 3.7 ทา่ นมกี ารออกกำ� ลงั กายเพมิ่ สมรรถภาพของระบบหายใจและการไหลเวยี นเลอื ดใหร้ สู้ กึ เหนอ่ื ยเลก็ นอ้ ย พดู คยุ เปน็ ประโยคไดข้ ณะออกกำ� ลงั กาย อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 10-30 นาที 5 วนั ตอ่ สปั ดาห์ โดยคำ� นงึ ถงึ การเวน้ ระยะ เชน่ การเดนิ ยำ�่ เทา้ อยกู่ บั ที่ ยกเขา่ สงู แกวง่ แขน ฝกึ หายใจขยายปอด ยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ เปน็ ตน้ • อารมณ์ 3.8 ทา่ นมกี ารประเมนิ ความเครยี ด และมผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดบั เครยี ดปกติ 3.9 ทา่ นมกี ารผอ่ นคลายความเครยี ด หรอื ความวติ กกงั วล ดว้ ยการทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ กจิ กรรมสวดมนต์ นง่ั สมาธิ เปดิ เพลง เปดิ หนงั เปน็ ตน้ • สบู บหุ รี่ 3.10 ทา่ นสบู บหุ รใ่ี นระหวา่ งเขา้ พกั รกั ษาตวั หรอื ไม่ • ดม่ื สรุ า หรอื เครือ่ งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอล์ 3.11 ทา่ นดม่ื สรุ า หรอื เครอื่ งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอลใ์ นระหวา่ งเขา้ พกั รกั ษาตวั หรอื ไม่ • การดแู ลลขุ ภาพฟนั 3.12 ทา่ นมแี ปรงสฟี นั ยาสฟี นั สว่ นตวั ไมใ่ ชร้ ว่ มกบั ผอู้ น่ื 3.13 ทา่ นแปรงฟนั ดว้ ยสตู ร 2-2-2 (แปรงฟนั อยา่ งนอ้ ย 2 ครงั้ คอื เชา้ และกอ่ นนอนนาน ครง้ั ละ 2 นาที และไมร่ บั ประทานอาหาร หรอื เครอื่ งดม่ื หลงั แปรงฟนั 2 ชวั่ โมง) • การนอนหลบั พกั ผอ่ น 4.14 ทา่ นมกี ารนอนหลบั พกั ผอ่ นทเี่ พยี งพอ ประมาณ 7 – 9 ชว่ั โมงตอ่ วนั 4. การปอ้ งกนั ตนเอง 4.1 ทา่ นมกี ารเวน้ ระยะหา่ งจากผอู้ น่ื 1.5 – 2 เมตร 4.2 ทา่ นมกี ารสวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา 4.3 ทา่ นมกี ารลา้ งมอื ดว้ ยนำ้� และสบอู่ ยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที หรอื ทำ� ความสะอาดมอื ดว้ ย แอลกอฮอลเ์ จล 70 % บอ่ ย ๆ 4.4 ทา่ นมคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั อาการ และแนวทางการรกั ษาโรคโควดิ 19 5. การรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสาร 5.1 ทา่ นมกี ารรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารจากแหลง่ ขอ้ มลู ทน่ี า่ เชอื่ ถอื 5.2 ทา่ นมเี บอรโ์ ทรตดิ ตอ่ สอบถามขอ้ มลู ดา้ นโควดิ 19 เชน่ 1422 1330 เปน็ ตน้ 43

แหลง‹ ความรปŒู ‡องกันโควด� 19 สอ�่ มลั ติมเี ดยี กรมอนามยั เมนูอาหารเพอ่� สขุ ภาพสำหรับทุกวัย 7 เมนูเสร�มสราŒ งภมู คิ มุŒ กนั ในชว‹ ง COVID-19 ตาŒ นโคว�ด 19 7 สปั ดาห สุขภาพดี หุ‹นดี ที่บŒาน COVID - 19 ออกกำลังกาย e-Book สขุ ภาพ การปอ‡ งกนั COVID - 19 ฟ�นยังดี แบบประเมินเบื้องตŒนสำหรบั ผŒปู ว† ยในการดแู ลสขุ ภาพเมื่อแยกกกั ตัว 44

บรรณานกุ รม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข 2564. แนวทางการจดั ต้ังศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชมุ ชน (Community Isolation) กรณีการระบาดโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ – 19. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: https:// multimedia.anamai.moph.go.th/associates/moph-community-isolation/ [2564, สงิ หาคม 27]. กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข ม.ป.ป.. แบบประเมนิ ความเครยี ด (ST5). [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา: https:// www.dmh.go.th/test/qtest5/. [2564, สิงหาคม 27]. กองสง เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ 2564. เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ทางใจ “อึด ฮดึ ส้”ู . [ออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า: https://www.dmh.go.th/covid19/pnews/view.asp?id=87. [2564, สงิ หาคม 27]. สำ�นักทันตสาธารณสุข กรมอนามยั 2564. แนวทางการดำ�เนินทันตสาธารณสขุ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า: https://www.chiangmaihealth.go.th. [2564, สงิ หาคม 27]. สำ�นักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั 2564. การดูแลสขุ ภาพชอ่ งปากด้วยตวั เอง. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: https://multimedia.anamai.moph.go.th/ebooks/hp-ebook_04_mini/. [2564, สิงหาคม 27]. สำ�นกั โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2563. เมนูอาหารเพ่อื สขุ ภาพสำ�หรบั ทกุ วัย ในช่วง COVID – 19 ฉบบั ปรบั ปรงุ . (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2). นนทบุรี: บรษิ ทั คิว แอดเวอร์ ไทซ่งิ จำ�กดั . สำ�นกั อนามัยส่งิ แวดล้อม กรมอนามัย 2563. คมู่ ือมาตรการและแนวทางในการดูแลด้านอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา: https:// covid19.anamai.moph.go.th/th/manual/. [2564, สิงหาคม 27]. ศนู ย์ส่อื สารสาธารณะ กรมอนามัย 2564. กรมอนามยั แนะ 6 ท่าบรหิ าร สร้างปอด. [ออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า: https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/170564/. [2564, สิงหาคม 27].

แนวทางการปฏิบตั ิ เมอื่ แยกกักตัวผปู้ ว่ ยโควดิ 19 ท่ปี รกึ ษา อธิบดกี รมอนามัย นายแพทยส์ ุวรรณชยั วฒั นายงิ่ เจรญิ รองอธบิ ดีกรมอนามัย นายแพทย์อรรถพล แกว้ สัมฤทธิ์ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั สง่ เสริมสขุ ภาพ นายแพทย์เอกชัย เพยี รศรีวชั รา บรรณาธิการ นักวชิ าการสาธารณสุขชำ�นาญการพเิ ศษ เรอื อากาศเอกหญิงฐาปนพร สิงหโกวินท ์ นกั วชิ าการเผยแพร่ชำ�นาญการพเิ ศษ นักวชิ าการเผยแพรช่ ำ�นาญการพิเศษ นายสมศักดิ ์ ป่นิ นาค นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ�นาญการพเิ ศษ นักวิชาการสาธารณสขุ ชำ�นาญการ นายธานนิ ทร์ อ่อนนชุ มงคล นักวิชาการสาธารณสุขชำ�นาญการ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบตั ิการ นางแรกขวญั สระวาสี นักวิชาการเผยแพร่ นักวเิ ทศสมั พนั ธ์ ว่าท่รี ้อยตรมี ณฑล หวานวาจา นางมลิวลั ย ์ ศรมี ่วง นางสาวสงกรานต์ กญั ญมาสา นางนิริญา ธนธราธคิ ณุ นางสาวกรกมล ปรปักษ์ขาม เรยี บเรยี ง ออ่ นนุชมงคล นกั วชิ าการเผยแพรช่ ำ�นาญการพเิ ศษ นายธานินทร์ สระวาสี นักวิชาการสาธารณสุขชำ�นาญการพิเศษ นางแรกขวัญ กัญญมาสา นักวชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ นางสาวสงกรานต ์ ถกู จติ ร นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร นายตฤษนันท์ ขอขอบคุณขอ้ มลู กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ กรมควบคุมมลพิษคณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จดั พมิ พ์ สำ�นกั ส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ อำ�เภอเมือง จังหวัดนนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท ์ 0 2590 4542 โทรสาร 0 2590 4535 พมิ พ์ครง้ั ที่ 1 : 2564 จำ�นวน 5,000 เลม่ พิมพท์ ่ี : บริษทั นายทำ�ถกู จำ�กัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook