Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันพืชมงคล

วันพืชมงคล

Description: วันพืชมงคล

Search

Read the Text Version

กศน.อำเภอชะอวด พ.ศ. 2563 ตรงกบั จนั ทรท์ ี่ 11 พฤษภาคม (แรม 5 ค่า เดอื น 6) วนั พืชมงคล คือ วนั ท่กี าหนดให้มีพระราชพธิ จี รด พระนังคัลพ.แศ.ร2ก56น3 าตรขงกวบั ญั จนั ทนรท์ับ่ี 1ว1่าพเฤปษภ็นาคพมร(แะรมร5าชค่าพเดธิ อื นีท6่มี ) คี วาม เก่าแก่สืบตอ่ มาตัง้ แตโ่ บราณเพื่อเสรมิ สรา้ งขวญั และ กาลังใจใหก้ ับเกษตรกรของชาติ อกี ทั้งยงั เปน็ การระลึกถงึ ความสาคญั ของเกษตรกรที่มีตอ่ เศรษฐกจิ ไทย ซ่งึ การจดั พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญน้ีมสี ืบเนือ่ ง มาตัง้ แต่เมอื่ สมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย การประกอบ พระราชพธิ จี ะกระทาข้ึนท่ที อ้ งสนามหลวง ประกอบดว้ ย 2 พระราชพิธี คอื พระราชพธิ พี ชื มงคล และพระราชพิธี จรดพระนังคลั แรกนาขวญั

กศน.อำเภอชะอวด วนั พชื มงคล คือ วันที่กาหนดให้มีพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ นบั วา่ เป็นพระราชพิธีที่มีความเก่าแก่สืบต่อมาต้ังแต่โบราณเพ่ือเสริมสร้างขวัญ และกาลังใจให้กับเกษตรกรของชาติ อีกท้ังยังเป็นการระลึกถึงความสาคัญของ เกษตรกรที่มตี อ่ เศรษฐกจิ ไทย ซ่งึ การจัดพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรก นาขวัญน้มี ีสืบเน่ืองมาตงั้ แตเ่ ม่ือสมยั กรงุ ศรีอยุธยาตอนปลาย การประกอบพระ ราชพิธจี ะกระทาข้ึนทที่ ้องสนามหลวง อันประกอบดว้ ย 2 พระราชพิธี คือ พระ ราชพิธีพืชมงคล และพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ท่ีมีความแตกต่าง กนั ดังน้ี พธิ ีพชื มงคล เป็นพิธีทาขวัญเมล็ดพันธ์ุพืชต่างๆ อาทิ ข้าวเปลือกจ้าว ข้าวเหนียว ข้างฟ่าง ข้าวโพก ถั่ว งา เผือก มัน เป็นต้น การประกอบพิธีพืช มงคลก็เพ่ือให้พันธ์ุเหล่านั้นปราศจากโรคภัย และอุดมสมบูรณ์ มีความเจริญ งอกงามดี พิธแี รกนาขวัญ เปน็ พิธีทเี่ ร่ิมต้นการไถนาเพื่อหว่านเมล็ดข้าว ซ่ึงการ ประกอบพิธีแรกนาขวัญน้ีก็เพ่ือให้เป็นอาณัติสัญญาณว่า บัดน้ี ฤดูกาลแห่ง การทานา ทาไร่ และเพาะปลูกไดเ้ ร่ิมตน้ ข้ึนแลว้

กศน.อำเภอชะอวด ประวัตวิ นั พชื มงคล พระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวัญ หรือพิธีแรกนา เป็นพระราช พิธีท่ีมีมาตั้งแต่โบราณเมื่อครั้งที่สุโขทัยเป็นราชธานี ซ่ึงในสมัยน้ัน พระมหากษัตริย์มิได้ลงมือไถนาเอง เพียงแต่เสด็จฯ ไปเป็นองค์ประธานใน พระราชพิธเี ท่านน้ั เม่อื คร้ันถงึ สมัยกรุงศรีอยุธยา พระมหากษัตริย์ไม่ได้เสด็จ ไปเป็นองค์ประธาน แต่จะมอบอาญาสิทธิ์ให้โดยทรงท่าเหมือนอย่างออก อ่านาจกษัตริย์และจะทรงจ่าศีลเป็นเวลา 3 วัน โดยวิธีการเช่นนี้ได้ปฏิบัติ อย่างต่อเนอื่ งตลอดมาจนถงึ ปลายสมยั กรุงศรอี ยุธยา ต่ อ ม า ใ น ส มั ย รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ต อ น ต้ น ตั้ ง แ ต่ รั ช ส มั ย ข อ ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ได้โปรดให้ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เป็นผู้ประกอบพระราชพิธีแรกนาขวัญแทนพระองค์ และมิได้ถือว่าเป็นพิธีหน้าพระท่ีน่ัง จะยกเว้นก็ต่อเม่ือมีพระราชประสงค์จะ ทอดพระเนตร ในตอนแรกๆ มสี ถานทป่ี ระกอบพิธที ีไ่ ม่ตายตัว แล้วแต่จะทรง ก่าหนดให้ ครั้นมาถึงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิธีสงฆ์เพ่ิมข้ึนในพระราชพิธี ต่างๆ ทุกพิธี ฉะน้ัน พระราชพิธีพืชมงคล จึงได้เริ่มมีข้ึนเป็นครั้งแรกนับแต่ นั้นมา โดยได้จัดรวมกับพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ท่าให้มีชื่อ เรียกรวมกันว่า พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ส่วน พธิ กี รรมนอกเหนอื จากการท่าเป็นตัวอย่างที่ทรงจ่าแนกไว้ 3 อย่าง 2 อย่าง แรกที่ว่า “อาศัยค่าอธิษฐานเอาความสัตย์เป็นท่ีต้ังบ้าง ท่าการซ่ึงไม่มีโทษ นับว่าเป็นการสวัสดิมงคลตามซึ่งมาในพระพุทธศาสนาบ้าง” ทรงหมายถึง พิธีพืชมงคล อันเป็นพิธีสงฆ์ที่กระท่า ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ส่วนอีก อย่างหน่ึงท่ีว่า “บูชาเซ่นสรวงตามที่มาทางไสยศาสตร์บ้าง” ทรงหมายถึง พธิ จี รดพระนังคลั แรกนาขวัญ อันเป็นพธิ ที างพราหมณ์

กศน.อำเภอชะอวด ฉะนั้น พอสรุปความมุ่งหมายอันเป็นมูลเหตุ การเกิดพระราชพิธี พืชมงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ ได้ว่า พระราชพิธีน้ีมุ่งหมายที่จะให้เป็น ตวั อย่างแกร่ าษฎร หวงั เพือ่ ชักนา่ ให้มีความม่ันใจในการท่านา อันเป็นอาชีพ หลักที่ส่าคัญของคนไทยที่มีมาช้านานและสืบต่อมาจนปัจจุบันยังคงเป็ นอยู่ เช่นนั้น เพราะด้วยการเกษตรที่มีการท่านาเป็นอาชีหลัก นับเป็นส่ิงท่ีมี ความส่าคัญตอ่ ชีวติ ความเป็นอยู่และเศรษฐกิจของประเทศในทุกสมยั วันทเ่ี หมาะแกก่ ารประกอบพธิ พี ชื มงคล วันประกอบพธิ พี ชื มงคลน้นั ต้องเป็นวันท่ดี ีท่ีสดุ ของแต่ละปี ประกอบด้วย ขนึ้ แรม และฤกษ์ยาม ประกอบกันให้ได้วันอันอุดมฤกษ์ตามตาราโหราศาสตร์ แต่จะต้องอยู่ในระหว่างเดือน 6 เพราะช่วงเดือนน้ีกาลังจะเริ่มเข้าฤดูฝน อัน เป็นระยะเวลาที่เหมาะสมสาหรับเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา จะได้เตรียมทานา เมื่อโหรหลวงได้คานวณวันอันอุดมมงคลพระฤกษ์ท่ีจะประกอบพิธีจรดพระ นังคัลแรกนาขวัญแล้ว สานักพระราชก็จะบันทึกลงไว้ในปฏิทินหลวงท่ี พระราชทานในวันข้นึ ปีใหม่ทุกปี รวมถงึ ได้กาหนดว่าวันใดเป็นวันพืชมงคล และ วันใดเป็นวันจรดพระนังคัลแรกนาขวัญไว้อยา่ งชัดเจน

กศน.อำเภอชะอวด พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เดิมทีจะกระทาท่ีทุ่งพญาไท แต่ เมื่อได้มีการฟ้ืนฟูพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญขึ้นใหม่ จึงได้ เปลี่ยนแปลงสถานท่ีโดยจัดให้มีขึ้นที่ท้องสนามหลวง ท้ังนี้ วันแรกนาขวัญ นับเป็นอีกหนึ่งวันสาคัญของชาติ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้ในวันนี้เป็น วนั หยดุ ราชการ 1 วนั และมปี ระกาศใหช้ ักธงชาติตามระเบียบราชการ อนงึ่ นบั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2509 เปน็ ต้นมา คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา กันโดยลงมติให้วันพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นวัน เกษตรกรประจาปีอีกด้วย ทั้งนี้ เพ่ือให้ผู้ท่ีมีอาชีพทางเกษตรพึงระลึกถึง ความสาคัญของการเกษตร และร่วมมือกันประกอบพระราชพิธีพืชมงคลจรด พระนงั คลั แรกนาขวญั เพือ่ เปน็ สริ ิมงคลแก่อาชีพของตน กา่ หนดวันพืชมงคล พ.ศ. 2552 ตรงกบั จันทรท์ ี่ 11 พฤษภาคม (แรม 3 คา่ เดือน 6) พ.ศ. 2553 ตรงกบั พฤหสั บดที ่ี 13 พฤษภาคม (แรม 15 ค่าเดอื น 6) พ.ศ. 2554 ตรงกบั ศกุ ร์ที่ 13 พฤษภาคม (ขึ้น 11 คา่ เดอื น 6) พ.ศ. 2555 ตรงกับ พธุ ที่ 9 พฤษภาคม (แรม 4 ค่าเดอื น 6) พ.ศ. 2556 ตรงกบั จันทรท์ ่ี 13 พฤษภาคม (ขนึ้ 4 คา่ เดือน 6) พ.ศ. 2557 ตรงกบั ศุกรท์ ่ี 9 พฤษภาคม (ข้นึ 11 ค่าเดือน 6) พ.ศ. 2558 ตรงกับ พธุ ที่ 13 พฤษภาคม (แรม 11 คา่ เดอื น 6) พ.ศ. 2559 ตรงกบั จันทรท์ ี่ 9 พฤษภาคม (ขนึ้ 4 คา่ เดอื น 6) พ.ศ. 2560 ตรงกับ ศุกรท์ ี่ 12 พฤษภาคม (แรม 2 คา่ เดอื น 6) พ.ศ. 2561 ตรงกับ จันทร์ที่ 14 พฤษภาคม (แรม 15 คา่ เดือน 6) พ.ศ. 2562 ตรงกับ พฤหสั บดที ่ี 9 พฤษภาคม (ข้นึ 6 คา่ เดอื น 6) พ.ศ. 2563 ตรงกับ จนั ทรท์ ี่ 11 พฤษภาคม (แรม 5 ค่า เดอื น 6)

กศน.อำเภอชะอวด การประกอบพระราชพิธีวนั พชื มงคล พระราชพิธี พืชม งคล เป็นพิธีทาข วัญพืช พันธ์ุ ธัญญาหาร ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงอธิษฐานเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ ในราชอาณาจักรไทย โดยข้าวที่นามาเข้าพิธีพืชมงคลนั้นเป็นข้าวเปลือก มีทั้ง ข้าวเจ้าและข้าวเหนียว อีกท้ังยังมีเมล็ดพืชชนิดต่างๆ รวมกว่า 40 ชนิด ซึ่งแต่ ละชนดิ จะถกู บรรจอุ ย่ใู นถุงผ้าขาว นอกจากนี้ก็ยังมีขา้ วเปลือกท่ีใช้สาหรับหว่าน ในพิธีแรกนาบรรจเุ ขา้ กระเชา้ ทองคหู่ น่งึ และเงินอกี คหู่ น่งึ เป็นข้าวพันธุ์ดีท่ีโปรด ฯ ให้ปลูกในสวนจิตรลดาและพระราชทานมาเข้าพิธีพืชมงคล ซ่ึงพันธุ์ข้าว พระราชทานนีจ้ ะใชห้ วานในพระราชพิธีแรกนาส่วนหนึ่ง สว่ นท่ีเหลือทางการจะ บรรจซุ องแล้วสง่ ไปแจกจ่ายแก่ชาวนานและประชาชนในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็น ม่ิงขวัญและเป็นสริ มิ งคลแกพ่ ชื ผลทีจ่ ะเพาะปลูกในปีนี้ พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในปัจจุบัน ได้ดาเนินไปตาม แบบอย่างโบราณราชประเพณี ยกเว้นแต่บางอย่างที่ได้มีการดัดแปลงให้เหมาะ แก่กาลสมัย อาทิ พิธีของพราหมณ์ ก็มีการตัดทอนให้ลดเหลือน้อยลง พระยา แรกนา กใ็ หต้ กเป็นหนา้ ทข่ี องปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในระดับ 3 – 4 คือ ข้ันโทข้ึนไป อีกทั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ได้เสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงทอดพระเนตรพระราชพิธีเป็น ประจาทุกปี รวมถึงมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ทูตานุทูต และประชาชนที่สนใจได้ เดนิ ทางมาชมการแรกนาเป็นจานวนมาก

กศน.อำเภอชะอวด สาหรับการประกอบพิธีน้ันจะถูกกาหนดข้ึนโดยโหรหลวง ซ่ึงในระหว่าง พิธีอันสวยงามน้ี ก็จะมีการทานายปริมาณน้าฝนในช่วงฤดูฝนท่ีกาลังจะมาถึง โดยพระยาแรกนาจะทาการเลือกผ้า 3 ผืนท่ีมีความยาวต่างกันตามชอบใจ ซ่ึง ผ้าท้ัง 3 ผืนนมี้ คี วามคล้ายคลึงกัน หากพระยาแรกนาเลือกผืนที่ยาวที่สุดก็ทาย วา่ ปีน้ีปริมาณน้าฝนจะมีน้อย แต่ถ้าเลือกผืนที่สั้นที่สุด ทายว่าปีนี้จะมีปริมาณ น้าฝนมาก หรือหากเลือกผืนที่มีความยาวปานกลาง ทายว่าปีนี้จะมีปริมาณ นา้ ฝนพอประมาณ ต่อมา หลังจากที่สวมเส้ือผ้าท่ีเรียกว่า ผ้านุ่ง เรียบร้อยแล้ว พระยาแรกนาก็จะไถลงไปบนพ้ืนท่ีท้องสนามหลวงด้วยพระนังคัลสีแดงและสี ทอง มีพระโคเพศผู้ลาตัวสีขาวทาหน้าท่ีลาก แล้วตามด้วยเทพีทั้ง 4 ทาหน้าที่ หาบกระเชา้ ทองและกระเช้าเงนิ ที่บรรจเุ มลด็ ข้าวเปลอื ก นอกจากนี้ยังจะมีคณะ พราหมณ์ทเี่ ดินคูไ่ ปกบั ขบวน พรอ้ มท้ังสวดและเป่าสงั ขไ์ ปในขณะเดยี วกนั เมื่อเสร็จจากการไถแล้ว พระโคจะได้รับการป้อนพระกระยาหารและ เครื่องดื่มทั้งสิ้น 7 ชนิด ได้แก่ เมล็ดข้าว ถั่ว ข้าวโพด หญ้า เมล็ดงา น้า และ เหลา้ ไม่วา่ พระโคจะเลอื กกิน หรอื ดืม่ ส่งิ ใดก็ทายวา่ ในปีน้ันๆ จะสมบูรณ์ด้วยสิ่ง ท่ีพระโคเป็นผู้เลือก ข้ันตอนต่อมา พระยาแรกนาจะทาการหว่านเมล็ดข้าว ประชาชนจะพากันมาแย่งเก็บ เพราะถือกันว่าเมล็ดข้าวนี้เป็นสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ อัน จะนามาซึ่งความอุดมสมบูรณ์และก่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่มีไว้ใน ครอบครอง เมื่อเก็บเมล็ดข้าวกลับไปแล้ว ชาวนาก็จะใช้เมล็ดข้าวที่เก็บได้มา ผสมกบั เมล็ดข้าวของตัว เพ่ือให้พืชท่ีลงแรงลงกายปลูกในปีท่ีจะมาถึงนี้มีความ อุดมสมบูรณ์

กศน.อำเภอชะอวด ส่าหรบั พระโคที่จะเขา้ พระราชพิธีแรกนาขวัญน้ัน จะถูกเล้ียงดูอย่างดีที่ จังหวัดราชบุรี โดยพระโคท่ีใช้ในพระราชพิธีจะต้องมีลักษณะที่ดี ขาด หรือ เกินไมไ่ ด้ อันประกอบด้วย หูดี ตาดี แข็งแรง เขาท้ังสองตั้งตรงสวยงาม พระ โคแต่ละคู่จะต้องมีสีเหมือนกัน อีกทั้งจะมีการคัดเลือกพระโคเพียงสองสี คือ สีขาวส่าลีและสีน่้าตาลแดง เจาะจงว่าเป็นเฉพาะเพศผู้เท่านั้นและต้องผ่าน การตอน เสียก่อนด้วย กจิ กรรมท่ีควรปฏิบัตใิ นวนั พืชมงคล ประดบั ธงชาตติ ามอาคารบา้ นเรือนและสถานที่ราชการ จัดนิทรรศการแสดงประวัติความเป็นมา ตลอดจนความส่าคัญของ วนั พืชมงคล รวมถึงพระราชพธิ ีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญอีกด้วย ขอ้ มลู เพ่ิมเติม th.wikipedia.org กศน.อำเภอชะอวด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook