Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันวิสาขบูชา

วันวิสาขบูชา

Description: วันวิสาขบูชา

Search

Read the Text Version

วนั วสิ าขบูชา นบั วา่ เป็นวนั สาคัญสากลทางพระพุทธศาสนา สาหรับ ชาวพุทธทุกนิกายทั่วโลก เป็นวันหยุดราชการในหลายๆ ประเทศ อีกท้ังยัง เ ป็ น วั น ส า คั ญ ใ น ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ ต า ม ข้ อ ม ติ ข อ ง ส มั ช ช า ใ ห ญ่ แ ห่ ง สหประชาชาติ เน่ืองจากเป็นวันคล้ายวันท่ีเกิดเหตุการณ์สาคัญท่ีสุดใน พระพทุ ธศาสนา 3 เหตกุ ารณ์ ได้แก่ การประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของ พระพุทธโคดม ซ่ึงทั้ง 3 เหตุการณ์นี้ได้เกิดข้ึนตรงกัน ณ วันข้ึน 15 ค่า เดือน 6 หรือวันเพ็ญแห่งเดือนวิสาขะ (ต่างปีกัน) ชาวพุทธจึงถือว่าเป็น วันที่รวมการเกิดเหตุการณ์อันน่าอัศจรรย์ยิ่ง และเรียกการบูชาในวันนี้ว่า วิสาขบูชา ย่อมาจาก วิสาขปุรณมีบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือน วิสาขะ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอชะอวด 075 381510

วนั วสิ าขบชู า วันวิสาขบูชา วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และเป็นวันหยุดราชการ ของไทย ซ่ึงประวัติวันวิสาขบูชา เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และ ปรินิพพาน มาบรรจบกัน ในวันน้ีพุทธศาสนิกชนจะไปทาบุญ ตักบาตร เวียนเทียนทว่ี ดั สาหรับ วันวิสาขบูชา 2563 ตรงกับวันพุธท่ี 6 พฤษภาคม เช่ือว่า ทุกคนรู้จักช่ือวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างวันวิสาขบู ชากันดีอยู่แล้ว แต่จะมสี ักก่คี นทีท่ ราบความเปน็ มา และความสาคัญของวันวิสาขบูชา ถ้าง้ัน อย่ารอช้า...เราไปค้นหาความหมายของวันวิสาขบูชา และอ่านประวัติ วันวสิ าขบชู า พร้อม ๆ กนั ดกี วา่ ค่ะ

ความหมายของวนั วิสาขบูชา คาว่า วิสาขบูชา ย่อมาจากคาว่า \"วิสาขปุรณมีบูชา\" แปลว่า \"การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ\" ดังน้ัน วิสาขบูชา จึงหมายถึง การบูชา ในวันเพญ็ เดือน 6 การกาหนดวันวสิ าขบูชา วนั วสิ าขบูชา ตรงกบั วนั ขน้ึ 15 คา่ เดอื น 6 ตามปฏิทินจันทรคติ ของไทย ซ่ึงมักจะตรงกับเดือนพฤษภาคม หรือมิถุนายน แต่ถ้าปีใดมี อธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน ก็เล่ือนไปเป็นวันข้ึน 15 ค่า กลางเดือน 7 หรือราวเดอื นมถิ ุนายน อย่างไรกต็ าม ในบางปีของบางประเทศอาจกาหนด วันวิสาขบูชา ไม่ตรงกับของไทย เน่ืองด้วยประเทศเหล่าน้ันอยู่ในตาแหน่งท่ีต่างไปจาก ประเทศไทย ทาใหว้ นั เวลาคลาดเคลอื่ นไปตามเวลาของประเทศน้นั ๆ ประวัติวนั วิสาขบูชาและความสาคญั ของ วนั วิสาขบูชา วันวิสาขบชู า ถอื เป็นวันสาคญั ยงิ่ ทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็น วันท่ีเกิด 3 เหตุการณ์สาคัญท่ีเกี่ยวกับวิถีชีวิตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เวียนมาบรรจบกันในวันเพ็ญ เดือน 6 แม้จะมีช่วงระยะเวลาห่างกัน นบั เปน็ เวลาหลายสิบปี ซง่ึ เหตกุ ารณอ์ ศั จรรย์ 3 ประการ ได้แก่...

1. วันวิสาขบูชา เปน็ วันทพี่ ระพุทธเจา้ ประสูติ เม่อื พระนางสิริมหามายา พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งกรุง กบิลพัสด์ุ ทรงพระครรภ์แก่จวนจะประสูติ พระนางแปรพระราชฐานไป ประทบั ณ กรุงเทวทหะ เพอื่ ประสูตใิ นตระกลู ของพระนางตามประเพณีนิยม ในสมัยนัน้ ขณะเสด็จแวะพักผ่อนพระอิริยาบถใต้ต้นสาละ ณ สวนลุมพินีวัน พระนางก็ได้ประสูติพระโอรส ณ ใต้ต้นสาละนั้น ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ เดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 80 ปี คร้ันพระกุมารประสูติได้ 5 วัน ก็ได้รับการถวาย พระนามว่า \"สิทธัตถะ\" แปลว่า \"สมปรารถนา\" เม่ือข่าวการประสูติแพร่ไปถึงอสิตดาบส 4 ผู้อาศัยอยู่ในอาศรมเชิง เขาหมิ าลัย และมีความคุ้นเคยกับพระเจ้าสุทโธทนะ ดาบสจึงเดินทางไปเข้า เฝ้า และเม่ือเห็นพระราชกุมารก็ทานายได้ทันทีว่า นี่คือผู้จะตรัสรู้เป็นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า จึงกล่าวพยากรณ์ว่า \"พระราชกุมารน้ีจักบรรลุพระ สัพพัญญุตญาณ เห็นแจ้งพระนิพพานอันบริสุทธ์ิอย่างยิ่ง ทรงหวังประโยชน์ แก่ชนเป็นอันมาก จะประกาศธรรมจักรพรหมจรรย์ของพระกุมารนี้จัก แพร่หลาย\" แล้วกราบลงแทบพระบาทของพระกุมาร พระเจ้าสุทโธทนะ ทอดพระเนตรเห็นเหตกุ ารณน์ น้ั ทรงรู้สึกอัศจรรย์และเป่ียมล้นด้วยปีติ ถึงกับ ทรดุ พระองค์ลงอภวิ าทพระราชกมุ ารตามอยา่ งดาบส

2. วันวิสาขบูชา เปน็ วนั ที่พระพุทธเจา้ ตรสั ร้อู นุตตรสมั มาสัมโพธิญาณ หลังจากออกผนวชได้ 6 ปี จนเมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา เจ้าชายสิทธัตถะก็ทรงตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธ์ิ ฝั่ง แมน่ า้ เนรัญชรา ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืดของวันพุธ ขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ปีระกา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ปัจจุบันสถานท่ีตรัสรู้แห่งน้ี เรียกว่า พทุ ธคยา เป็นตาบลหน่ึงของเมืองคยา แห่งรฐั พิหาร ของอนิ เดีย สิ่งที่ตรัสรู้ คอื อริยสัจส่ี เปน็ ความจริงอนั ประเสรฐิ 4 ประการ ของพระพทุ ธเจา้ ซ่ึงพระพุทธเจา้ เสด็จไปทตี่ ้นมหาโพธิ์ และทรงเจรญิ สมาธิภาวนาจนจิตเป็นสมาธิไดฌ้ านท่ี 4 แล้วบาเพ็ญภาวนาต่อไปจนได้ ฌาน 3 คือ - ยามตน้ : ทรงบรรลุ \"ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ\" คอื ทรงระลึก ชาตใิ นอดตี ทั้งของตนเองและผอู้ ืน่ ได้ - ยามสอง : ทรงบรรลุ \"จุตปู ปาตญาณ\" คือ การรู้แจ้งการเกิด และดบั ของสรรพสตั วท์ ั้งหลาย ด้วยการมีตาทิพย์สามารถเห็นการจุติและ อบุ ตั ขิ องวญิ ญาณท้ังหลาย - ยามสาม หรือยามสุดท้าย : ทรงบรรลุ \"อาสวักขยญาณ\" คือ รวู้ ธิ ีกาจัดกิเลสดว้ ย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทยั นโิ รธ มรรค) ได้ตรัสรู้เป็นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญ เดือน 6 ซ่ึงขณะน้ันพระพุทธองค์มี พระชนมายไุ ด้ 35 พรรษา

3. วันวิสาขบูชา เป็นวนั ท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน (ดับสังขาร ไมก่ ลบั มาเกิดสรา้ งชาติ สรา้ งภพอีกต่อไป) เมอ่ื พระพุทธองค์ได้ตรัสรู้และแสดงธรรมเป็นเวลานานถึง 45 ปี จนมีพระชนมายุได้ 80 พรรษา ได้ประทับจาพรรษา ณ เวฬุคาม ใกล้ เมืองเวสาลี แควน้ วัชชี ในระหวา่ งนนั้ ทรงพระประชวรอยา่ งหนัก คร้ันเมื่อ ถึงวันเพ็ญ เดือน 6 พระพุทธองค์กับพระภิกษุสงฆ์ท้ังหลาย ก็ไปรับ ภัตตาหารบิณฑบาตที่บ้านนายจุนทะ ตามคากราบทูลนิมนต์ พระองค์ เสวยสกู รมัททวะท่ีนายจุนทะตัง้ ใจทาถวายกเ็ กดิ อาพาธลง แต่ทรงอดกลั้น มุ่งเสด็จไปยังเมืองกุสินารา ประทับ ณ ป่าสาละ เพ่ือเสด็จดับขันธ์ ปรนิ ิพพาน เม่อื ถึงยามสุดท้ายของคืนน้ัน พระพุทธองค์ก็ทรงประทานปัจฉิม โอวาทว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอันว่าสังขารทั้งหลายย่อมมีความเส่ือม สลายไปเป็นธรรมดา ท่านท้ังหลายจงยังกิจทั้งปวงอันเป็นประโยชน์ของ ตนและประโยชน์ของผู้อ่ืนให้บริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาทเถิด\" หลังจาก นั้นกเ็ สด็จเขา้ ดับขนั ธ์ปรินพิ พาน ในราตรีเพญ็ เดอื น 6 นั้น ประวัติความเป็นมาของวนั วิสาขบูชาในประเทศไทย ปรากฏหลักฐานว่า วันวิสาขบูชา เร่ิมต้นครั้งแรกในประเทศไทย ต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี สันนิษฐานว่าได้รับแบบแผนมาจาก ลังกา นัน่ คอื เมื่อประมาณ พ.ศ. 420 พระเจา้ ภาติกุราช กษัตริย์แห่งกรุง ลังกา ไดป้ ระกอบพธิ วี สิ าขบชู าข้ึน เพือ่ ถวายเป็นพทุ ธบูชา จากน้ันกษัตริย์ ลังกาพระองค์อื่น ๆ ก็ปฏิบัติประเพณวี ิสาขบูชานี้สบื ทอดต่อกันมา

สว่ นการเผยแผเ่ ขา้ มาในประเทศไทยน้ัน นา่ จะเปน็ เพราะประเทศ ไทยในสมัยกรงุ สุโขทัยมคี วามสัมพนั ธ์ดา้ นพระพุทธศาสนากบั ประเทศลังกา อย่างใกล้ชดิ เห็นได้จากมีพระสงฆ์จากลงั กาหลายรปู เดนิ ทางเข้ามาเผยแพร่ พระพุทธศาสนา และนาการประกอบพิธวี ิสาขบชู าเขา้ มาปฏิบัตใิ นประเทศ ไทยดว้ ย สาหรับการปฏิบัติพิธีวิสาขบูชาในสมัยสุโขทัยน้ัน ได้มีการบันทึกไว้ ในหนงั สือนางนพมาศ สรุปได้วา่ เมื่อถงึ วันวิสาขบูชา พระเจ้าแผ่นดิน ข้าราช บริพาร ท้ังฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดทั้งประชาชนชาวสุโขทัย จะช่วยกัน ประดับตกแต่งพระนคร ดว้ ยดอกไม้ พร้อมกับจดุ ประทปี โคมไฟให้ดูสว่างไสว ไปท่ัวพระนคร เปน็ เวลา 3 วนั 3 คืน เพ่ือเป็นการบูชาพระรัตนตรัย ขณะที่ พระมหากษตั ริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ กท็ รงศีล และทรงบาเพ็ญพระราช กุศลต่าง ๆ คร้ันตกเวลาเย็นก็เสด็จพระราชดาเนินพร้อมด้วยพระบรม วงศานุวงศ์ และนางสนองพระโอษฐ์ ตลอดจนข้าราชการทั้งฝ่ายหน้า และ ฝ่ายใน ไปยังพระอารามหลวง เพื่อทรงเวียนเทียนรอบพระประธาน ส่วน ชาวสุโขทัยจะรักษาศีล ฟังธรรม ถวายสลากภัต สังฆทาน อาหารบิณฑบาต แด่พระภกิ ษสุ ามเณร บรจิ าคทานแกค่ นยากจน ทาบญุ ไถช่ วี ติ สัตว์ ฯลฯ หลังจากสมยั สโุ ขทยั ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ มากข้ึน ทาให้ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไม่ ปรากฏหลักฐานว่ามีการประกอบพิธีวิสาขบูชา จนกระท่ัง มาถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2360)มีพระราชดาริท่ีจะให้ฟ้ืนฟูพิธีวิสาขบูชาขึ้นมาใหม่ โดยสมเด็จ พระสงั ฆราช (มี) สานกั วัดราชบูรณะ ถวายพระพรให้ทรงทาข้ึนเป็นครั้งแรก ในวันขึ้น 14 ค่า 15 ค่า และวันแรม 1 ค่า เดือน 6 พ.ศ. 2360 และให้ จัดทาตามแบบอย่างประเพณีเดิมทุกประการ เพ่ือให้ประชาชนได้ทาบุญ ทากุศล โดยทั่วหน้ากัน การรื้อฟ้ืนพิธีวิสาขบูชาข้ึนมาในครานี้ จึงถือเป็น แบบอย่างถือปฏิบัติในการประกอบพิธี วันวิสาขบูชา ต่อเนื่องมาจวบ จนกระทัง่ ปจั จุบัน

วนั วิสาขบูชาเป็นวนั สาคญั สากลของสหประชาชาติ วันวิสาขบชู า ถือเป็นวันสาคัญท่ีสดุ ทางพระพทุ ธศาสนา เนือ่ งจาก ล้วนมีเหตกุ ารณท์ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการถือกาเนิดของพระพุทธศาสนา คอื เป็น วันท่พี ระศาสดา คอื พระสมั มาสมั พุทธเจ้า ประสตู ิ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ดงั นนั้ พทุ ธศาสนกิ ชนท่วั โลกจงึ ให้ความสาคญั กับวนั วสิ าขบูชาน้ี และในวนั ท่ี 13 ธันวาคม พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาติได้ ยอมรับญัตติที่ประชุม กาหนดให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสาคัญของโลก โดย เรียกว่า Vesak Day ตามคาเรียกของชาวศรีลังกา ผู้ท่ีย่ืนเร่ืองให้ สหประชาชาติพจิ ารณา และได้กาหนดให้วันวสิ าขบูชานถ้ี ือเป็นวันหยุดวัน หนึ่งของสหประชาชาติอีกด้วย ทั้งนี้ เพ่ือให้ชาวพุทธทั่วโลกได้มีโอกาส บาเพ็ญบุญเนื่องในวันประสูติ ตรสั รู้ และปรนิ ิพพานของพระบรมศาสดา โดยการท่ีสหประชาชาติได้กาหนดให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสาคัญ ของโลกน้ัน ได้ให้เหตุผลไว้ว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็น มหาบุรุษผู้ให้ความเมตตาต่อหมู่มวลมนุษย์ เปิดโอกาสให้ทุกศาสนา สามารถเข้ามาศึกษาพุทธศาสนา เพ่ือพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้โดยไม่ จาเป็นต้องเปล่ียนมานับถือศาสนาพุทธ และทรงส่ังสอนทุกคนโดยใช้ ปญั ญาธิคุณ โดยไม่คิดค่าตอบแทน สงิ่ ที่ตรัสรู้ คอื อริยสัจสี่ เป็นความจรงิ อันประเสริฐ 4 ประการของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จไปท่ีต้น มหาโพธิ์ และทรงเจริญสมาธิภาวนาจนจิตเป็นสมาธิได้ฌานที่ 4 แล้ว บาเพญ็ ภาวนาตอ่ ไปจนได้ฌาน 3 คือ - ยามต้น : ทรงบรรลุ \"ปพุ เพนิวาสานุสสตญิ าณ\" คือ ทรงระลกึ ชาตใิ นอดตี ทัง้ ของตนเองและผอู้ ่ืนได้ - ยามสอง : ทรงบรรลุ \"จุตูปปาตญาณ\" คือ การรู้แจ้งการเกิด และดบั ของสรรพสตั ว์ทั้งหลาย ดว้ ยการมีตาทพิ ย์สามารถเห็นการจุติและ อุบตั ขิ องวญิ ญาณทง้ั หลาย

- ยามสาม หรอื ยามสุดท้าย : ทรงบรรลุ \"อาสวักขยญาณ\" คือ รวู้ ิธี กาจัดกิเลสด้วย อรยิ สัจ 4 (ทกุ ข์ สมุทัย นโิ รธ มรรค) ได้ตรสั รู้เป็นพระ สมั มาสมั พทุ ธเจ้า ในคืนวนั เพญ็ เดือน 6 ซ่ึงขณะนนั้ พระพทุ ธองค์มี พระชนมายุได้ 35 พรรษา การประกอบพิธีในวันวิสาขบูชา การประกอบพิธีใน วันวิสาขบูชา จะแบ่งออกเป็น 3 พิธี ได้แก่ 1. พิธีหลวง คอื พระราชพธิ ีสาหรบั พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศา นวุ งศ์ ประกอบในวนั วสิ าขบชู า 2. พิธรี าษฎร์ คือ พธิ ีของประชาชนทั่วไป 3. พธิ ีของพระสงฆ์ คอื พิธที พ่ี ระสงฆป์ ระกอบศาสนกิจ กจิ กรรมในวันวสิ าขบชู า กิจกรรมที่พุทธศาสนกิ ชนพงึ ปฏิบัติใน วันวสิ าขบชู า ได้แก่ 1. ทาบญุ ใสบ่ าตร กรวดนา้ อทุ ิศส่วนกุศลให้ญาติท่ลี ่วงลับ และเจา้ กรรมนายเวร 2. จัดสารบั คาวหวานไปทาบญุ ถวายภัตตาหารท่วี ัด และปฏิบัติ ธรรม ฟงั พระธรรมเทศนา 3. ปล่อยนกปล่อยปลา เพ่ือสรา้ งบุญสร้างกศุ ล 4. รว่ มเวยี นเทียนรอบอุโบสถทวี่ ดั ในตอนค่า เพอ่ื ราลกึ ถึงพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ 5. ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวนั สาคัญทางพุทธศาสนา 6. จัดแสดงนทิ รรศการ ประวตั ิ หรือเร่ืองราวความเปน็ มาเกี่ยวกับ วันวสิ าขบชู า ตามโรงเรยี น หรอื สถานที่ราชการต่าง ๆ เพอื่ ให้ความรู้ และ เป็นการร่วมราลึกถึงความสาคญั ของวันวสิ าขบูชา 7. ประดบั ธงชาติตามอาคารบ้านเรือน วดั และสถานทีร่ าชการ 8. บาเพ็ญสาธารณประโยชน์

หลกั ธรรมที่สาคัญในวนั วสิ าขบชู า ทค่ี วรนามาปฏิบัติ ในวนั วิสาขบูชา พทุ ธศาสนิกชนท้งั หลายควรยึดมั่นในหลักธรรม ซ่ึง หลกั ธรรมทค่ี วรนามาปฏิบัตใิ นวันวิสาขบูชา ได้แก่ 1. ความกตญั ญู คือ การรู้คุณคน เป็นคุณธรรมท่ีคู่กับความกตเวที ซ่ึงหมายถึงการ ตอบแทนคณุ ที่มีผทู้ าไว้ ความกตัญญูและความกตเวทนี ้ี เป็นเคร่ืองหมายของ คนดี ทาใหค้ รอบครวั และสงั คมมีความสขุ ซึง่ ความกตัญญูกตเวทีนั้นสามารถ เกิดขึ้นได้กับท้ังบิดามารดาและลูก ครูอาจารย์กับศิษย์ นายจ้างกับลูกจ้าง ฯลฯ ในพระพุทธศาสนา เปรียบพระพทุ ธเจา้ เสมือนกับบุพการี ผู้ช้ีให้เห็น ทางหลุดพ้นแห่งความทุกข์ ดังน้ัน พุทธศาสนิกชนจึงควรตอบแทนความ กตญั ญกู ตเวทดี ้วยการทานุบารุงพระพุทธศาสนา และดารงพระพุทธศาสนา ให้อยสู่ บื ไป 2. อรยิ สัจ 4 คือ ความจรงิ อันประเสริฐ 4 ประการท่พี ระพุทธเจา้ ทรงตรสั รใู้ น วัน วสิ าขบชู า ไดแ้ ก่ - ทุกข์ คือ ปัญหาของชีวิต สภาวะที่ทนได้ยาก ซึ่งทุกข์ข้ันพ้ืนฐาน คอื การเกดิ การแก่ และการตาย ล้วนเป็นส่ิงที่มนุษย์ทุกคนต้องเผชิญ ส่วน ทุกข์จร คือ ทุกข์ท่ีเกิดขึ้นในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การพลัดพราก จากสิง่ ท่ีเปน็ ที่รกั หรือความยากจน เปน็ ต้น - สมุทยั คือ ตน้ เหตขุ องปญั หา หรอื สาเหตุของการเกดิ ทุกข์ และ สาเหตุส่วนใหญข่ องปัญหาเกดิ จาก \"ตัณหา\" อันได้แก่ ความอยากได้ต่าง ๆ อยา่ งไมม่ ีทส่ี นิ้ สุด - นโิ รธ คอื ความดับทกุ ข์ เป็นสภาพทคี่ วามทกุ ข์หมดไป เพราะ สามารถดบั กิเลส ตณั หา อปุ าทานออกไปได้ - มรรค คือ หนทางท่ีนาไปสู่การดับทุกข์ เป็นการปฏิบัติเพื่อ แกป้ ญั หา มี 8 ประการ ได้แก่ ความเห็นชอบ ดาริชอบ วาจาชอบ กระทา ชอบ เล้ียงชีพชอบ พยายามชอบ ระลกึ ชอบ ต้งั จติ ม่ันชอบ

3. ความไม่ประมาท คือการมีสติตลอดเวลา ไม่ว่าจะทาอะไร พูดอะไร คิดอะไร ล้วน ต้องใช้สติ เพราะสติคือการระลึกได้ การระลึกได้อยู่เสมอจะทาให้เราใช้ ชีวิตอย่างไม่ประมาท ซึ่งความประมาทน้ันจะทาให้เกิดปัญหายุ่งยาก ตามมา ดังนั้น ในวันน้ีพุทธศาสนิกชนจะพากันน้อมระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยความมสี ติ วนั วสิ าขบูชา นบั วา่ เป็นวันทมี่ คี วามสาคัญสาหรับพุทธศาสนิกชน ทุกคน เปน็ วนั ทม่ี กี ารทาพธิ พี ุทธบูชา เพือ่ เป็นการน้อมราลึกถึงพระวิสุทธิ คณุ พระปญั ญาธคิ ุณ และพระมหากรุณาธิคุณ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทมี่ ีต่อมวลมนษุ ย์และสรรพสตั ว์ อีกท้ังเพ่ือเป็นการราลึกถึงเหตุการณ์อัน น่าอัศจรรย์ท้ัง 3 ประการ ที่มาบังเกิดในวันเดียวกัน และนาหลักธรรม คาสั่งสอนของพระพุทธองค์มาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติใน การดารงชวี ิตค่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook