Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทช31002

ทช31002

Published by ruttana200517, 2020-05-17 01:12:58

Description: ทช31002

Search

Read the Text Version

94 1.8. ทักษะการเขาใจและเห็นใจผูอื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขา ใจความเหมอื นหรอื ความแตกตางระหวางบคุ คล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอ่ืนท่ีตางจากเรา เกิดการชวยเหลือ บคุ คลอ่นื ทีไ่ ดร บั ความเดอื ดรอ น เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผตู ิดเชอ้ื เอดส เปนตน 1.9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถในการรับรู อารมณข องตนเองและผอู ืน่ รูว าอารมณมผี ลตอการแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับ อารมณโกรธและความเศรา โศกที่สง ผลทางลบตอ รางกายและจติ ใจไดอ ยางเหมาะสม 1.10. ทกั ษะการจดั การกับความเครยี ด (Coping with Stress) เปนความสามารถในการรับรู ถึงสาเหตุของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับ ความเครียด เพ่ือใหเกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตองเหมาะสมและไมเกิดปญหา ดานสุขภาพ เรอื่ งท่ี 2 ทกั ษะชีวติ ทีจ่ ําเปน 3 ประการ 2.1 ทักษะการตระหนักในตน การรูจักตนเองนับเปนพ้นื ฐานสําคญั ทีเ่ ราควรเรียนรูเปน อันดับแรก สุดในชีวิต เนื่องจากการรูจักตนเองจะนําไปสูการมีเปาหมายท่ีชัดเจนในการดําเนินชีวิต เน่ืองจากรูว าตนมคี วามถนดั ความชอบ และความสามารถในดานใด ดังน้ัน จึงรูวาตนควรจะเรียน อะไร ประกอบอาชพี อะไร ควรแสวงหาความรอู ะไรเพ่มิ เตมิ การรจู กั วธิ ีเฉพาะตวั ท่ตี นถนัดในการพฒั นาทกั ษะการเรียนรใู นดานตาง ๆ ของตนเองใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เชน รูเทคนิคการเรียนหนังสือของตนวาควรใชวิธีใด จึงประสบผลสําเร็จ รูตัววาความจําไมดี จึงตองใชวิธีจดอยางละเอียด และทบทวนบทเรียน อยา งสม่ําเสมอ เปน ตน การพฒั นาทกั ษะการแกไ ขปญหาท่เี กิดข้ึนในชีวติ อยา งมีประสิทธิภาพ เนื่องจากรู วาปญหานั้นมีสาเหตุมาจากตนหรือไม และรูวาตนเองควรปรับอารมณเชนใด เมื่อยามเผชิญ ปญ หาและควรหาวิธีการใดทีเ่ หมาะสําหรับตนเองมากที่สุดในการแกปญ หาใหลลุ วงไปไดด วยดี การคนพบความสุขที่แทจริงในส่ิงที่ตนเลือกทํา เนื่องจากรูวาอะไรท่ีทําแลวจะ ทําใหต นเองมีความสุขได นําไปสูการเรียนรูและเขาใจผูอื่นไดมากยิ่งข้ึน อันเปนการลดปญหา ความขัดแยงและนําไปสูมิตรภาพท่ีดีตามมาตรงกันขามกับผูที่ไมรูจักตนเอง ซึ่งมัก ใชชีวิตโดย ปลอยไปตามกระแสสงั คม เลียนแบบ ทาํ ตามคนรอบขา ง โดยขาดจุดยนื ท่ชี ัดเจน สุดทายเขาจึงไม

95 สามารถพบกบั ความสุขที่แทจริงในชวี ติ ได และนาํ ไปสปู ญ หามากมายตามมา คนท่ไี มร ูจักตนเอง ยามเมื่อตองเผชิญหนากับปญหา โดยมากแลวมักจะไมดูวาปญหาที่เกิดขึ้นน้ันมาจากตนเอง หรือไม แตม ักโทษเหตกุ ารณหรือโทษผูอื่นเอาไวกอน จึงเปนการยากที่จะแกปญหาใหลุลวงไป ไดด ว ยดี การฝกฝนทักษะการรูจักตนเองจึงควรเริ่มต้ังแตวัยเยาว โดยพอแมเปนบุคคล สาํ คญั แรกสดุ ในการชว ยลกู คนหาตนเอง โดยเร่ิมจากเปดโอกาสที่หลากหลาย พอแมควรสราง โอกาสที่หลากหลายในการใหล ูกไดเรียนรูทดลองในส่ิงตางๆ ใหมากที่สุด เชน การทํางานบาน กจิ กรรมตางๆ ทล่ี ูกสนใจ โดยพอแมทําหนาทีเ่ ปนผูสนับสนุน อํานวยความสะดวกในการใหลูก ไดเ รยี นรจู ากประสบการณตางๆ การทํางานอาสาสมคั รตา งๆ การเขาคา ยอาสาพฒั นา การเขา คา ยกฬี า ไมใ ชต ามใจลูกทุกเรือ่ ง ควรใหอิสระในความคดิ และการตัดสนิ ใจบา ง การเรยี นรูจ กั ตนเองอยา งถองแท นับเปน กระบวนการเรียนรูที่สําคัญมากยิ่งกวา การเรียนรใู ดๆ การเรียนรูจ ักตนเองเปนกระบวนการเรียนรูระยะยาวตลอดท้ังชีวิต อันนํามาซึ่ง ความสขุ และเปน รากฐานของความสําเร็จในชีวิต โดยพอแมเปนบุคคลสําคัญ ผูเปดโอกาสให ลูกไดรูจักตนเอง และเปนกระจกบานแรกท่ีสะทอนใหลูกไดเห็นอยางถูกตองวาตัวตนท่ีแทจริง ของเขานน้ั เปน เชน ไร 2.2. ทกั ษะการจดั การกบั อารมณ อารมณ คือ สภาวะของรางกายซึ่งถูกยั่วยุ จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ วทิ ยาหลาย ๆ อยา ง เชน ใจสัน่ ชพี จรตนเร็ว การหายใจเร็วและแรงข้นึ หนาแดง เปนตน ในอีก ทัศนะหนึ่ง อารมณ คือความรูสึก ซ่ึงเกิดข้ึนเพียงบางสวนจากสภาวะของรางกายที่ถูกยั่วยุ อาจเปนความรูสึกพอใจหรือไมพอใจก็ได อามรณยังเปนส่ิงที่คนเราแสดงออกมาดวยน้ําเสียง คาํ พดู สหี นา หรอื ทา ทาง วิธจี ัดการกับอารมณ 1. มองโลกในแงดี เมอื่ เรามีความคิดท่ีทําใหซึมเศรา เชน “ฉันทําวิชาเลขไมได” ใหคิด ใหมวา “ถาฉันไดรับความชวยเหลือที่ถูกตองฉันก็จะทําได” แลวไปหาครู ครูพิเศษ หรือให เพอื่ นชวยติวให 2. หาสมดุ บนั ทกึ สกั เลมไวเ ขียนกอนเขานอนทกุ วัน ในสมุดบนั ทึกเลมนี้ หามเขียนเรื่อง ไมดี จงเขียนแตเร่ืองดี ๆ ท่ีเกิดขึ้นในวันนั้น ตอนแรกอาจจะยากหนอย แตใหเขียน เชน มีคน แปลกหนายิ้มให ถา ไดลองต้งั ใจทํามันจะเปลยี่ นความคิดใหเรามองหาแตเ ร่ืองดๆี จากการศึกษา พบวา คนท่ีคิดฆาตวั ตายมีอาการดขี ึ้นหลังจากเร่มิ เขียนบันทกึ เร่ืองดี ๆ ไดเ พยี งสองสัปดาห

96 3. ใชเ วลาอยูกบั คนทีท่ าํ ใหเราหัวเราะได 4. ใสใจกับความรูสึกของตนเองในเวลาแตละชวงวัน การตระหนักรูถึงอารมณของ ตัวเองจะทําใหเ ราจับคูงานทีเ่ ราตองทาํ กบั ระดบั พลังงานในตวั ไดอ ยา งเหมาะสม เชน ถา เรารูสึก ดีท่ีสุดตอนเชา แสดงวาตอนเชา คือ เวลาจัดการกับงานเครียด ๆ เชน ไปเจอเพ่ือนท่ีทําราย จติ ใจเรา หรือคยุ กบั ครูทีเ่ ราคิดวาใหเกรดเราผิด ถาปกติเราหมดแรง ตอนบายใหเก็บเวลาชวง น้นั เอาไวทํากิจกรรมทไ่ี มตอ งใชพ ลังทางอารมณมาก เชน อานหนังสือหรืออยูกับเพ่ือน อยาทํา อะไรเครยี ดๆ เวลาเหนอ่ื ยหรือเครยี ด 5. สังเกตอารมณตวั เองในเวลาชวงตา ง ๆ ของเดอื น ผหู ญงิ บางคนพบวา ชวงเวลาท่ี ตัวเองอารมณไมดีสมั พันธก บั รอบเดือน 6. ออกกาํ ลังกาย การออกกําลังกายชวยใหเราแข็งแรงทั้งรางกายและจิตใจ การออก กําลังกายอยางนอ ยแควันละ 20 นาที สามารถทําใหรูสึกสงบและมีความสุขได การออกกําลัง กายจะชวยเพ่ิมการผลติ เอนดอรฟ น ของรางกายดวย ท่ที ําใหเ กิดความรูสึกดีและมีความสุขตาม ธรรมชาติ โดยไมตองพ่งึ ยาเสพตดิ 7. รจู ักไตรต รอง แยกแยะ 8. ฟง เพลง งานวิจยั ชนิ้ หนง่ึ พบวา จงั หวะของเสยี งเพลงชวยจดั ระเบยี บความคิดและ ความรสู กึ มนั่ คงภายในจิตใจ และชว ยลดความตงึ เครียดของกลา มเน้ือ 9. โทรหาเพ่อื น การขอความชวยเหลือทําใหค นเรารสู ึกผูกพนั กับคนอน่ื และรสู ึกโดด เดีย่ วนอยลง 10. การโอบกอดชวยใหรางกายหล่ังฮอรโมนที่ทําใหร ูสึกดีออกมา ซ่ึงจะชวยใหเรารบั มือ กับอารมณไ ด อยูทามกลางคนที่มคี วามสขุ อารมณดี 2.3. ทักษะการจดั การความเครยี ด ความเครียด คือ การหดตัวของกลามเนื้อสวนใดสวนหน่ึงหรือหลายสวนของ รางกายนนั่ เองซ่ึงทุกคนจําเปนตองมีอยูเสมอในการดํารงชีวิต เชน การทรงตัวเคลื่อนไหวทั่วๆ ไป มีการศึกษาพบวาทุกคร้ังท่ีเราคิดหรือมีอารมณบางอยางเกิดข้ึนจะตองมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกลามเน้ือแหงใดแหงหน่ึงในรางกายเกิดข้ึนควบคูเสมอ ความเครียดมีทั้ง ประโยชนและโทษ แตความเครียดที่เปนโทษนั้น เปนความเครียดชนิดที่เกินความจําเปน เปน อุปสรรคและอันตรายตอ ชวี ติ

97 2.3.1 ผลของความเครยี ดตอ ชวี ิต ผลตอ สุขภาพทางกาย ไดแ ก อาการไมสบายทางกายตาง ๆ เชน ปวดหัว ปวดเมื่อยตามสวนตางๆ ของรางกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ อาการทองผูก ทองเสียบอย นอนไมหลับ หอบหืด เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เปนตน ผลตอ สุขภาพจิตใจ นําไปสูความวิตกกังวล ซึมเศรา กลัวอยางไรเหตุผล อารมณ ไมมั่นคง เปล่ยี นแปลงงา ยหรอื โรคประสาทบางอยา ง 2.3.2 สาเหตุของความเครยี ด 1) สภาพแวดลอ มทัว่ ไป เชน มลภาวะ ไดแก เสียงดังเกินไปจาก เครื่องจกั ร เครอ่ื งยนต อากาศเสยี จากควนั ทอ ไอเสยี น้าํ เสีย ฝนุ ละออง ยาฆาแมลง การอยกู ัน อยางเบียดเสยี ดยัดเยียด เปน ตน 2) สภาพเศรษฐกิจที่ไมน า พอใจ เชน รายไดนอ ยกวารายจาย เปน ตน 3) สภาพแวดลอมทางสังคม เชน การสอบแขงขันเขาเรียน เขาทํางาน เลอื่ นขนั้ เล่ือนตําแหนง เปนตนมีสัมพันธภาพกับคนอ่ืน ๆ ท่ีไมราบรื่น มักมีขอขัดแยง ทะเลาะ เบาะแวงกับคนอ่ืนเปนปกติวิสัยความรูสึกตนเองต่ําตอยกวาคนอ่ืน ตองพยายามตอสูเอาชนะ ตอ งการมอี ํานาจเหนือผูอนื่ 2.3.3 วธิ ลี ดความเครียด 1) วธิ ีแกไขท่ีปลายเหตุ ไดแ ก การใชย า เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลด กรดในกระเพาะ ยากลอ มประสาท แตวิธีการดังกลาวไมไดแกไขความเครียด ที่ตนเหตุ อาจทําให ความเครยี ดน้นั เกดิ ขึ้นไดอ กี 2) วิธีแกไขท่ีตนเหตุ ไดแก แกไขเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตท่ีเอ้ืออํานวย ตอการกอใหเ กิดความเครียด เชน หางานอดเิ รกท่ีชอบทาํ ฝกการออกกําลงั กาย บรหิ ารรางกาย แบบงาย ๆ เปน ตน 3) เปลย่ี นแปลงนสิ ยั และทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอ นปรน ลดความเขมงวดในเรือ่ งตา งๆ 4) หาความรคู วามเขาใจเกย่ี วกับโภชนาการ 5) สาํ รวจและเปลี่ยนแปลงทัศนคติตอตัวเองและผูอื่น เชน มองตัวเอง ในแงด ี มองผูอนื่ ในแงด ี เปน ตน

98 6) สํารวจและปรับปรุงสัมพันธภาพตอคนในครอบครัวและสังคม ภายนอก 7) ฝกผอนคลายโดยตรง เชน การฝกหายใจใหถูกวิธี การฝกสมาธิ การนวด การออกกําลังกายแบบงายๆ การฝกผอนคลายกลามเน้ือ การสํารวจทานั่ง นอน ยืน เดนิ การใชจ ติ นาการ นึกถึงภาพทรี่ นื่ รมย เรอ่ื งท่ี 3 การประยกุ ตใชท กั ษะชวี ติ ในการทํางาน การปรบั ตัวและการแกป ญ หาชีวิต ปญ หาตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในชีวติ เปนสาเหตหุ น่งึ ที่กระตนุ ใหคนเราเกิดความเครียดการมี ความสามารถในการแกป ญหาไดเ รว็ และมปี ระสทิ ธิภาพมากเทา ใดกจ็ ะหายเครยี ด ไดม ากและ เร็วข้ึน การเรียนรูวิธีแกปญหาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพจึงเปนสิ่งจําเปนตอการคลาย ความเครียดในลกั ษณะตา งๆ ดังน้ี 1. แสดงสีหนาทาทาง คําพูด หรือแสดงอารมณตอบโตออกมาทันที วิธีการชวย ปลดปลอ ยความเครยี ดของตนเองได แตอาจทําใหคนรอบขางเครียด หรือเกิดความขัดแยงกับ ผอู ื่นได จึงควรฝกระงบั อารมณแ ละคดิ กอนทํา 2. ทาํ กจิ กรรมตาง ๆ เพ่อื คลายเครียด เชน ออกกําลังกาย เลนดนตรี การปลูกตนไม ทําให หายเครียดไดช่ัวคราว เมื่อปญหายังไมไดรับการแกไขความเครียดก็ยังคงอยูและอาจมีปญหา อื่นๆ เพม่ิ มาอกี 3. การขอความชวยเหลือจากผูอ ่นื วธิ ีนีม้ สี ว นดคี ือทําใหมีความรูสึกอบอุนใจวาไมได ถูกทิ้งแตควรลองหัดแกปญหาดวยตนเองเสียกอน ถาแกไขไมไดจริง ๆ จึงขอความชวยเหลือ จากผอู นื่ 4. การยอมรบั วา เปน ความผิดของตนเอง 5. การโทษวา ปญหาทเ่ี กดิ ขึ้นเปนความผดิ ของผูอ ื่น 6. คดิ แกปญหาและลงมอื แกปญหาตามทคี่ ิดไว เร่อื งที่ 4 การแนะนํากระบวนการทกั ษะชวี ติ ในการแกไ ขปญ หากบั ผอู น่ื 4.1 วิธีจดั การกบั อารมณแ ละความเครยี ดทเี่ กิดจากสาเหตทุ างรางกาย 4.1.1 รว มกิจกรรมนันทนาการกบั บคุ คลอื่น 4.1.2 ออกกําลังกายสมา่ํ เสมอ 4.1.3 พกั ผอนใหพ ยี งพอ 4.1.4 หลีกเลีย่ งส่งิ เสพติดทุกชนิด

99 4.1.5 รบั ประทานอาหารทเี่ ปนประโยชน 4.2 วธิ ีจัดการกับอารมณและความเครยี ดที่เกดิ จากสาเหตุทางจิตใจ 4.2.1 สกู ับปญหาเผชญิ หนากับความจรงิ แกป ญหาดว ยเหตุผล 4.2.2 มั่นใจในความสามารถของตนเอง 4.2.3 ควบคมุ อารมณของตนเองได 4.2.4 ทาํ จติ ใจใหสดช่ืนแจม ใส 4.2.5 ไมวิตกกังวลกบั เรือ่ งที่ยงั มาไมถงึ 4.2.6 มองโลกในแงด ี คิดบวก 4.2.7 เชื่อฟง พอแม ครู อาจารย 4.2.8 ใชหลกั ธรรมในศาสนาเปนทีพ่ ึ่งทางใจ 4.2.9 ใชเ วลาวา งใหเปน ประโยชน 4.3 เทคนิคการจดั การอารมณและความเครียด เชน 4.3.1 การฝกสมาธิแบบอยูกับที่ เปนการฝกรวบรวมจิตใจใหมีพลัง เมื่อฝกปฏิบัติไดถูกวิธีจะชวยเสริมสภาพจิตใจ ใหเกิดความสงบหนักแนน มั่นคง จิตใจพลัง เขมแข็ง สามารถขจดั ความเครยี ดได เชน การน่ังสมาธิ นับลมหายใจเขา – ออก 4.3.2 การฝกสมาธิแบบเคล่ือนไหว เชน การวิ่งสมาธิ หมายถึง การวิ่งเหยาะ ๆ พรอมทําสมาธดิ ว ยการกาํ หนดจิตและภาวนา “ พทุ ธ – โธ ” ในระหวางทีห่ ายใจเขาออก เพ่ือเปน การออกกาํ ลงั กายและออกกําลงั จติ ไปพรอมกับวิธีการฝก สมาธิ

100 กจิ กรรมทา ยบทที่ 8 กจิ กรรมที่ 1 จงตอบคําถามตอไปน้ี 1. ทกั ษะชีวติ 10 ประการมีอะไรบางจงอธบิ าย 2. จงยกตัวอยางของทกั ษะชีวติ ที่ผูเ รยี นคิดวาจาํ เปน ในการดาํ รงชวี ติ มาอยา งนอ ย 3 ประการ พรอ มทง้ั ใหเ หตุผลประกอบมาพอสงั เขป 3. ผเู รยี นมีวิธีการจดั การกบั ความเครียดของตนเองอยา งไร จงอธบิ าย 4. หากเพือ่ นของผเู รียนมีความเครยี ด ผเู รียนจะแนะนาํ ใหเ พอื่ นจัดการกับความเครยี ด ไดอยางไรบา ง

101 บทท่ี 9 อาชพี ผลติ จําหนา ยอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สุขาภบิ าล สาระสาํ คัญ มีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารสําเร็จรูป ขั้นตอนการ ดําเนินการธรุ กจิ การจดั ตกแตงราน การวางสินคา และคุณสมบัติของรานอาหารหรือสถานท่ี จาํ หนายอาหารสําเร็จรูปตามหลักสขุ าภิบาล ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวงั 1. อธบิ ายความหมาย และลักษณะธุรกิจผลิตและจาํ หนา ยอาหารสําเรจ็ รปู ได 2. อธบิ ายขั้นตอนการดําเนนิ การของธุรกจิ ผลิตและจําหนายอาหารสําเรจ็ รูปได 3. อธบิ ายการจดั ตกแตงรา นและการวางสนิ คาตามหลักสขุ าภิบาล 4. บอกคุณสมบัติของรานอาหารหรือสถานท่ีจําหนายอาหารสําเร็จรูปตามหลัก สขุ าภบิ าล ขอบขายเน้ือหา เร่อื งท่ี 1 ลกั ษณะธุรกจิ ผลติ อาหารสาํ เร็จรูป เรอื่ งท่ี 2 วิธกี ารดําเนินงานของธุรกจิ ผลติ และจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รปู เรื่องท่ี 3 คุณสมบตั ิรานอาหารหรือสถานท่จี ําหนายอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สุขาภิบาล

102 เรื่องที่ 1 ลักษณะธุรกจิ ผลติ อาหารสําเรจ็ รปู ประเทศไทยมีผลผลิตจากการเกษตรกรรมประเภทอาหารท่ีหลากหลาย ซ่ึงข้ึนอยู กับศักยภาพแตละภูมิภาคที่แตกตางกันไป การนําผลผลิตจากการเกษตรมาแปรรูปเปน ผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป แลวกระจายสินคาสูตลาดผูบริโภคตลาดภายในประเทศ ตลาด อาเซยี น และตลาดในภูมภิ าคอนื่ ท่วั โลก เปนอีกชองทางหน่งึ ทีท่ าํ ใหเกดิ อาชีพสําหรบั ผทู ส่ี นใจ การถนอมอาหารในปจจุบนั ใชวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีเพื่อแปรรูปวัตถุดิบจํานวน มากพรอม ๆ กันเปนผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปหรือก่ึงสําเร็จรูป หรือปรับปรุงกรรมวิธีการ ถนอมอาหารสมัยโบราณใหไดผ ลิตภัณฑทมี่ คี ุณภาพดขี ้ึนทัง้ ในดา นความสะอาด สี กลิ่น รส เน้ือ สัมผัส และเพื่อยดื อายกุ ารเกบ็ อาหารน้ันใหไดนาน เทคโนโลยกี ารถนอมผลิตผลการเกษตรตอง อาศยั ความรูทางวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ความรูพ้ืนฐานทางสังคมธุรกิจและการจัดการควบคูกับ ความรูในการแปรรูปผลิตผลการเกษตร ใหเปนผลิตภัณฑชนิดใหม หรือปรับปรุงของเดิมใหดี ยงิ่ ขนึ้ ท้ังในลกั ษณะทม่ี องเห็นหรือสมั ผสั ได เชน สี กล่ิน ความนมุ ความเหนียว รวมทั้งส่ิงท่ีมอง ไมเห็น เชน คณุ คาทางโภชนาการ ผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีไดผานขั้นตอนการหุงตม หรือ กระบวนการ แปรรูปผลิตผลการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีเพื่อใหอาหารน้ันสามารถเก็บไดเปน เวลานานพอสมควรโดยไมเนาเสยี สามารถดืม่ หรือรบั ประทานไดท ันทีเมอื่ ตองการจะอุนหรือไม อุนใหรอนกอนรับประทานก็ได ผลิตภัณฑประเภทนี้ที่รูจักกันแพรหลาย คือ อาหารบรรจุ กระปอง เชน สับปะรดกระปอ ง หรอื บรรจกุ ลอ ง เชน นมสด เปน ตน ผลิตภัณฑอาหารกึ่งสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีไดผานขั้นตอนการหุงตมหรือ กระบวนการแปรรูปแลว และสามารถเกบ็ ไวไ ดนานเชนเดียวกัน จะตองนําไปหุงตมและปรุงรส หรอื ปรงุ แตง กอนจงึ จะรับประทานได เชน นํ้าผลไมเขมขน ซ่ึงตองผสมนํ้ากอนดื่ม น้ําพริกแกง เปนตน การแปรรูปหรือการถนอมอาหาร โดยหลักใหญ คือ การทําลายหรือฆา เช้ือจุลินทรียที่มีอยูหรืออาจเกิดข้ึนในอาหาร และทําใหเกิดการเนาเสียใหหมดไป ปจจุบัน ผลิตผลการเกษตรมีมากขึ้น และประชากรมากข้ึนจึงไดมีการศึกษาคนควาและทดลองใช เทคโนโลยี เพ่อื ถนอมผลิตผลการเกษตรใหสามารถเก็บไวไดนาน เชน การใชความรอนจากไอ น้ําเพ่ือฆาเช้ือจุลินทรียในการทําอาหารกระปอง การใชรังสีแกมมา เพ่ือยับยั้งหรือทําลาย ปฏิกิริยาของเอนไซมทาํ ใหการเปลี่ยนแปลงทางเคมีชาลง และเปนการทําลายการเจริญเติบโต ของจลุ นิ ทรีย กรรมวิธีการถนอมอาหารทใ่ี ชก นั มากในปจจุบนั คือ

103  การถนอมอาหารโดยใชความรอ นสูง เชน ผลติ ภัณฑอ าหารกระปอ ง เปนตน  การถนอมอาหารโดยใชค วามเย็น เชน ผลติ ภณั ฑอาหารเยือกแขง็ เปนตน  การถนอมอาหารโดยการทําใหแหง เชน ปลาหยอง กาแฟผง เปน ตน  การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง เชน ซอี วิ้ นํา้ สม สายชู เปนตน  การถนอมอาหารโดยใชร ังสี เชน หอมหวั ใหญอาบรังสี เปนตน เรื่องท่ี 2 วิธีการดาํ เนนิ งานของธุรกจิ ผลิตและจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รปู การดําเนนิ งานของธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารสาํ เรจ็ รปู อาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูป คือ กระบวนการเคล่ือนยายผลิตภัณฑจากผูผลิต อาหารสําเร็จรูปไปยังผูบริโภค โดยคํานึงถึงหลักสุขาภิบาล ต้ังแตข้ันตอนการผลิต การบรรจุ หีบหอ บรรจภุ ัณฑ การขนสง และการจัดเกบ็ เพือ่ รอจาํ หนา ย กระทง่ั ผลิตภณั ฑ ถึงผบู ริโภค ดงั รูป กระบวนการผลติ การขนสง และ ผบู ริโภค และบรรจภุ ณั ฑ เก็บรกั ษา ชองทางการจดั จําหนาย ประกอบดว ย ผูผลิต คนกลาง และผูบริโภค ซ่ึงอาจจะใชชอง ทางตรง จากผูผลติ ไปยงั ผบู ริโภค และใชชองทางออม จากผูผลิต ผานคนกลาง ไปยังผูบริโภค ดงั รปู ผูผ ลติ ผบู ริโภค ผูผ ลติ คนกลาง ผบู รโิ ภค

104 ตลาดผลติ ภณั ฑอาหารสาํ เร็จรปู 1. ตลาดภายในประเทศ 2. ตลาดระหวา งประเทศระดบั อาเซยี น 3. ตลาดระหวางประเทศระดบั ภมู ภิ าคอ่ืนทั่วโลก สวนประสมทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง การดําเนินงานเกี่ยวกับ การผลิต การจําหนาย การกําหนดราคา และการสงเสริมการขายไดสัดสวนกัน เหมาะสมกับ ความตองการของลูกคา สภาพการแขงขนั และสอดคลอ งกบั ความตองการของสงั คม 1. Product หมายถึง ผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปถูกหลักสุขาภิบาลและตรงตามความ ตองการของลูกคา 2. Price หมายถึง ราคามีความเหมาะสม ลูกคาพึงพอใจและยอมรับ 3. Place หมายถงึ การจัดจําหนายโดยพิจารณาชองทางการจําหนาย หรือขายผานคน กลาง หรือพิจารณาการขนสง วามบี ทบาทในการแจกตัวอยางสินคาไดอยางไร หรือขั้นตอนการ เกบ็ รกั ษาเพื่อรอจาํ หนาย ทั้งนี้ตอ งคํานึงถงึ หลักสุขาภิบาล 4. Promotion หมายถึง การสงเสริมการตลาด การใชส่ือตางๆ ใหเหมาะสมกับตลาด เปาหมาย หรือการส่ือสารใหลูกคาไดทราบสถานที่จัดจําหนายสินคา ราคา ซ่ึงประกอบดวย กระบวนการ คอื การขายโดยใชพ นกั งานขาย การสงเสริมการขายดวยวิธีการแจกของตัวอยาง แจกคูปอง ของแถม การใชแสตมปเพื่อแลกสินคา ตลอดจนการใหรางวัลตาง ๆ และการ ประชาสัมพันธ รูปแบบการขาย 1. การขายสง หมายถึง การขายสินคาใหกับผูซ้ือ โดยการขายแตละครั้งจะมีปริมาณ จํานวนมาก เพื่อใหราคาสินคา มรี าคาถกู มากพอที่จะนําไปขายตอได 2. การขายปลกี หมายถงึ การขายสินคาและบริการแกลูกคาที่ซ้ือสินคาและบริการไป ใชส นองความตองการของตนเองโดยตรง มิใชเพอื่ ธรุ กจิ การขายตอ 3. การขายตรง หมายถงึ การทาํ ตลาดสนิ คา หรือบริการในลกั ษณะของการนําเสนอขาย ตอผูบริโภคโดยตรง ณ ที่อยอู าศยั หรอื สถานที่ทาํ งานของผูบริโภคหรือของผูอ่ืน หรือสถานที่อ่ืน ที่มใิ ชสถานท่ปี ระกอบการคาเปน ปกตธิ รุ ะโดยผานตวั แทนขายตรงหรือผูจําหนายอิสระชั้นเดียว หรือหลายช้ัน

105 การเลือกทําเลสําหรับการประกอบอาชีพ สิ่งแรกที่ตองทํากอน คือ การหาทําเลท่ีดี เหมาะสมกบั ธุรกิจ โดยจะตองคํานึงถึง แหลงประกอบการหรือผูผลิต ปริมาณลูกคา และการ คมนาคมทสี่ ะดวก พฤตกิ รรมผบู ริโภคกับชอ งทางการจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รูป พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การแสดงออกรวมท้ัง กระบวนการในการตดั สนิ ใจของแตละบุคคลท่เี กย่ี วขอ งโดยตรงกบั การใชสินคาและบริการ ประโยชนข องการศกึ ษาพฤตกิ รรมผบู ริโภค 1. ชวยใหนกั การตลาดเขาใจถงึ ปจจยั ทม่ี อี ิทธิพลตอการตดั สนิ ใจซื้อสนิ คาของผูบรโิ ภค 2. ชวยใหผูเก่ียวของสามารถหาหนทางแกไขพฤติกรรมในการตัดสินใจซ้ือสินคาของผูบริโภคใน สงั คมไดถกู ตอ ง และสอดคลอ งกบั ความสามารถในการตอบสนองของธรุ กิจมากย่งิ ขน้ึ 3. ชว ยใหก ารพัฒนาตลาดและการพัฒนาผลติ ภัณฑส ามารถทาํ ไดดีขึ้น 4. เพือ่ ประโยชนใ นการแบงสวนตลาด เพือ่ การตอบสนองความตอ งการของผบู รโิ ภค ให ตรงกบั ชนิดของสินคาทตี่ อ งการ 5. ชว ยในการปรับปรุงกลยุทธก ารตลาดของธรุ กิจตา ง ๆ เพ่อื ความไดเ ปรียบคูแ ขง การประเมนิ ความพงึ พอใจของผบู รโิ ภค ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรสู ึกภายในจติ ใจของมนษุ ยซ่งึ จะไมเ หมือนกัน ซึ่งขึ้นอยู กบั แตละบคุ คลวาจะคาดหมายกับส่ิงหนึ่งส่ิงใด ถาคาดหวังหรือมีความต้ังใจมากเมื่อไดรับการ ตอบสนองดว ยดี จะมคี วามพึงพอใจมาก แตใ นทางตรงขามอาจผิดหวังหรือไมพึงพอใจเปน อยาง ยิ่งเม่ือไมไดร บั การตอบสนองตามทีค่ าดหวังไวหรือไดรับนอยกวาท่คี าดหวงั ไว ทัง้ น้ขี น้ึ อยกู ับสิ่งท่ี ต้งั ใจไววาจะมมี ากหรอื มนี อ ย ปจจัยสาํ คัญเพื่อประเมินคณุ ภาพของการบรกิ าร 1. ความสะดวก หมายถึง ความสะดวกในการเขาพบหรือติดตอกับผูใหบริการ ซง่ึ ครอบคลมุ ทั้งเวลาเปด ดาํ เนินการ สถานทีต่ ้ังและความสามารถอํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภคใน การเขา พบหรอื ตดิ ตอกับผูใหบริการ เชน สถานที่ใหบริการต้ังอยูในที่ที่สะดวกแกการไปติดตอ เปนตน 2. การติดตอ สอ่ื สาร หมายถงึ การส่อื สารและใหขอ มลู แกล กู คา ดว ยภาษาท่ีงา ยตอการ เขาใจและการรับฟงความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะ หรือคําติชมของลูกคาในเรื่องตาง ๆ ทเ่ี กย่ี วของกบั การใหบรกิ ารขององคการ

106 3. ความสามารถ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมคี วามรู ความสามารถ และทักษะท่จี ะ ปฏิบัตงิ านบรกิ ารไดเ ปนอยางดี เชน ความรแู ละทกั ษะใหข อ มูลผลิตภณั ฑ เปนตน 4. ความสุภาพ หมายถงึ การทผี่ ูใหบริการมีความสุภาพเรียบรอย มีความนับถือ ในตัว ลกู คา รอบคอบ และเปนมิตรตอผูบ รโิ ภค เชน การใหบริการ ดวยใบหนาท่ียิ้มแยมแจมใส และ การสือ่ สารดว ยความสภุ าพ เปนตน 5. ความนา เช่อื ถือ หมายถงึ ความเชอื่ ถือไดและความซื่อสัตยของผูใหบริการ ชื่อเสียง และภาพลักษณท ่ีดี 6. ความคงเสน คงวา หมายถึง ความสามารถในการปฏิบตั งิ าน ทไ่ี ดสญั ญาไวอ ยา ง แนนอนและแมนยํา เชน การใหบ ริการตามทไ่ี ดแจง ไวก บั แกลกู คา เปน ตน 7. การตอบสนองอยางรวดเร็ว หมายถึง ความเต็มใจของผูใหบริการที่จะใหบริการอยาง รวดเร็ว เชน การใหบรกิ ารแกผูรบั บรกิ าร ณ เคานเ ตอรจ ายเงินแบบทนั ทที นั ใด เปนตน การจดั ตกแตงรานและการจดั วางสนิ คาอาหารสําเรจ็ รปู ตามหลกั สุขาภิบาล การจัดตกแตงรานคา มีความสําคญั ตอ งคาํ นงึ ถึง ส่ิงตอ ไปน้ี 1. แสงสวางภายในรา น แสงสวา งธรรมชาติมักไมเพียงพอและแสงแดดมักทําความเสียหายใหแก สนิ คา การใชแสงไฟฟา แมจ ะมีคา ใชจ า ยสูง แตกจ็ ูงใจลูกคาใหเ ขามาซือ้ สินคาไดม ากกวาในราน ควรเลือกใชแสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต กอนตัดสินใจเรื่องแสงสวางควรรูวาคาไฟฟาจะเปน เทาไหร และตองใชจ ํานวนกดี่ วง ถงึ จะคมุ คา กับการขายสินคา ดว ย 2. การตกแตงสีภายนอกและภายในราน นอกจากการทาสีรานคาใหสดใสสวาง สวยงามแลว สีของหีบหอ และตัวสินคาก็สามารถนํามาตกแตงใหรานคาดูดีข้ึนจะตองใหผูคน เห็นสินคา ชัดเจนและสวยงาม 3. การจดั วางสนิ คาบริเวณทางเขา ราน ใกล ๆ ทางเขาราน เปนที่เหมาะสําหรับจัดวาง สนิ คา ทีต่ องการเสนอขายเปน พิเศษ เพราะเปน ท่ที ี่ลกู คา ทุกคนตองเดินผานเขาออก จึงตองจัด สนิ คาไวบ ริเวณนใี้ หเตะตาจริง ๆ โดยเฉพาะบริเวณโตะชําระเงินที่ลูกคาเขาแถวรอ ท่ีจะชําระเงิน ควรหาของเล็ก ๆ นอ ย ๆ ทีล่ ูกคา อาจลืมซอื้ มาจัดวางไว 4. การจดั หมวดหมขู องสนิ คา สนิ คาทมี่ ีลกั ษณะคลา ยคลึงกัน หรือใชร ว มกันจะตองจัดวาง ไวดวยกัน เชน น้ําดื่ม เคร่ืองด่ืมประเภทนํ้าอัดลม ประเภทขนมปงสด และ เบเกอรี่ ขนมขบ เคยี้ ว เปนตน 5. การติดปายบอกประเภทของสินคา เพ่ือใหรูวาสินคาอยูที่ใด เปนการติดปายบอก ชนิดของสินคาตามท่จี ัดไว เปนหมวดหมแู ลว เพ่ือสะดวกในการคนหาสินคาตามที่ลูกคาตองการ

107 อาจจะติดไวตามผนังหอง และกึ่งกลางเหนือชั้นวางของ สินคาใดวางจุดใด ควรวางอยูเปน ประจาํ และไมค วรเปล่ียนแปลงทวี่ างสนิ คาบอ ยเกินไป เพราะจะทําใหลูกคาตองเสียเวลาคนหา ในคร้ังตอ ไปที่แวะเขามาซื้อสินคาทีร่ า น 6. การตดิ ปายราคาสนิ คา ปจจุบันลูกคาสว นใหญม กั สนใจในรายละเอียดของสินคาเพ่ิม มากข้ึน ทั้งรูปแบบของบรรจุภัณฑ ชื่อสินคา คําแนะนําการใชผลิตภัณฑน้ันๆ วันผลิตและวัน หมดอายุ ดังน้ันจะตองติดปายบอกราคาเพ่ิมใหกับตัวสินคาซึ่งเปนส่ิงสําคัญท่ีสุดลงไปดวย ตอ งติดราคาบอกไวบ นตวั สนิ คาทกุ ช้ินใหชดั เจนพอท่ีลูกคาและพนักงานเก็บเงินจะอานได หรือ สินคาบางประเภทที่ขายกันเปนจํานวนมาก อาจจะติดราคาในรูปของแผนปายหรือโปสเตอร จะเปนการชวยประหยัดแรงงานและเวลาได หากเปนสนิ คา ชนิดเดยี วกันแตตางย่ีหอกัน อาจจะ ติดราคาไวท่ีช้ันวางสินคาจะชวยใหลูกคาเห็นและเปรียบเทียบราคากันได ถึงแมวาจะตองใช เวลาและแรงงานในการติดราคากันใหม เม่ือสินคามีราคาเปลี่ยนแปลงใหม แตก็เปนการให ประโยชนและรายละเอียดเพิ่มเติมรวมถึงความสะดวกกับลูกคาท้ังยังเปนการสะดวกในการ เรยี กเกบ็ เงนิ คาสนิ คาอีกดว ย การจดั วางสนิ คา มคี วามสาํ คญั ตอ การจงู ใจลกู คาใหเลือกซื้อสนิ คา เพอ่ื ใหส ะดวกและ เกิดความพึงพอใจควรคํานึงถงึ สง่ิ ตอไปน้ี 1. ความพงึ พอใจของลกู คา 2. จัดสินคาไวในบริเวณทเ่ี ราจะขาย 3. จัดสนิ คา ไวใ นระดับสายตาใหมากทีส่ ดุ 4. จดั สนิ คาดา นหนาบนชั้นใหเ ตม็ อยเู สมอ 5. ชน้ั ปรบั ระดับไดต ามขนาดของสินคาจะเปนการดี 6. การใชกลอ งหนุนสนิ คา ใหด งู ดงามแมจะมสี นิ คาไมม ากนกั 7. ความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย สินคา บางชนิด มีหลายแบบ หลายขนาด ควรจัดใหเปน ระเบียบสะดวกในการเปรียบเทียบของลูกคา ดังนั้น สินคาท่ีเหมือน ๆ กันควรเอาไวดวยกัน และควรจัดตามแนวนอนอยใู นระดบั เดียวกนั หรอื จะจดั ในแนวดง่ิ ดวยก็ได 8. สินคามากอนตองขายกอน เราตองขายสินคาเกากอนสินคาใหมเสมอ พยายามวาง สนิ คา มากอนไวแ ถวหนา เสมอ ควรทําสินคา ท่ีมากอ นใหด สู ดใสสะอาดเหมือนสินคา ใหม 9. ปอ งกันหลกี เลยี่ งการร่ัวไหลของสินคา โดยการจัดวางผังทางเดินภายในรานใหลูกคา เดนิ ไปมาไดสะดวก คือ หยิบก็งาย หายก็รู สินคาบุบ ชํารุด ใกลหมดอายุควรจัดเปนสินคาลด ราคาพเิ ศษ ลางสตอ็ กดวยการจัดแยกขายไวตา งหาก

108 การจดั การและดแู ลสนิ คาตามหลกั สุขาภบิ าล การจดั การสินคา หมายถงึ การจดั สงสนิ คาใหผูรับเพ่ือกิจกรรมการขาย เปาหมายหลัก ในการบรหิ ารดาํ เนนิ ธุรกจิ ในสวนทเ่ี กี่ยวขอ งกบั สินคาเพอื่ ใหเกดิ การดําเนินการเปน ระบบใหคุม กบั การลงทุน การควบคุมคณุ ภาพของการเก็บ การหยิบสินคา การปองกัน ลดการสูญเสียจาก การดําเนนิ งานเพอื่ ใหตนทุนการดําเนินงานต่ําทสี่ ดุ และการใชประโยชนเตม็ ที่จากพื้นท่ี เร่ืองที่ 3 คณุ สมบัตริ านอาหารหรือสถานที่จาํ หนายอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สขุ าภิบาล 1. สถานท่ีรับประทานอาหาร เตรียม - ปรุง - ประกอบอาหาร ตองสะอาด เปนระเบยี บ และจดั เปน สดั สวน 2. ไมเตรียมปรุงอาหารบนพ้ืนและบริเวณหนา หรือใกลหองนํ้า หองสวม และตอง เตรยี มปรุงอาหารบนโตะ ที่สงู จากพ้ืน อยา งนอ ย 60 เซนตเิ มตร 3. ใชสารปรุงแตงอาหารที่มีความปลอดภัย มีเคร่ืองหมายรับรองของอาหารจากทาง ราชการ เชน เลขสารบบอาหาร เคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.) 4. อาหารสดตองลางใหสะอาดกอนนํามาปรุง หรือเก็บรักษา การเก็บอาหาร ประเภทตา งๆ ตอ งแยกเก็บเปนสดั สว น อาหารประเภท เนื้อสัตวด บิ ตองเก็บรักษาไวท่ีอุณหภูมิ ตํา่ กวา 5 องศาเซลเซยี ส 5. อาหารท่ีปรุงสําเร็จแลว เก็บรักษาไวในภาชนะที่สะอาดมีการปกปด วางสูงจาก พ้ืนอยางนอย 60 เซนตเิ มตร 6. นาํ้ แข็งที่ใชบริโภคตองสะอาดเก็บในภาชนะท่ีสะอาดมีฝาปด ใชอุปกรณที่มีดาม สาํ หรับคบี หรือตัก โดยเฉพาะวางสูงจากพนื้ อยา งนอย 60 เซนติเมตร และตองไมมีสิ่งของอยาง อน่ื แชรวมไว 7. ลางภาชนะดวยน้ํายาลางภาชนะแลวลางดวยน้ําสะอาด 2 ครั้ง หรือลางดวยน้ํา ไหล และทลี่ า งภาชนะตอ งวางสูงจากพ้ืนอยา งนอ ย 60 เซนตเิ มตร 8. เขียงและมีด ตองมีสภาพดี แยกใชระหวางเน้อื สตั วสกุ เน้อื สตั วด บิ และผกั ผลไม 9. ชอน สอม ตะเกียบ วางต้ังเอาดามข้ึนในภาชนะโปรง สะอาด หรือวางเปน ระเบยี บในภาชนะโปรง สะอาดและมีการปกปด เกบ็ สงู จากพ้ืนอยางนอ ย 60 เซนตเิ มตร 10. ขยะมลู ฝอย และนาํ้ เสยี ทุกชนดิ ไดร บั การกาํ จดั ดวยวิธีทถ่ี ูกหลกั สุขาภิบาล 11. หองสว มสําหรบั ผูบรโิ ภคและผูท สี่ มั ผัสอาหารตองสะอาด มีอางลางมือท่ีใชการ ไดดี และมสี บูใชต ลอดเวลา

109 12. ผูที่สมั ผสั อาหารตองแตงกาฝยสะอาด สวมเสอื้ มีแขน ผูปรงุ อาหารตองผูกผากัน เปอ นท่สี ะอาด สวมหมวกหรือเนท็ คลุมผม 13. ผูท่ีสัมผัสอาหารตองลางมือใหสะอาดกอนเตรียมปรุง ประกอบ และจําหนาย อาหารทกุ ครัง้ ใชอุปกรณใ นการหยิบจบั อาหารทปี่ รุงสาํ เร็จแลว ทกุ ชนิด กจิ กรรมทายบทท่ี 9 กิจกรรมท่ี 1 จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี (4 คะแนน) 1. ผลติ ภัณฑอาหารสาํ เรจ็ รปู หมายถงึ 2. ผลิตภณั ฑอ าหารกึ่งสาํ เร็จรปู หมายถึง 3. การแปรรปู หรือการถนอมอาหาร หมายถึง 4. จงอธบิ ายหลักการดําเนนิ งานของธุรกจิ ผลิตและจําหนา ยอาหารสําเร็จรปู 5. จงยกตวั อยา งการจดั ตกแตงรานและการวางสนิ คา ตามหลักสขุ าภิบาล 6. จงบอกคณุ สมบัติของรานอาหารหรือสถานทจ่ี าํ หนา ยอาหารสําเรจ็ รปู ตามหลัก สุขาภบิ าล

110 เฉลยกจิ กรรมทา ยบทที่ 1 แนวตอบกิจกรรมที่ 1 แนวตอบขอท่ี 1. ยกตัวอยางเชน ระบบหายใจ เปนกระบวนการนําออกซิเจนในอากาศเขาสูปอด โดยออกซเิ จนจะไปสลายสารอาหารและไดพ ลงั งานออกมารวมถึงการกําจดั คารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนของเสยี ออกจากรางกาย ประกอบดวยอวัยวะตา งๆ ดังน้ี 1. จมูก (Nose) ภายในจะมีเยอื่ บจุ มกู และขนจมกู ซ่ึงชว ยกรองฝุนละออก 2. คอหอย (Pharynx) หลอดอาหารและหลอดลมจะมาพบกนั ท่ีคอหอย 3. กลอ งเสยี ง (Larynx) อยูโคนลิน้ เขา ไป ในผชู ายเรยี กวาลกู กระเดือก 4. หลอดลม (Trachea) อยูตอจากกลองเสียง ผนังดานในจะมีเมือกคอยกักฝุน ละอองไมใหผ า นเขาไปถงึ ปอด 5. ข้ัวปอด (Bronchus) มี 2 ขา งอยูปลายสดุ ของหลอดลม 6. ปอด (Lung) จะอยูภายในทรวงอกทั้ง 2 ขาง ลักษณะคลายฟองน้ํามีความ ยดื หยุนมาก ภายในปอดจะมีถุงลม (Alveolus) ซงึ่ เปนจดุ และเปลยี่ นอากาศดแี ละอากาศเสยี การดแู ลปองกนั ความผิดปกติของระบบหายใจ 1. หลีกเลยี่ งทีท่ ่ีอากาศไมบรสิ ุทธิ์ เพราะจะทําใหไดร บั สารพิษ 2. หาโอกาสไปอยูที่ท่ีอากาศบริสุทธิ์หายใจ เชน ตามทุงนา ปาเขา ชายทะเล เปนตน 3. ไมส ูบบุหร่ี และไมอ ยูใกลค นสูบบุหร่ี 4. ควรตรวจสภาพปอดดวยการเอกซเรยอยางนอ ยปล ะ 1 คร้งั 5. หลกี เล่ียงการอยใู กลช ดิ คนทเี่ ปนโรคติดตอ ทางลมหายใจ 6. เม่อื อากาศเปลย่ี นแปลง ควรรักษาความอบอุนของรางกายอยเู สมอ 7. ออกกําลังกายใหร างกายแขง็ แรงอยเู สมอ จะทําใหความจปุ อดดีขึน้ 8. ถามคี วามผดิ ปกตเิ กย่ี วกับระบบหายใจควรรีบพบแพทย

111 แนวตอบขอ ที่ 2. หลกั การของกระบวนการสรา งเสรมิ และดํารงประสิทธภิ าพการทํางานของระบบตา ง ๆ ในรางกาย มีแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. รักษาอนามัยสว นบคุ คล 2. บรโิ ภคอาหารใหถ ูกตองและเหมาะสม 3. ออกกําลังกายสมาํ่ เสมอ 4. ทําจิตใจใหร าเริงแจม ใสอยเู สมอ 5. หลกี เลี่ยงอบายมุขและสง่ิ เสพติดใหโ ทษ 6. ตรวจเช็ครา งกาย แนวตอบกิจกรรมที่ 2 1. ข 2. ง 3. ง 4. ข 5. ค บทที่ 2 แนวตอบขอ ท่ี 1. หนวยกามโรคและโรคเอดสสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนยหนวยงานกามโรค และโรคเอดส สํานักงานควบคุมโรคติดตอ ศูนยสงเสริมสุขภาพเขต หรือโรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสขุ ของรัฐทวั่ ประเทศ เปนตน แนวตอบขอที่ 2. ความเชื่อที่วา การมีเพศสัมพันธท่ีรุนแรงจะนําไปสูการสุขสมที่มากกวาผูชายที่มี พละกําลังมากๆ จะสามารถมเี พศสัมพันธก บั หญงิ สาวไดร วดเรว็ รนุ แรงและทําใหเ ธอไปถึงจุดสุด ยอดไดงาย รวมทง้ั มีความเขา ใจผิดเสมอๆ วาอาวุธประจาํ กายของฝา ยชายที่ใหญเทาน้ันท่ีจะทํา ใหผูหญิงมีความสุขได แทจริงแลวการมีสัมพันธสวาทท่ีอบอุนเน่ินนานเขาใจกัน ชวยกัน ประคบั ประคองนาวารกั ใหผานคลนื่ ลมมรสุมสวาทจนบรรลุถึงฝงฝนตางหาก ท่ีนําความสุขสม มาสูคนท้ังสองไดม ากกวา

112 แนวตอบขอ ที่ 3. ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กินสบิ ป หรือปรบั ไมเกินสองหมืน่ บาท หรือทั้งจาํ ทั้งปรับ แนวตอบขอท่ี 4. ตอ งระวางโทษจาํ คุกตัง้ แตส ี่ปถึงยส่ี บิ ปและปรับตงั้ แตแ ปดพนั บาทถงึ สหี่ มื่นบาท บทท่ี 3 แนวตอบกจิ กรรมที่ 1 แนวตอบขอท่ี 1. ยกตัวอยา งเชน โรคเหนบ็ ชา สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดวติ ามนิ บี 1 อาการ เบื่ออาหาร ปวดกลา มเน้อื บริเวณนอง รสู ึกชาตามปลายประสาท เชน มอื เทา ออ นเพลยี เทาไมม ีแรง ลุกเดินไมได และอาจมอี าการทางหวั ใจ เชน หอบ เหน่ือยงา ย หรอื หัวใจวาย การปองกนั รบั ประทานอาหารทท่ี ีวิตามินบี 1 เชน ขาวแดง ขา วซอ มมือ เนอ้ื หมู ปลา ไข ถ่วั เมลด็ แหง แนวตอบขอที่ 2. 1. จัดแบง อาหารใหเ ปนอาหารมอื้ ยอย 4–5 มื้อ เพ่อื ลดปญหาการแนน ทอง 2. อาหารควรจะเปน อาหารออ น ยอ ยงา ย รสไมจ ัด 3. อาหารควรเปนอาหารที่มีคุณภาพ ไมไดผานขบวนการขัดสีและควรไดโปรตีน จากปลา 4. เนนใหใชวิธีการน่ึงมากกวาทอด 5. อาหารเสริมที่แนะนํา ควรเสรมิ ผักและผลไมใหมากข้นึ 6. ไมควรใหผูสูงอายรุ บั ประทานอาหารรสเผด็ จัด

113 แนวตอบขอ ที่ 3. 1. ผกั และผลไม เลอื กท่มี ีสภาพดี สด สะอาด ไมช ํา้ ไมเนา ไมมีคราบตกคา งของยา ฆาแมลง การเลือกซือ้ ควรคํานงึ ถึงคุณคา ทางอาหาร ถกู ตอ งตามฤดูกาล 2. เนื้อสัตวชนิดตาง ๆ สด สะอาด สีไมคลํ้า ไมมีกล่ิน และอยูในสภาพดี เชน เนื้อ หมู เน้ือวัว ไมมีกล่ินเหม็นเปร้ียวหรือเปนเมือกลื่น ถามีการเนาเสีย เนื้อวัวจะเสียจากขาง นอกเขา ขางใน สวนเนื้อหมูจะเสียจากขา งในออกมาขางนอก (จึงใหใชมีดจิ้มดมดู) และสังเกต ดตู อ งไมม ีตวั ออนของพยาธิตวั ตืด เปน เมด็ สขี าวคลา ยเม็ดสาคู 3. ปลา เหงอื กมสี แี ดง ครบี เหงอื กปดสนิท บริเวณใตทองสะอาด ไมมีกลิ่นเหม็นและ เมือก ตาเปดโตเต็มที่ เกลด็ ตอ งเปน มัน 4. หอย เปลอื กจะตองปด แนน ไมม กี ล่นิ เหม็น เปลือกตองไมม ีเมือก 5. กงุ หัวและหางจะตอ งไมเ ปนสีชมพู ลาํ ตัวแนน ดสู ดใส 6. ปู ควรเลือกซื้อปทู ี่มีชีวิตกดดตู รงทอง ถาเน้ือแนน จะแขง็ กดไมล ง 7. เนือ้ เปดและไก ตอ งไมม ีกล่นิ เหม็น ไมม รี อยช้ํา 8. ไขสด ผวิ เปลอื กไขเ รียบไมเปนมัน ไมมีรอยแตกราวและสะอาด เมือ่ สอ งดจู ะเห็น ฟองอากาศขางใน แนวตอบกิจกรรมท่ี 2 1. ก 2. ก. 3. ข 4. ค บทที่ 4 แนวตอบกิจกรรมที่ 1 แนวตอบขอท่ี 1. ยกตวั อยา งเชน การเตน แอโรบิก เปนการออกกาํ ลังกายทไ่ี ดร ับความนิยมเปน อยางมาก และเปนการออกกําลังกายท่ีไดเคลื่อนไหวทุกสวนของรางกาย ชวยสรางความแข็งแกรงและ ความอดทนของกลา มเน้อื โดยเฉพาะกลา มเนือ้ หัวใจเทคนิคในการเตน แอโรบกิ มีดังน้ี 1. ตองเคล่ือนไหวรางกายตลอดเวลา เพ่ือใหการเตนของหัวใจอยูในระดับท่ีตองการ 2. ใชเวลาในการเตนแอโรบกิ ครัง้ ละ 20 – 30 นาที สัปดาหละ 3 ครง้ั

114 3. สถานทที่ ี่ใชในการเตนแอโรบิก ควรมีอากาศถายเทไดสะดวก และถาพื้นท่ีใชเตนเปน พ้ืนแข็งผูเ ตน จะตองใสรองเทาสาํ หรบั เตน แอโรบิกโดยเฉพาะ ซึ่งพื้นรองเทาจะชวยรองรับแรง กระแทกได 4. ควรหลกี เลยี่ งทา กระโดด เพราะการกระโดดทําใหเทากระแทกกับพื้น แนวตอบกิจกรรมที่ 2 1. ก 2. ก 3. ข 4. ง บทท่ี 5 แนวตอบกิจกรรมท่ี 1 แนวตอบขอ ที่ 1. โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม หมายถึง ความผิดปกติที่แฝงอยูในหนวยพันธุกรรม ของบิดา มารดา เกิดข้ึนโดยไดรับการถายทอดมาจาก ปู ยา ตา ยาย หรือบรรพบุรุษรุนกอน หรือเกิดข้ึนจากการผาเหลาของหนวยพันธุกรรม ซึ่งพบในเซลลท่ีมีการเปลี่ยนแปลงผิดไป จากเดิม แนวตอบขอ ที่ 2. วธิ กี ารปองกันรักษาโรคที่ถา ยทอดทางพันธกุ รรม ยกตัวอยา งเชน การปอ งกนั โรคธาลัสซเี มีย 1. ควรรบั ประทานอาหารท่ีมีคุณภาพสูงโดยเฉพาะอาหารที่มีธาตุเหล็กเพื่อนําไปสราง เม็ดเลือดแดงและชดเชยเม็ดเลอื ดแดงทเี่ สียไป 2. ไมควรคลุกคลีอยูในท่ีชุมชนแออัด เชน โรงมหรสพ เปนตน เพราะจะทําใหเกิดการ ตดิ เชอื้ ไดงา ยและจะมีอาการแทรกซอนเพิม่ ขึน้ 3. กอ นจะแตงงานคสู มรสตอ งไปตรวจเลือดเสียกอนเพราะโรคน้ีมีอันตรายตอบุตรเปน อนั มากควรมีการคมุ กาํ เนดิ เพอ่ื ปอ งการมีบุตร 4. ในการใชยาควรปรกึ ษาแพทยเน่ืองจากยาบางอยางทําใหโลหิตจางลงมาก เชน ยาง ซัลโฟนาไมต เปน ตน

115 แนวตอบขอ ที่ 3. 1. ปองกนั ไมใ หเ ชือ้ โรคแพรก ระจาย 1.1 ถา ยอจุ จาระและปสสาวะในสว มที่มิดชิดและตอ งทําความสะอาดlมํา่ เสมอ 1.2 ใชผ าเชด็ หนาปด ปากเวลาไอหรอื จาม 1.3 ไมบวนนํา้ ลายหรอื เสมหะตามท่ีตางๆ 1.4 เส้ือผาของผปู วยควรซกั หรอื ตม แลวผึง่ แดดจดั ๆ หรือใชย าฆา เช้อื โรคเพ่ือให ปลอดโรค 1.5 กาํ จัดแหลงที่เปนพาหะของโรค ไดแก กําจัดแหลงที่มีนํ้าขัง กําจัดหนูและ แมลงสาบ ฯลฯ 1.6 หลกี เลยี่ งการอยใู นทแ่ี ออดั 2. การปองกันไมใหเ ชอ้ื โรคเขาสรู างกาย 2.1 ลา งมอื ใหส ะอาดกอ นรับประทานอาหารทุกครงั้ 2.2 รับประทานอาหารสุกใหมๆ และดื่มนํ้าทสี่ ะอาด 2.3 ไมเ ทย่ี วสําสอ น และไมใกลชดิ หรือสมั ผัสกับผูปว ยที่เปนโรคติดตอ 2.4 ระวังไมใ หยุง สุนขั หรอื สัตวอน่ื กดั 3. เสรมิ สรางความตานทานโรค 3.1 รบั ประทานอาหารดี มปี ระโยชนแ ละถกู หลกั โภชนาการ 3.2 พกั ผอนใหเพียงพอ ออกกําลงั กายสม่ําเสมอ 3.3 ฉีดวัคซนี เพอ่ื ปองกนั โรคบางชนดิ เชน คอตบี บาดทะยกั หดั ฯลฯ 3.4 ทําจติ ใจใหสบาย มองโลกในแงดี 3.5 ควรตรวจรา งกายเปน ประจาํ อยา งนอ ยปละคร้ัง การปองกันโรคติดตอทําไดหลายวิธี ถาจะใหไดผลดีตองอาศัยความรวมมือจาก ทกุ ฝา ยเพือ่ ประโยชนของตนเองและสวนรวม ในการปองกันโรคติดตอควรคํานึงถึงแหลงของ เชื้อโรค การแพรก ระจายของเชอ้ื โรคและวธิ ตี ิดตอ ของเชื้อโรคดว ย แนวตอบขอท่ี 4. ปจจุบันมีบริการทางการแพทยและสาธารณสุขที่แพรหลายขยาย ออกไปสูชนบท เมือ่ ไมส บายจงึ ควรปรกึ ษาบคุ ลากรดา นการแพทยแ ละสาธารณสุข ความสําคัญของพฤติกรรม สุขภาพ การปอ งกันโรค และการดํารงสุขภาพสิง่ ทค่ี นเราปฏบิ ัติเกยี่ วกับสขุ ภาพ เชน

116 การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การจัดการความเครียด การพักผอน การสูบบุหร่ี การด่ืมสุรา ฯลฯ เหลาน้ีลวนมีผลตอสุขภาพของบุคคล ซึ่งรวมถึงการเกิดโรคหรือไมเกิดโรค (สขุ ภาพดี) ดวย เมื่อพจิ ารณาดูการปฏิบัตพิ ฤติกรรมสุขภาพที่ไมถูกตองจะพบวาลวนมีผลตอ การเกิดโรคท้ังส้ิน บางโรคเกิดจากการปฏิบัติที่ไมถูกตองอยางเดียว บางอยางเกิดจากการ ปฏบิ ตั ิท่ไี มถูกตองหลายอยาง ดังนั้น เพ่ือใหการดํารงไวซึ่งสุขภาพท่ีดีท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณ และสงั คม จงึ ควรปฏบิ ัติพฤติกรรมสุขภาพท่ีถกู ตอ งเหมาะสม แนวตอบกิจกรรมท่ี 2 1. ง 2. ข 3. ง 4. ข บทท่ี 6 แนวตอบกิจกรรมที่ 1 แนวตอบขอท่ี 1. ยาปฏิชีวนะ (antibiotics) หรือยาตานจุลชีพ หมายถึง ยาท่ีผลิตมาจากส่ิงมีชีวิต เ พ่ื อ ใ ช รั ก ษ า โ ร ค ติ ด เ ชื้ อ ซ่ึ ง แ บ ง อ อ ก เ ป น ก ลุ ม ย อ ย ต า ม คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ย า ในการกําจัดเชื้อแตละชนิด เชน ยาตานเช้ือแบคทีเรีย ยาตานไวรัส ยาตานเช้ือรา ชื่ออ่ืน ท่ใี ชเ รียกยาปฏชิ วี นะ เชน ยาฆา เช้อื หรอื ยาแกอ กั เสบ ยาสมุนไพร คอื ยาท่ีไดจ ากพฤกษชาติ สัตว หรือแรธาตุ ซึ่งมิไดผสมปรุงหรือแปร สภาพ แนวตอบขอ ที่ 2. 1. ใชยาไมถกู ตอ ง เชน ไมถ ูกโรค บคุ คล เวลา วิธี ขนาด นอกจากทําใหการใชย าไม ไดผ ลในการรกั ษาแลว ยังกอใหเ กดิ อันตรายจากการใชยาอกี ดวย 2. ถอนหรือหยุดยาทันที ยาบางชนิดเม่ือใชไดผลในการรักษาแลวตองคอยๆ ลด ขนาดลงทีละนอยจนสามารถถอนยาได ถาหยุดทันทีจะทําใหเกิดโรคขางเคียงหรือโรคใหม ตามมา ตวั อยางเชน ยาเพรดนิโซโลน ยาเดกซาเมธาโซน ถาใชต ิดตอกันนานๆ แลวหยุดยาทันที จะทําใหเกิดอาการเบอ่ื อาหาร คล่นื ไสอาเจียน ปวดทอ ง รา งกายขาดนํา้ และเกลือ เปน ตน

117 3. ใชยารวมกันหลายขนาน การใชยาหลายๆ ชนิดรักษาโรคในเวลาเดียวกัน บางครง้ั ยาอาจเสรมิ ฤทธ์ิกันเอง ทําใหยาออกฤทธิ์เกินขนาด จนเกิดอาการพิษถึงตายได ในทาง ตรงกนั ขาม ยาอาจตา นฤทธ์กิ นั เอง ทําใหไ มไ ดผ ลตอ การรกั ษาและเกิดดอ้ื ยา แนวตอบกจิ กรรมที่ 2 3. ก 1. ก 2. ข บทที่ 7 แนวตอบกิจกรรมท่ี 1 แนวตอบขอ ที่ 1. โทษและภัยตอตัวผูเสพ ฤทธ์ิของสารเสพติดจะมีผลตอระบบประสาทและระบบ อวัยวะตางๆ ของรา งกาย ตลอดจนจติ ใจของผูท่ีเสพเสมอ ดังนั้นจะพบวา สุขภาพรางกายของ ผูที่เสพยาจะทรุดโทรมท้ังรายกายและจิตใจ เชน มีรูปรางผอม ซูบซีด ผิวคลํ้า ไมมีแรง ออนเพลียงาย สมองเส่ือมและความจําสับสน เปนโรคติดเช้ืออ่ืนๆ ไดงาย ไมสนใจตนเอง ไมสนใจการงานหรอื การเรียน และผูเสพบางรายอาจประสบอุบัติเหตุถึงขั้นพิการ เชน พลัดตก จากท่ีสูงขณะทํางาน หกลม อันเน่ืองมาจากฤทธ์ิของยาเสพติดท่ีมีผลตอระบบประสาทและ สมอง โทษและภัยตอ ครอบครัว การตดิ สารเสพติดนอกจากจะทาํ ใหเสอื่ มเสียช่ือเสียงของ ตนเองและครอบครัวแลว ยังทําใหผูเสพกลายเปนบุคคลท่ีขาดความรับผิดชอบตอครอบครัว ไมหวงใยดแู ลครอบครวั ทําใหครอบครัวขาดความอบอุน ตองสูญเสียเศรษฐกิจและรายไดของ ครอบครัว เนอื่ งจากตอ งนําเงนิ มาซือ้ สารเสพตดิ โทษและภัยตอสังคมและเศรษฐกิจ ผูท่ีเสพสารเสพติด นอกจากจะเปนผูท่ีมี ความรสู ึกวาตนเองดอยโอกาสทางสังคมแลว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมที่นําไปสูปญหา สังคมสวนรวมได เชน กอใหเกิดปญหาอาชญากรรม ปญหาอุบัติเหตุ และปญหาโรคเอดส เปน ตน โทษและภยั ตอ ประเทศชาติ ผูท่ีเสพสารเสพติดอาจกลาวไดวา เปนผูท่ีบอนทําลาย เศรษฐกจิ และความม่นั คงของชาติ เนอ่ื งจากผูท่ีเสพสารเสพตดิ ทาํ ใหร ัฐบาลตอ งสูญเสียกําลังคม และงบประมาณแผนดนิ จํานวนมหาศาล เพ่อื ใชจายในการปราบปรามและบําบัดรักษาผูติดสาร

118 เสพติด เกิดความไมสงบสุขของบานเมือง ทําใหเศรษฐกิจทรุดบั่นทอนความมั่นคงของ ประเทศชาติ แนวตอบขอท่ี 2. การแกไขปญหายาเสพติด จึงตองดําเนินการกับองคประกอบทั้งสองอยางไป พรอมๆ กัน คือ จะตองลดปริมาณความตองการยาเสพติดลง ในขณะเดียวกันก็จะตองลด ปรมิ าณของยาเสพตดิ ในตลาดดว ย การปอ งกันพฤติกรรมการใชยาของมนุษยท่ีเกิดจากการคิด พง่ึ ยาและหวังผลจากฤทธ์ิยา เชน การฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมีความรู ดานการปองกันการเสพติด โดยมีจุดประสงคใหกลุมแกนนําประยุกตความรูนั้นไปปฏิบัติใน ชุมชนใหสอดคลองกับสภาพของทองถ่ิน สวนกลุมประชาชนน้ันใหมีความรูและมีพฤติกรรม ตอตานการเสพติดโดยตรงและการรณรงค เผยแพรขาวสารโดยการระดมส่ือตาง ๆ ภายใต ขอบเขตทก่ี าํ หนดไว ใหป ระชาชนเกิดการต่นื ตัว ตระหนักถึงปญหาและเขามามีสวนรวมในการ แกปญหา แนวตอบขอที่ 3. การมสี วนรวมในการรณรงคการปองกนั การสารเสพติดในชุมชน ไดแ ก 1. การปองกันในวงกวา ง เปน การปองกันโดยเนนเปาหมายท่ีสังคมโดยทั่วไปมุง สรา งสงั คมใหต ระหนักถงึ พษิ และภัยของยา ลดความตองการของสังคม และลดการตอบสนอง ของยาเสพติด ซึ่งการดาํ เนินงานมีหลายรปู แบบ เชน การพฒั นาสขุ ภาพ การสรา งเสรมิ ศีลธรรม การใชกฎหมายการพัฒนาสังคม ฯลฯ กลวิธีของการปองกันใน แนวกวาง ไดแก การให การศกึ ษาในการถายทอดความรู การใหขอมูลและขา วสารทถ่ี ูกตอ งของปญหายาเสพติด และ การจดั กิจกรรมทางเลือก เปน ตน 2. การปองกันในวงแคบ มุงเนนเฉพาะบุคคลบางกลุม หรือชุมชนบางแหงท่ี เสี่ยงตอปญหาการเสพติด ไดแก การฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมีความรู ดานการปอ งกันการเสพติด การรณรงค เปนการเผยแพรขาวสารโดยการระดมสื่อตาง ๆและ การปฏบิ ตั ิการทางสังคม เปน ตน 3. การปอ งกันกรณีพิเศษ เปนการปองกันท่ีเนนในวงแคบท่ีสุดโดยเปาหมาย อยูที่ผูคา ผูติดยาเสพติด หรือผูที่มีความเสี่ยงสูง และครอบครัว ไดแก การวิเคราะหปญหา การให คําปรึกษาแนะนาํ การใหค าํ ปรกึ ษาแกครอบครัว การใหสุขศึกษา การใหกําลังใจ และการฝก อาชพี เปนตน

119 แนวตอบกจิ กรรมท่ี 2 3. ข 1. ก 2. ค บทท่ี 8 แนวตอบกิจกรรมที่ 1 แนวตอบขอท่ี 1. 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ เกี่ยวกบั เรือ่ งราวตาง ๆ ในชวี ติ ไดอยางมรี ะบบ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับ ปญหาท่เี กดิ ขึน้ ในชวี ิตไดอยางมรี ะบบไมเกิดความเครียดทางกายและจิตใจ 3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิดท่ี จะเปนสว นชวยในการตัดสินใจและแกไขปญ หาโดยการคดิ สรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตา งๆ 4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถในการคิด วิเคราะหข อมลู ตางๆ และประเมินปญหาหรือสถานการณท่ีอยูรอบตัวเราท่ีมีผลตอการดําเนิน ชีวิต 5. ทักษะการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เปน ความสามารถในการใชคําพูด และทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยาง เหมาะสมกับวฒั นธรรม และสถานการณตางๆ 6. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal Relationship) เปนความสามารถในการสรางความสัมพันธท่ีดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษา สมั พนั ธภาพไวไดยืนยาว 7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self-Awareness) เปนความสามารถในการคนหา รูจ กั และเขา ใจตนเอง 8. ทักษะการเขาใจและเห็นใจผูอื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขา ใจความเหมือนหรือความแตกตา งระหวา งบคุ คล 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถในการรับรู อารมณของตนเองและผอู ืน่

120 10. ทกั ษะการจดั การกบั ความเครียด(Coping with Stress) เปน ความสามารถ ในการรับรู ถึงสาเหตุของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับ ความเครียด แนวตอบขอท่ี 2. 1. ทักษะการเขาใจและเห็นใจผูอ่ืน เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือน หรือความแตกตางระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชอื่ อาชีพ ฯลฯ ชวยใหส ามารถยอมรบั บุคคลอ่ืนทต่ี า งจากเรา 2. ทักษะการจัดการกับอารมณ เปนความสามารถในการรับรูอารมณของตนเอง และผูอ น่ื รวู าอารมณมีผลตอการแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับอารมณโกรธและ ความเศรา โศกทสี่ ง ผลทางลบตอรา งกายและจิตใจไดอ ยางเหมาะสม 3. ทักษะการจัดการกับความเครียด เปนความสามารถในการรับรูถึงสาเหตุของ ความเครยี ด รูวิธผี อนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให เกิดการเบ่ียงเบนพฤตกิ รรมไปในทางท่ีถกู ตองเหมาะสมและไมเ กิดปญ หาดานสขุ ภาพ แนวตอบขอที่ 3 ยกตัวอยางเชน หางานอดิเรกที่ชอบทําฝก การออกกําลังกาย บริหารรางกาย เปน ตน แนวตอบขอที่ 4 ยกตัวอยา งเชน 1. วิธีแกไขที่ปลายเหตุ ไดแก การใชยา เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลดกรดใน กระเพาะ ยากลอมประสาท แตวิธีการดังกลาวไมไดแกไขความเครียดท่ีตนเหตุ อาจทําให ความเครียดนัน้ เกดิ ข้ึนไดอ กี 2. วิธีแกไขท่ตี น เหตุ ไดแก แกไ ขเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่เอื้ออํานวยตอการกอใหเกิด ความเครียด เชน หางานอดิเรกที่ชอบทําฝก การออกกําลังกาย บริหารรางกายแบบงาย ๆ เปน ตน 3. เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอนปรน ลดความเขม งวดในเรอ่ื งตางๆ

121 4. สํารวจและเปล่ียนแปลงทัศนคติตอตัวเองและผูอ่ืน เชน มองตัวเองในแงดี มองผูอื่นในแงดี เปนตน บทที่ 9 แนวตอบขอ ท่ี 1 ผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง อาหารที่ไดผานข้ันตอนการหุงตม หรือ กระบวนการ แปรรูปผลิตผลการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีเพ่ือใหอาหารน้ันสามารถเก็บไดเปน เวลานานพอสมควรโดยไมเ นา เสยี สามารถด่มื หรือรับประทานไดทันทีเม่ือตอ งการ แนวตอบขอ ที่ 2 ผลิตภัณฑอาหารกึ่งสําเร็จรูป หมายถึง อาหารที่ไดผานข้ันตอนการหุงตมหรือ กระบวนการแปรรูปแลว และสามารถเก็บไวไดนานเชนเดียวกัน จะตองนําไปหุงตมและปรุงรส หรอื ปรงุ แตงกอนจึงจะรับประทานได แนวตอบขอท่ี 3 การแปรรปู หรือการถนอมอาหาร หมายถึง การทําลายหรือฆาเช้ือจุลินทรียท่ีมีอยูหรือ อาจเกดิ ข้นึ ในอาหาร และทาํ ใหเ กิดการเนาเสียใหหมดไป แนวตอบขอท่ี 4 หลกั การดาํ เนนิ งานของธรุ กิจผลิตและจําหนายอาหารสาํ เรจ็ รปู กระบวนการผลติ การขนสง และ ผูบรโิ ภค และบรรจุภณั ฑ เก็บรักษา ชอ งทางการจัดจาํ หนา ย ประกอบดวย ผูผลิต คนกลาง และผูบริโภค ซ่ึงอาจจะใชชอง ทางตรง จากผูผลติ ไปยังผูบ ริโภค และใชชองทางออม จากผูผลิต ผานคนกลาง ไปยังผูบริโภค ดังรูป ผูผลิต ผูบริโภค ผผู ลติ คนกลาง ผูบริโภค

122 แนวตอบขอ ที่ 5 การจัดตกแตง รานคา มีความสาํ คัญตอ งคํานึงถึงสง่ิ ตอไปนี้ 1. แสงสวา งภายในราน 2. การตกแตง สีภายนอกและภายในราน 3. การจัดวางสินคา บรเิ วณทางเขา รา น ใกล ๆ ทางเขา ราน เปน ทเ่ี หมาะสาํ หรบั จดั วาง สินคาท่ีตองการเสนอขายเปน พิเศษ 4. การจัดหมวดหมขู องสินคา 5. การติดปายบอกประเภทของสินคา เพื่อใหรูวาสินคา อยูทใ่ี ด 6. การตดิ ปายราคาสินคา การจัดวางสนิ คา มคี วามสาํ คญั ตอ การจงู ใจลกู คา ใหเลือกซื้อสนิ คา เพ่ือใหส ะดวกและ เกิดความพึงพอใจควรคาํ นึงถงึ สิง่ ตอ ไปน้ี 1. ความพึงพอใจของลูกคา 2. จัดสินคาไวใ นบรเิ วณทเ่ี ราจะขาย 3. จัดสินคา ไวในระดับสายตาใหม ากทสี่ ุด 4. จัดสนิ คา ดานหนาบนช้ันใหเ ต็มอยูเสมอ 5. ชนั้ ปรบั ระดบั ไดต ามขนาดของสินคา จะเปนการดี 6. การใชกลองหนุนสนิ คาใหด งู ดงามแมจ ะมสี ินคาไมมากนัก 7. ความเปนระเบยี บเรียบรอ ย 8. สนิ คามากอ นตองขายกอน 9. ปอ งกันหลีกเล่ยี งการรวั่ ไหลของสนิ คา โดยการจัดวางผังทางเดินภายในรานใหลูกคา เดินไปมาไดส ะดวก แนวตอบขอที่ 6 1. สถานที่รับประทานอาหาร เตรียม - ปรุง - ประกอบอาหาร ตองสะอาดเปน ระเบียบ และจดั เปนสัดสวน 2. ไมเ ตรยี มปรงุ อาหารบนพื้นและบริเวณหนา หรือใกลหองนํ้า หองสวม และตอง เตรยี มปรุงอาหารบนโตะทสี่ งู จากพน้ื อยางนอย 60 เซนติเมตร 3. ใชสารปรุงแตงอาหารท่ีมีความปลอดภัย มีเครื่องหมายรับรองของอาหารจากทาง ราชการ เชน เลขสารบบอาหาร เครือ่ งหมายรับรองมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.)

123 4. อาหารสดตองลางใหสะอาดกอนนํามาปรุง หรือเก็บรักษา การเก็บอาหาร ประเภทตางๆ ตอ งแยกเก็บเปนสัดสว น อาหารประเภท เน้อื สตั วด บิ ตองเก็บรักษาไวที่อุณหภูมิ ต่าํ กวา 5 องศาเซลเซยี ส 5. อาหารท่ปี รุงสําเร็จแลว เกบ็ รักษาไวในภาชนะท่ีสะอาดมีการปกปด วางสูงจาก พื้นอยา งนอ ย 60 เซนตเิ มตร 6. นํ้าแขง็ ทีใ่ ชบ ริโภคตอ งสะอาดเก็บในภาชนะที่สะอาดมีฝาปด ใชอุปกรณที่มีดาม สาํ หรบั คบี หรือตัก โดยเฉพาะวางสูงจากพ้ืนอยา งนอย 60 เซนติเมตร และตองไมมีส่ิงของอยาง อื่นแชรวมไว 7. ลา งภาชนะดวยน้ํายาลางภาชนะแลวลางดวยนํ้าสะอาด 2 ครั้ง หรือลางดวยน้ํา ไหล และที่ลา งภาชนะตอ งวางสูงจากพ้ืนอยางนอย 60 เซนติเมตร 8. เขียงและมดี ตองมสี ภาพดี แยกใชร ะหวางเนอื้ สตั วสกุ เนอ้ื สตั วด บิ และผักผลไม 9. ชอน สอม ตะเกียบ วางต้ังเอาดามข้ึนในภาชนะโปรง สะอาด หรือวางเปน ระเบยี บในภาชนะโปรง สะอาดและมีการปกปด เก็บสงู จากพน้ื อยา งนอย 60 เซนติเมตร 10. ขยะมูลฝอย และนํา้ เสียทกุ ชนดิ ไดร บั การกําจัดดว ยวิธีที่ถูกหลักสุขาภิบาล 11. หองสวมสําหรบั ผบู รโิ ภคและผทู ่ีสัมผัสอาหารตองสะอาด มอี างลา งมอื ที่ใชการ ไดด ี และมีสบูใชต ลอดเวลา 12. ผูท่ีสมั ผัสอาหารตอ งแตงกายสะอาด สวมเสอื้ มแี ขน ผปู รงุ อาหารตองผูกผากัน เปอ นทีส่ ะอาด สวมหมวกหรือเน็ทคลมุ ผม 13. ผูท ี่สมั ผัสอาหารตอ งลางมือใหสะอาดกอนเตรียมปรุง ประกอบ และจําหนาย อาหารทุกครง้ั ใชอปุ กรณใ นการหยบิ จบั อาหารท่ีปรุงสําเรจ็ แลวทกุ ชนิด

124 บรรณานกุ รม กองวางแผนครอบครวั และประชากร กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. แผนการอบรม เพศศกึ ษาสาํ หรบั พอ แม. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั วศิ คอม เซ็นเตอร จํากัดม 2543. เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศศกั ด.์ิ www.kriengsak.com/ จันทรวภิ า ดิลกสมั พนั ธ. เพศศกึ ษา. พิมพค รงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : ศลิ ปาบรรณคาร, 2543 : 69-77. ชูศกั ดิ์ เดชเกรียงไกรกลุ . นทิ ัศน คณะวรรณ ธีรพล แซต ั้ง. การตลาดรุง มุงสมั พนั ธ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ซเี อ็ด ยเู คช่ัน จํากัด (มหาชน), 2546. ระพพี ล กุญชร ณ อยธุ ยา. webmaster. www.kr.ac.th/ www.thaiheartweb.com/foodsupplement.htm นกิ ร ดุสติ สิน, วรี ะ นิยมวนั และไพลนิ ศรีสุโข. คูม อื การสอนเพศศาสตรศกึ ษาระดบั มัธยม. พมิ พคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ หง จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั . 2545 : 1-4. พนม เกตมุ าน. สุขใจกบั ลูกวยั รุน. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั แปลนพบั ลิชชง่ิ จํากัด, 2535 : 60-88. วีระพงษ เฉลมิ จิระวัฒน. คณุ ภาพในงานบรกิ าร. กรงุ เทพฯ : สมาคมสง เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุน), 2542. ศิรวิ รรณ เสรรี ัตน, ศภุ กร เสรีรัตน, องอาจ ปทวานิช, ปริญ ลกั ษติ านนท, สุพีร ลม่ิ ไทย, หลกั การตลาด. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ธรี ะฟล ม และไซเทก็ ซ, 2543. ศิริพรรณ สายหงษ. แนวคดิ เรอ่ื งทกั ษะชวี ติ และแนวทางจัดการพฒั นาทกั ษะชวี ติ . www.nfe.go.th/0405/nfe-note. สารานุกรมเสรใี นภาษาไทยทีท่ ุกคนรว มสรา งได. วกิ พิ ีเดยี . http://th.wikipedia.org. แสงหลา พลนอก. ภาควิชาการพยาบาลพ้นื ฐาน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั นเรศวร. www.nurse.nu.ac.th/พิษณุโลก/ สํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการจัดกิจกรรม การเรียนรูเพศศึกษา ชวงช้ันท่ี 1 (ป.1-3). กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2548. . แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูเพศศึกษา ชว งชั้นท่ี 2 (ป.4-6). กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2548.

125 . แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเพศศึกษา ชว งชั้นท่ี 3 (ม.1-3). กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2548. . แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเพศศึกษา ชวงช้ันท่ี 4 (ม.4-6). กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2548. “การมีจิตใจในการบรกิ ารทด่ี ”ี (ออนไลน) . เขา ถงึ เม่อื วันท่ี 9 กรกฎาคม 2548. www.cdd.go.th/j4607181.htm. หนว ยงานและแหลง ขอรับความชว ยเหลือเม่ือมีปญหาจากการมีเพศสมั พนั ธ (ออนไลน) . เขาถึงเมือ่ วันท่ี 10 พฤษภาคม 2559. จาก http://site.google.com/site/30236kerobies/page4. Friedman CR. Normal sexuality and introduction to sexual Disorders. In : Cavenarr OJ Jr.Psychiatry. Vol.1 revised edition. Philadelphia : J.B. Lippincott Company, 1986 : Chapter 45 : 1-8. Person SE. Paraphilias and gender identity disorders. In : Cavenarr OJ Jr.ed. Psychiatry. Vol.1 revised edition. Philadelphia : J.B. Lippincott Company, 1986 : Chapter 46 : 1-19 www.school.net.th/ .

126 คณะผจู ัดทาํ ทปี่ รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. นายสรุ พงษ จาํ จด รองเลขาธิการ กศน. นายประเสรฐิ หอมดี ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางตรนี ุช สขุ สุเดช และการศึกษาตามอธั ยาศัย ผอู าํ นวยการ สถาบนั กศน. ภาคกลาง นายวมิ ล ชาญชนบท รองผูอ าํ นวยการ สถาบนั กศน. ภาคกลาง ด.ต.ชาติวฒุ ิ เพ็ชรนอย ผูส รปุ เนือ้ หา ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอชะอํา นายวรวฒุ ิ หนุ มาตรา ครู สถาบนั กศน. ภาคกลาง นางสาวชนากานต สายหมี ครู สถาบนั กศน. ภาคกลาง นายศุนันทพิ ฒั น ออนศรี ครู กศน. อาํ เภอชะอํา นางชนาพร ทองดี ครู กศน. อาํ เภอชะอํา นางปารชิ าติ แจงสุวรรณ ครู สถาบัน กศน. ภาคกลาง นางเหมอื นฝน ยองเพชร ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ผูอํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เพชรบรุ ี นายศุภัชณัฏฐ หลกั เมือง ศกึ ษานเิ ทศก กศน.จงั หวัดเพชรบรุ ี นางทองสขุ รตั นประดิษฐ ครู กศน.อาํ เภอหัวหนิ นางสาวณัฐกฤตา ทบั ทิม ครู กศน.อาํ เภอเมอื งสมุทรสงคราม นางสาวจรยิ า สมุทวนชิ ครู กศน.อําเภอเมืองเพชรบุรี นางสาวสําราญ นาคทอง ครู สถาบัน กศน. ภาคกลาง ผพู มิ พต น ฉบบั ครู สถาบนั กศน. ภาคกลาง นางสาวชนากานต สายหมี นางเหมอื นฝน ยองเพชร กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป

127

128


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook