Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย5

หน่วย5

Published by panwad.panwad.11, 2018-09-06 08:57:12

Description: หน่วย5

Search

Read the Text Version

นางสาวปานวาด วงษบ์ วั งามปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจหอ้ ง1 เลขท่ี 24

การแทนคา่ ขอ้ มลู ชนดิ ของขอ้ มลู และสญั ญาณการสอ่ื สารขอ้ มลู1. การแทนค่าข้อมลูการแทนท่ขี อ้ มูลในคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ขั้นตอน ได้แก่ การนาเข้าข้อมูล การประมวลผลและการแสดงผลข้อมูล ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการนาเสนอสารสนเทศให้มนุษย์เข้าใจ แต่ความจริงแล้วทุกส่ิงทุกอย่างที่นาเสนอ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ ก ารเว้นวรรค ภาพ เสียงภาพเคลื่อนไหว หรือคาสั่งต่าง ๆ น้ัน เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ เก็บ ประมวลผลในรูปแบบตัวเลขเท่านั้น และการแสดงผลต่าง ๆ ท่ีเป็นภาพ ขอ้ ความ หรอื เสยี ง เปน็ เพียงหนงึ่ ในวิธกี ารนาเสนอ โดยใช้กลุ่มข้อมูลตัวเลขมาแปลหรอื แสดงผลให้มนษุ ยเ์ ข้าใจ2. ชนดิ ของข้อมูล1. ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character) คือ ข้อมูลที่เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าจานวนเต็ม ได้แก่ ตัวอักษรตวั เลขและกลุ่มตวั อกั ขระพิเศษใชพ้ ื้นที่ในการเกบ็ ข้อมลู 1 ไบต ์2. ข้อมูลชนิดจานวนเต็ม (Integer) คือ ข้อมูลที่เป็นเลขจานวนเต็ม ได้แก่ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบและศูนย์ ข้อมูลชนดิ จานวนเต็มใช้พืน้ ทีใ่ นการเก็บขอ้ มลู ขนาด 2 ไบต์3. ข้อมูลชนิดจานวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer) คือ ข้อมูลท่ีเป็นเลขจานวนเต็ม ใช้พ้ืนที่ในการเกบ็ เป็น 2 เทา่ ของ Integer คือมขี นาด 4 ไบต ์4. ขอ้ มลู ชนดิ เลขทศนิยม (Float) คือ ข้อมลู ท่เี ปน็ เลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์5. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยมอย่างละเอียด (Double) คือ ข้อมูลท่ีเป็นเลขทศนิยม ใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูลเปน็ 2 เทา่ ของ float คอื มขี นาด 8 ไบต์3. ความหมายของสญั ญาณอนาลอ็ กสัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยท่ีแต่ละคลื่นจะมีความถ่ีและความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่าน้ีผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ข้อมูลท่ีต้องการ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลท่ีมีสัญญาณแบบแอนะล็อก คือการส่งผ่านระบบโทรศัพท์สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณที่มักเกิดข้ึนในธรรมชาติเป็นสัญญาณที่มีความตอ่ เน่ือง ไม่ได้มกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ สัญญาณแบบน้ี เช่น เสยี งพูด เสยี งดนตรี เป็นตน้

4. ความหมายของสญั ญาณติจิตอลสญั ญาณดิจิทัล (digital signal) เปน็ สัญญาณทางกายภาพทีเ่ ป็นตัวแทดบั ของค่าที่แยกจากกัน (สัญญาณท่ีมีปริมาณไม่ต่อเน่ืองในแกนเวลา) เช่น กระแสบิตที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสัญญาณแอนะล็อกที่ถูกทาเป็นบิตสตรีม(อังกฤษ: digitized) (ถูกสุ่มเลือกและแปลงจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิทัล ) สัญญาณดิจิทัลสามารถอ้างถึงอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้4.1 รปู คล่นื สญั ญาณตามแกนเวลาท่ีต่อเนื่องใด ๆ ท่ีใช้ในการสื่อสารแบบดิจิทัลโดยเป็นตัวแทนของกระแสบิตหรอื ลาดบั อืน่ ๆ ของคา่ ไม่ตอ่ เน่อื ง4.2 ขบวนสญั ญาณกระตุกท่ีสลับไปมาระหว่างจานวนไม่ต่อเนื่องของระดับแรงดันไฟฟ้า หรือ ระดับของความเข้มของแสง ท่ีรู้กันว่าเป็นสัญญาณท่ีเข้ารหัส(อังกฤษ: line coded signal)หรือการส่งสัญญาณเบสแบนด์ตัวอย่างเช่น สัญญาณท่ีพบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัลหรือในการส่ือสารแบบอนุกรม หรือ pulse codemodulation (PCM) ท่ีเปน็ ตวั แทนของสญั ญาณแอนะลอ็ กท่ีถกู digitized5. สัญญาณรบกวนและขอ้ ผดิ พลาดการทางานของช้ันส่ือสารดาต้าลิงค์ คือ ทาการแปลงสัญญาณข้อมูลจากชั้นส่ือสารฟิสิคัลเพื่อส่งผ่านไปยังลิงค์ในลกั ษณะ Node-to-Nodeช้ันสอ่ื สารดาต้าลงิ ค์จะต้องสร้างความนา่ เชื่อใหก้ ับช้ันสือ่ สารฟิสคิ ลั ด้วยวิธีการดังน้ี - เพิ่มกลไกในการตรวจจบั ข้อผิดพลาด - ทาการสง่ เฟรมขอ้ มลู ซ้า กรณที ี่เฟรมข้อมูลเดมิ เสียหาย - การกาจัดเฟรมขอ้ มูลซา้ ซ้อน - การจัดการกบั เฟรมขอ้ มูลท่สี ูญหายชนิดของข้อผดิ พลาด (Types of Errors) 1. ข้อผิดพลาดแบบบิตเดียว (Single-Bit Error) ข้อผิดพลาดชนิดนี้จะมีเพียงบิตเดียวเท่านั้นที่ ผิดพลาด เช่น มีการเปล่ียนคา่ จากบติ 1 เป็นบติ 0 หรอื จากบติ 0 เป็นบติ 1 2. ข้อผิดพลาดแบบหลายบิต (Burst Error) เป็นข้อผิดพลาดท่ีจะมีจานวนบิตต้ังแต่ 2 บิตข้ึนไปท่ีเกิด ข้อผดิ พลาด

6. แนวทางในการปอ้ งกนั ข้อผิดพลาดการตรวจสอบความผิดพลาด (Error Detection) ลักษณะของการตรวจสอบความผิดพลาดเป็นการส่งข้อมูลซ้าซ้อนไปพร้อมกับข้อมูลจริงด้วยจานวนแค่เพียงพอสาหรับการตรวจสอบได้ว่ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นหรือไม่เท่ากัน ซ่ึงถ้ามีก็จะทาการร้องขอกลับไปยังผู้ส่งให้ส่งข้อมูลมาใหม่ การทางานแบบนี้ให้ประสิทธิภาพมากกว่าการแก้ไขความผิดพลาดเพราะจานวนของข้อมูล ซ้าซ้อนจะน้อยกว่า และโดยท่ัวไปถ้าอัตราการผิดพลาดไมม่ ากนัก การสง่ ขอ้ มลู ให้ใหม่กจ็ ะไมม่ ากเช่นกนัการตรวจสอบความผิดพลาดสามารถทาไดโ้ ดยการส่ง-รบั ข้อมูล 2 แบบคือ1. การส่ง-รับข้อมูลทลี ะอกั ขระ หรอื แบบ Manual มกั ใชก้ บั ระบบ Online2. การสง่ -รบั ข้อมูลทลี ะบลอ็ ก หรอื แบบ Automatic โดยจะมีการสร้าง FCS(Frame Check Sequence) หรอื BCC (Block Check Character)