Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต

กิจกรรมระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต

Published by totsaporni, 2017-07-10 08:52:31

Description: กิจกรรมระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต

Keywords: กิจกรรมระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต

Search

Read the Text Version

บทที่ 4กจิ กรรมระบบคุณภาพและเพม่ิ ผลผลติ

TQMและการ รางวัลคณุ ภาพ CRMปรับวัฒนธรรม แห่งชาติ Six Sigma องค์การ กิจกรรมระบบคุณภาพและ QSME เพมิ่ ผลผลิต ระบบทันเวลาพอดี : ISO JIT 9000:2000

4.1 TQM และการปรับวฒั นธรรมองคก์ าร1. ความหมายของ TQM การบรหิ ารคณุ ภาพทวั่ ท้งั องคก์ าร TQM (Total Quality Management) หรือทีเ่ รยี กวา่ การบริหารคณุ ภาพที่ทกุ คนมีสว่ น ร่วม หรอื การบริหารคุณภาพโดยองคร์ วม การบรหิ ารคณุ ภาพทัว่ ทง้ั องคก์ าร คือ วิธีหรือแนวทางในการบรหิ าร องคก์ ารนั้น อยา่ งมีสว่ นรว่ มและม่งุ หมายท่ีผลกาไรในระยะยาวดว้ ย การสร้างความพงึ พอใจให้แกล่ กู ค้า รวมท้ังการสรา้ งผลประโยชนแ์ ก หมูส่ มาชิกขององคก์ ารและแก่สงั คมดว้ ย

4.1 TQM และการปรับวฒั นธรรมองคก์ าร2. หลักการสาคัญของ TQM มหี ลักการ 3 ประการต่อไปน้ี 2.1 การมุ่งเน้นทลี่ ูกค้า (Customer Focus) ดว้ ยการยึดเอาการสรา้ งความพอใจใหแ้ กล่ ูกค้าหรือการสนองตอบความตอ้ งการของลกู คา้ ใหไ้ ด้เป็นศนู ย์กลางของจดั การองค์การ 2.2 การบริหารกระบวนการ (Process Management) ดว้ ยการมุง่ เนน้ ที่การบริหารจดั การหรอื การปรบั ปรงุ กระบวนการ (ProcessImprovement) เพ่ือผลติ สินค้าหรอื ใหบ้ ริการท่ีมคี ุณภาพด้วยราคาท่ีเหมาะสมแกล่ กู ค้า

4.1 TQM และการปรับวฒั นธรรมองคก์ าร 2.3 การให้ทกุ คนมสี ่วนรว่ ม (Total Involvement) ด้วยการม่งุ เน้นให้ผบู้ รหิ าร พนักงาน และผเู้ กี่ยวขอ้ งท้งั หมดทุกคน มีส่วนรว่ มในการปรบั ปรุงงานหรือปรับปรุงกระบวนการ เพือ่ ให้ทกุ คนเปน็ ส่วนหน่งึของผลสาเร็จในการสรา้ งคณุ ภาพที่สามารถสรา้ งความพอใจใหแ้ ก่ลูกค้าได้ ส่งิ ที่จะทาใหอ้ งคก์ ารสามารถบรรลผุ ลจนเปน็ “องค์การTQM” จงึ ต้องเริม่ ตน้ ด้วยความสามารถของผูบ้ ริหารระดบั สงู ในการสร้างการเปลยี่ นแปลงให้เกดิ ขน้ึ ด้วยการปรับเปลยี่ นวฒั นธรรมองค์การ

4.1 TQM และการปรบั วัฒนธรรมองค์การ3. วัฒนธรรมร่วมขององคก์ ารTQM ประกอบด้วย 3.1 จิตสานึกแห่งคณุ ภาพทกุ หย่อมหญา 3.2 การเปดิ โอกาสใหท้ ุกคนมีสว่ นร่วม 3.3 การรับรู้ “ตน้ ทุนแหง่ คุณภาพ” อย่างกว้างขวาง 3.4 การมองใหเ้ ปน็ กระบวนการหรือมองให้เหน็ ภาพรวม 3.5 การมจี ติ สานึกของ JIT 3.6 การสร้างผลลพั ธ์ให้เปน็ รูปธรรม

4.1 TQM และการปรบั วฒั นธรรมองคก์ าร 3.7 ผู้บรหิ ารมีความมุง่ ม่ันจรงิ จงั 3.8 การมเี ปา้ หมายท่ชี ดั แจ้ง 3.9 การมงุ่ เน้นในขอ้ มูลและสิ่งที่ได้ผล 3.10 การคดิ ใหเ้ ป็นและทาให้ได้ 3.11 ทรัพยากรมคี วามพร้อม 3.12 การบริหารเพ่อื การเปลย่ี นแปลงสสู่ ิ่งทีด่ ขี นึ้ 3.13 การมผี รู้ บั ผิดชอบในการทา TQM อยา่ งชดั เจน

4.1 TQM และการปรับวัฒนธรรมองคก์ าร 3.14 การคงรักษาไวซ้ ง่ึ สถานภาพเดมิ 3.15 การใช้ “ระบบขอ้ เสนอแนะ” ในการทา TQM 3.16 อย่าประโคมข่าวให้ดังจนเกินควร 3.17 การให้อานาจแก่ผู้ปฏบิ ตั ิงาน 3.18 การประสานงานอยา่ งต่อเน่ืองระหว่างหน่วยงาน 3.19 การกาจดั ความสญู เปล่า 3.20 การมุง่ เนน้ ทกี่ ารวดั ผล

4.2 รางวัลคณุ ภาพแห่งชาติ (NATIONALQUALITY AWARD)1. ความหมายของรางวลั คณุ ภาพแหง่ ชาติ คอื รางวัลท่ีมอบใหแ้ ก่องค์การทกุ ประเภท ทุกขนาด ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทีม่ ีการบริหารจัดการเปน็ เลศิ เทียบเทา่ ระดับมาตรฐานโลก รางวัลนใี้ ชว้ ธิ ีการประเมินจากหลกั เกณฑ์ 7 หัวขอ้ โดยองค์การทไี่ ด้รบั รางวลั ต้องไดค้ ะแนนประเมิน 650 คะแนนข้ึนไป จากคะแนนเตม็1000 คะแนน รางวัลนถ้ี ือไดว้ ่าเปน็ รางวลั ระดับมาตรฐานโลกเพราะใช้พน้ื ฐานดา้ นเทคนคิ และกระบวนการตัดสินเหมอื นรางวลั คณุ ภาพแหง่ ชาติของสหรัฐอเมรกิ า

4.2 รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (NATIONALQUALITY AWARD)2. หลักเกณฑ์ 7 ข้อของ TQA คะแนน 80 หวั ขอ้ 80 1. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 100 2. การวเิ คราะหแ์ ละการจัดการสารสนเทศ 110 3. การมุ่งเน้นทรพั ยากรมนุษย์ 110 4. การมงุ่ เนน้ ลกู ค้าและตลาด 120 5. การจดั การกระบวนการ 400 6. ภาวะผู้นา 1000 7. ผลลัพธท์ างธรุ กจิ

4.2 รางวลั คณุ ภาพแหง่ ชาติ (NATIONALQUALITY AWARD)2. หลกั เกณฑ์ 7 ข้อของ TQA (Thailand Quality Award forPerformance Excellence) จากตาราง รายละเอยี ดแตล่ ะหวั ขอ้ มีดังนี้ 2.1 การวางแผนเชิงกลยทุ ธ์ (Strategic Planning) หัวขอ้ นี้แบง่ เปน็ 2 ส่วน คือ การพัฒนากลยทุ ธ์ กบั การนากลยทุ ธ์ไปปฏิบัติจรงิ 2.2 การวเิ คราะหแ์ ละการจดั การสารสนเทศ - องคก์ ารมีการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จดั การ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศและสนิ ทรพั ยท์ างความรอู้ ย่างไร

4.2 รางวัลคณุ ภาพแห่งชาติ (NATIONALQUALITY AWARD) 2.3 การมงุ่ เนน้ ทรัพยากรมนุษย์ – องค์การมีการใส่ใจดแู ลพนักงานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.4 การมงุ่ เน้นลกู ค้าและตลาด – องค์การดาเนินการเพ่อื สร้างความสัมพันธท์ ีด่ แี ละมน่ั คงกบั ลกู คา้ อย่างไร และมีการกาหนดปัจจัยสาคญั ทท่ี าใหล้ กู คา้ พงึ พอใจ รกั ษาลกู คา้ และทาให้ธรุ กิจขยายตวั อย่างไร 2.5 การจัดกระบวนการ – พิจารณาท้ังระบบและหน่วยงานท้ังหมดขององค์การ ไม่ว่าจะเป็นผลติ ภณั ฑ์ บรกิ าร และกระบวนการทางธุรกจิ ที่ชว่ ยสร้างคุณคา่ ให้ลูกค้าและให้กับองคก์ ารรวมทัง้ กระบวนการสนับสนุนที่สาคัญอ่นืๆ

4.2 รางวลั คณุ ภาพแห่งชาติ (NATIONALQUALITY AWARD) 2.6 ภาวะผูน้ า (Leadership) – เปน็ การประเมินผนู้ าระดับสูงขององคก์ ารว่า ไดด้ าเนนิ การอยา่ งไรในเร่ืองคา่ นยิ ม (Value) ทิศทางขององค์การทง้ั ในระยะสั้นและระยะยาว การสร้างคณุ คา่ ตอ่ ลกู ค้าและผมู้ ีส่วนได้เสยี การใหอ้ านาจตดั สินใจแก่พนักงาน การสรา้ งนวัตกรรม การสรา้ งการเรยี นรู้ในองคก์ าร รวมทัง้ ตรวจประเมินวา่ องค์การนัน้ มีความรบั ผดิ ชอบแตส่ าธารณะอย่างไร

4.2 รางวัลคณุ ภาพแหง่ ชาติ (NATIONALQUALITY AWARD) 2.7 ผลลัพธ์ทางธรุ กจิ – เป็นการสรุปผลการบริหารจดั การ ทง้ัผลการดาเนนิ การขององคก์ ารและการปรับปรุงทางธรุ กจิ ทส่ี าคญั 6ด้านด้วยกัน คอื 1) ผลลพั ธด์ ้านการม่งุ เน้นลูกค้า 2) ผลลพั ธ์ด้านผลิตภณั ฑ์และบริการ 3) ผลลพั ธด์ ้านการเงินและการตลาด 4) ผลลพั ธด์ า้ นทรพั ยากรบคุ คล

4.2 รางวลั คณุ ภาพแหง่ ชาติ (NATIONALQUALITY AWARD) 5) ผลลัพธด์ ้านประสทิ ธิภาพขององค์การ 6) ผลลพั ธด์ า้ นธรรมาภิบาลและความรบั ผดิ ชอบตอ่สังคม การสรปุ ผลแตล่ ะขอ้ องคก์ ารต้องแสดงขอ้ มลู เปรยี บเทียบท่ีเหมาะสมมาด้วย หากองคก์ ารใดสามารถผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ท้ัง 7หมวด ก็นบั เป็นองค์การที่มคี วามเป็นเลิศเหมาะสมกบั รางวลั ทส่ี ุด

4.3 การสร้างความพึงพอใจ/จงรักภักดีตอ่องค์การ1. ความหมายของ CRM CRM คือ กลยุทธก์ ารบริหารจดั การอย่างหนงึ่ ซ่ึงถูกออกแบบมาเพอ่ื ช่วยองคก์ ารให้สามารถจัดการกระบวนการต่าง ๆ ภายใน ให้ดาเนินการไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งและตอบสนองต่อความต้องการของลกู ค้าเพื่อให้ลกู คา้ เกดิ ความพอใจสงู สุด นามาซง่ึ ความจงรกั ภักดีของลูกค้ารายได้ท่เี พิ่มขน้ึ และการทากาไรระยะยาว

4.3 การสร้างความพึงพอใจ/จงรกั ภักดีตอ่องค์การ2. การวางแผนเพื่อนา CRM มาใชใ้ นองค์การ มี 8 ขน้ั ตอน 2.1 ตั้งทมี งานท่ีประกอบด้วยบุคลากรจากทุกหนว่ ยงานในองค์การมาเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ CRM 2.2 ให้ทมี งานรว่ มกนั กาหนดวิสยั ทศั น์ CRM (CRM Vision)ท่ชี ดั เจน 2.3 วิเคราะห์ CRM ของคู่แขง่ 2.4 วิเคราะห์องคก์ ารของตนว่ามีความสามารถในการส่งมอบสง่ิที่ดที ส่ี ุดแกล่ ูกค้าได้มากน้อยแคไ่ หนและอยา่ งไร

4.3 การสร้างความพึงพอใจ/จงรักภักดตี อ่องคก์ าร2. การวางแผนเพ่อื นา CRM มาใช้ในองค์การ มี 8 ข้นั ตอน 2.5 ร่วมกนั กาหนดกลยุทธ์ วตั ถปุ ระสงค์ และตวั ชว้ี ัดเพื่อการติดตามประเมนิ ผลโครงการ CRM 2.6 ทบทวนและวางแผนวา่ องค์การจะต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางาตนของบุคลากรและเทคโนโลยอี ย่างไรบา้ ง 2.7 เร่ิมดาเนนิ การตามแผนท่ไี ด้กาหนดไว้ 2.8 ตดิ ตามความก้าวหน้าของโครงการ CRM อย่างสมา่ เสมอโดยพจิ ารณาจากตัวชี้วัดทกี่ าหนดไว้เพือ่ การทบทวนความเหมาะสมของแผนกลยทุ ธ์CRM ทีต่ ้องมกี ารปรบั ปรงุ ตามสถานการณ์

4.3 การสรา้ งความพงึ พอใจ/จงรักภักดตี อ่องค์การ3. กลยทุ ธ์ CRM ที่ต้องมีการปรับปรุงตามสถานการณ์ CRM คอื กลยทุ ธก์ ารสร้างความพงึ พอใจแความจงรกั กักดีตอ่องคก์ ารระยะยาว ดงั น้นั องคป์ ระกอบหนึ่งทมี่ ผี ลต่อการสร้าง CRM กค็ อืประสบการณข์ องลกู คา้ ทไ่ี ดจ้ ากการตดิ ตอ่ ดับองค์การ ซงึ่ จะเปน็ ปัจจัยท่ีช่วยกาหนดมุมมองของลกู คา้ ทม่ี ตี อ่ องค์การ4. กลยุทธ์สาคัญขอ้ หนึ่งของ CRM คอื ฐานขอ้ มลู ลูกค้า องคก์ ารจะพบกับความสาเร็จในการสรา้ ง CRM ได้ จาเป็นตอ้ งบริหารขอ้ มูลลูกค้าอย่างมีประสิทธภิ าพ ไม่ว่าจะเปน็ เรอ่ื งการเก็บรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ข้อมูล และการส่งผ่านหรอื การกระจายขอ้ มูลไปยงั ส่วนต่าง ๆ

4.4 ซกิ ซ์ ซกิ มา่ (SIX SIGMA)1. กระบวนการของ ซกิ ซ์ ซิกม่า Six Sigma คอื กระบวนการเพ่ือลดความผดิ พลาด(Defect) ที่เกดิ ขึน้ ในกระบวนการตางๆ โดยมุงเนนใหเกดิ ความ ผดิพลาดนอยที่สดุ และมคี วามสูญเสียไดไมเกิน 3.4 หนวยในลานหนวยหรอื เรียกอกี อยางวา ความสูญเสียโอกาสลงใหเหลอื เพียงแค 3.4 หนวยนน่ั เอง เทคนคิ การเพิม่ ผลผลติ โดยใช้ Six Sigma พบวา่ ในปจั จบุ นั มีองค์การธุรกิจขนาดใหญน่ าไปใช้กันมากจนประสบความสาเร็จ เพิม่คณุ ภาพสนิ คา้ ลดขอ้ บกพร่องในกระบวนการทางานและเพิม่ กาไรให้กบัองคก์ าร หลักของ Six Sigma ประกอบดว้ ยกระบวนการ 5 ข้นั ตอน

4.4 ซกิ ซ์ ซิกมา่ (SIX SIGMA) 1.1 การกาหนดเปา้ หมายการดาเนนิ งาน ทั้งในดา้ นการผลติ และการให้บรกิ ารลกู ค้า 1.2 การวัดผลการปฏิบัตงิ าน 1.3 การวิเคราะหข์ อ้ ผดิ พลาด 1.4 การปรับปรุงพัฒนาโดยดูจากขอ้ บกพรอ่ งทีเ่ กิดขึ้น 1.5 การควบคมุ ดแู ลระบบบริหารจัดการ ตอ้ งวางระบบการกากับดูแลการบริหารจดั การใหเ้ ปน็ ไปตามแผน โครงการ และเป้าหมายท่ีวางไว้

4.4 ซิกซ์ ซกิ มา่ (SIX SIGMA)2. ข้ันตอน/กระบวนการนา Six Sigma มาวางแผนกลยุทธข์ ององค์การ ตัวอย่างแผน (Road Map) การทาSix Sigma มดี ังนี้ 2.1 ข้ันเตรยี มการ (เดือนท่ี 0-6) 1) ทบทวนแผนกลยทุ ธ์ขององคก์ าร ระบุส่งิ ทีเ่ ป็นปัญหาเรง่ ดว่ นขององค์การ และนาปญั หาเหล่าน้นั มากาหนดเป็นหัวขอ้ โครงการ 2) จดั ตง้ั ทีมงานเพือ่ รับผดิ ชอบเกี่ยวกบั กจิ กรรมทัง้ หมด 3) วางแผนการปฏิบตั ิ ตลอดจนทรัพยากรทจี่ าเปน็ 4) จดั ทาแผนการประชาสมั พันธ์เกยี่ วกับ ซิกซ์ซกิ ม่า ใหท้ ุกระดบัในองคก์ ารรบั ทราบ

4.4 ซิกซ์ ซิกมา่ (SIX SIGMA) 5) กาหนดคณุ สมบัติของผูท้ ่จี ะมาเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบสูงสุดตอ่ผลสาเรจ็ ตอ่ ช้ินงานใดชิ้นงานหนง่ึ (Champion), ผ้ฝู กึ สอนหรือผู้ให้คาปรกึ ษา (Black Belt) และ Green Belt ซง่ึ เปนผูชวยของ BlackBelt ในการทาโปรเจค็ แตจะทางานแบบไมเต็มตวั หรือ พารทไทม โดยจะเปนผูท่ีอยูในสายงานทเ่ี กีย่ วของกับโปรเจค็ Six Sigma นั้นๆ พรอ้ มท้ังคดั เลอื กหาผทู้ ีเ่ หมาะสม 6) กาหนดหน้าทีร่ บั ผิดชอบและวิธปี ระเมนิ ผลงานของผทู้ ีจ่ ะมาทาโครงการ Six Sigma ให้ชัดเจน 7) จัดเตรยี มระบบฐานขอ้ มลู สาหรับจัดเก็บโครงการที่ทาสาเร็จแลว้ (Knowledge Manangement)

4.4 ซกิ ซ์ ซิกมา่ (SIX SIGMA) 2.2 ขั้นเร่มิ ปฏิบตั ิ (เดอื นที่ 6-12) 1) เร่ิมทาการอบรม Champion, Black Belt, Green Beltโดยสิง่ สาคัญจะต้องเร่มิ ทีผ่ บู้ ริหารก่อน 2) กาหนดวิธกี าร รูปแบบ ทเ่ี ปน็ มาตรฐานในการรายงานความคืบหน้าของการทาโครงการ Six Sigma ซี่งควรมกี ารทบทวนโดยChampion เดอื นละ 1 คร้งั 3) เลือกทาโครงการในรอบแรกในส่วนงานทมี่ คี วามพรอ้ มกอ่ น 4) เนน้ การทาโครงการทีจ่ ะช่วยสร้างความพึงพอใจใหล้ ูกค้าอยา่ งไรกด็ ี ไม่ควรละเลยโครงการทจี่ ะชว่ ยลดตน้ ทนุ ใหอ้ งคก์ ารด้วย

4.4 ซกิ ซ์ ซกิ มา่ (SIX SIGMA) 5) มกี ารประชาสัมพนั ธค์ วามเคล่ือนไหวของกิจกรรม SixSigma และผลสาเร็จของโครงการใหท้ กุ ส่วนในองค์การได้รับทราบ 6) ทุกโปรเจ็คจะตอง ดาเนินการผานข้ันตอนของ Six sigma ท่ีเรียกวา DMAIC (Define , Measure , Analyze , Improve และControl) 2.3 ขั้นขยายผล (เดอื นท่ี 12-24) 1) ทาโครงการ Six Sigma ในสว่ นงานอื่น ๆ ท้ังทงั้ องคก์ าร 2) เร่มิ ขยายขอบเขตการทา Six Sigma ไปยงั ผู้สง่ มอบ(Suppliers) รายหลัก ๆ

4.4 ซกิ ซ์ ซิกม่า (SIX SIGMA) 3) จดั ให้มีการนาเสนอผลการทาโครงการตอ่ ผบู้ ริหารระดบั สงู เป็นรายไตรมาส 4) มกี ารมอบประกาศนียบตั รหรือประกาศเกยี รตคิ ุณเพอ่ื เปน็กาลังใจตอ่ Black Belt ตลอดจนทมี งานทมี่ สี ว่ นรว่ มในความสาเร็จของโครงการ Six Sigma 5) กาหนดเป้าหมายการทา Six Sigma ขององคก์ ารสาหรบั ปีตอ่ ไป 6) ทาการอบรม Black Belt รนุ่ ตอ่ ไป

4.4 ซิกซ์ ซิกม่า (SIX SIGMA) 2.4 ขั้นปรับปรงุ และคงอยอู่ ย่างยงั่ ยนื (หลงั จาก 24 เดอื น) 1) ปรบั ปรงุ วธิ กี ารกาหนดหวั ข้อโครงการและข้นั ตอนการทาโครงการใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขึ้น 2) เรมิ่ ขยายขอบเขตการทา Six Sigma ไปยังการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ (สาหรบั หน่วยงานทมี่ กี ารออกแบบเอง) 3) Black Belt รนุ่ แรกหมดวาระลง หรือเล่อื นขนั้ ขึ้นมาเป็นMaster Black Belt เพ่อื ทาหน้าทีโ่ ค้ชใหก้ ับ Black Belt รุ่นตอ่ มา 4) องค์การสามารถทา Six Sigma ดว้ ยตัวเอง โดยไม่ตอ้ งใช้บรกิ ารท่ปี รกึ ษาจากภายนอกต่อไป

4.4 ซกิ ซ์ ซิกม่า (SIX SIGMA) 5) เกิดวฒั นธรรม ข้นึ ในองค์การ น่ันคือ การแก้ปญั หาแบบDMAIC โดยอ้างองิ ขอ้ มูลเปน็ สาคญั การทา Six Sigma ใหป้ ระสบผลสาเร็จนน้ั คงไม่ใช่การอบรม Black Belt ข้ึนมาแล้วกจ็ บ ยงั มีอกี หลายอย่างที่ต้องเตรยี มการใหพ้ รอ้ มเพือ่ การทา Six Sigma ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพซ่งึ เม่อื มกี ารเตรียมการที่พร้อมสรรพแล้ว ผลสาเรจ็ จากการทาโครงการ Six Sigma คงอยู่ไม่ไกลเกนิ เอื้อมแน่นอน

4.5 QSME1. ความหมายของ QSME QSME คือ ระบบคณุ ภาพขนั้ พน้ื ฐานสาหรบั วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (Quality System for Small and MediumEnterprises : QSME) มจี ุดประสงคเ์ พื่อพัฒนาระบบคุณภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและยอ่ ม ใหม้ พี ื้นฐานระบบคณุ ภาพเบอ้ื งต้น และมีความพร้อมท่ีจะพฒั นาสมู่ าตรฐานสากลต่าง ๆ เช่น ISO 9000, QS9000, TQM ต่อไป

4.5 QSME2. ขอ้ กาหนดหลักสาหรบั SMEs สถาบนั เพ่มิ ผลผลิตแห่งชาติ จดั ทาข้อกาหนดสาหรบั SMEsโดยใช้แนวทาง ISO 9001 ปี 2000 โดยมขี ้อกาหนดหลกั 4 ขอ้ ท่ีองค์การจะตอ้ งจัดทา ดังน้ี 1. ความรับผดิ ชอบด้านบรหิ าร 2. การบริหารทรพั ยากร 3. การบริหารกระบวนการ 4. การวัดและการปรบั ปรุง

4.5 QSME3. ประโยชนท์ ี่ได้รบั ในการพฒั นาระบบคุณภาพตามมาตรฐานQSME 1. องค์การมีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทีม่ คี วามเหมาะสมกับองคก์ าร 2. ชว่ ยปรับปรงุ ระบบการบริหารจัดการ เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพสินคา้ และบรกิ ารใหด้ ียิ่งขนึ้ ทาใหล้ ูกคา้ ม่ันใจและมีความพึงพอใจมากข้นึ 3. มีระบบเอกสารทดี่ ี 4. ลดค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินการพฒั นาระบบคณุ ภาพ 5. มคี วามพร้อมท่ีจะขอการรบั รองระบบคุณภาพขัน้ พื้นฐานจากสถาบันรับรองมาตรฐาน ISO

4.5 QSME4. ขั้นตอนการให้คาแนะนาของสถาบันเพ่มิ ผลผลิตแห่งชาติ 1. การสารวจระบบเบือ้ งตน้ 2. การฝกึ อบรม 3. การจัดเตรยี มเอกสารในระบบคณุ ภาพ 4. การตรวจสอบการทางานเทยี บกบั เอกสาร 5. การประเมนิ ระบบคณุ ภาพท้ังระบบ 6. การปฏิบตั ิการแก้ไข

4.6 ระบบทันเวลาพอดี JIT (JUST IN TIME)1. ความหมายของระบบทันเวลาพอดี JIT คอื ระบบการผลติ ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นพน้ื ฐานของการขจัดความสญู เปลา่ ต่าง ๆ ทัง้ หมด ปจั จยั การผลติ ต่าง ๆ จะต้องถูกนามาใชแ้ บบทนั เวลาพอดี คือ ปจั จัยท่ีตอ้ งการในเวลาที่ต้องการ และในปริมาณที่ตอ้ งการเทา่ นนั้

4.6 ระบบทนั เวลาพอดี JIT (JUST IN TIME)2. หลกั พนื้ ฐานของ JIT หลกั พื้นฐานของ JIT ในการผลิตเพือ่ ใหไ้ ด้ระบบตามอุดมคตทิ ่ีปราศจากความสูญเปลา่ เมอ่ื พบว่ามีส่ิงผดิ ปกติเกดิ ขึน้ พนักงานจะต้องหยดุ การทางานทุกส่งิ ทุกอยา่ งทนั ที และทาการสอบสวนคน้ หาสาเหตุทันทีซ่งึ เป็นระบบทเี่ รยี กว่า ระบบอตั โนมัติด้วยสมั ผสั มนษุ ย์ (Automationwith Human Touch) พนื้ ฐานของการผลติ ท่ีดีทส่ี ดุ คือ การผลิตด้วยความสมดุลแบบปรับเรยี บการผลิต (Load Smoothing Production) มีองคป์ ระกอบพน้ื ฐาน 2 อย่าง คอื

4.6 ระบบทันเวลาพอดี JIT (JUST IN TIME) 2.1 การผลติ แบบทนั เวลาพอดี 2.2 ระบบอตั โนมตั ิดว้ ยสัมผัสมนษุ ย์3. คุณลกั ษณะของ JIT 3.1 เป็นการนาเครื่องมือและเทคนคิ ของวิศวกรรมอตุ สาหกรรม(Industrial Engineering: IE) มาใชเ้ พ่อื ปรบั ปรุงการผลิต โดยทาให้การผลิตราบรื่น ลดขนาดใหเ้ ลก็ ที่สุด และต้งั ใจที่จะผลิตเฉพาะสง่ิ ท่ีตอ้ งการ ในเวลาและจานวนทีต่ ้องการเทา่ นัน้ 3.2 ค้นหาสาเหตขุ องปญั หาทแี่ ท้จริงโดยตรวจสอบจากท่ีเกดิ เหตุจริง ๆ แลว้ ทาการแก้ไขและกาหนดมาตรการปอ้ งกันมใิ ห้เกิดซ้าขน้ึ อีก

4.6 ระบบทนั เวลาพอดี JIT (JUST IN TIME) 3.3 ลดเวลาของข้นั ตอนการทางานต่าง ๆ ลง โดยการปรับปรงุข้นั ตอนการทางานใหม้ ลี กั ษณะใกล้เคียงกับการทางานด้วยเครอ่ื งจักรอตั โนมตั ิ 3.4 ลดจานวนคนในแต่ขัน้ ตอนลง โดยการปรบั ปรงุ งาน จะสามารถลดจานวนคนลงโดยผลผลิตคงเดิมหรอื มากข้ึนได้ 3.5 ใชห้ ลกั การประหยดั ในทกุ วิถึทางและดูดึงผลการประหยดั ในภาพรวมด้วย ก่อนตัดสินใจปรบั ปรุงงาน ถา้ พนกั งานมเี วลาวา่ งให้ฝกึ การทางานให้ไดม้ าตรฐาน เชน่ การฝึกการเปลีย่ นแม่พิมพ์ 3.6 พร้อมที่จะปรับเปล่ียนได้อยา่ งทันทที ันใด มีระบบทสี่ ามารถปรบั ตวัตอ่ การเปลี่ยนแปลงไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทง้ั ภายในและภายนอกองคก์ าร

4.6 ระบบทนั เวลาพอดี JIT (JUST IN TIME) 3.7 ทากจิ กรรมลดต้นทนุ อย่างต่อเนอื่ งตลอดเวลา โดยถอื ว่ากิจกรรมลดตน้ ทุนเปน็ กจิ กรรมทตี่ ้องกระทาอย่ตู ลอดเวลา 3.8 ลดสินคา้ คงคลังใหเ้ หลอื น้อยทส่ี ดุ ตัง้ เปา้ หมายท้าทายให้เปน็ศูนย์ การนาระบบคณุ ภาพและการเพิ่มผลผลติ มาประยกุ ต์ใช้ในองคก์ ารเพ่อื การพัฒนางานมีเทคนิคมากมาย ซงึ่ ผ้บู รหิ ารสามาถเลือกนามาประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกับประเภท ชนดิ และขนาดขององคก์ ารได้ ประการสาคัญคอื ผบู้ ริหารองคก์ ารต้องเป็นผมู้ ีวสิ ยั ทศั น์กว้างไกล เปดิ กวา้ ง ยอมรับการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา มคี วามมุ่งม่นัจริงใจ และสามารถรวมใจของบุคลากรในองค์การได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook