Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Rmutt2016June

Rmutt2016June

Published by rmutt.news, 2016-09-02 22:49:53

Description: Rmutt2016June

Search

Read the Text Version

จุลสารราชมงคลธญั บรุ ี บทบรรณาธิการเมษายน - มิถนุ ายน ๒๕๕๙ ในฐานะของบรรณาธิการจลุ สารราชมงคลธัญบรุ ี ตอ้ งขอแสดงความฉบบั : มทร.ธัญบุรี พลงั เคียงขา้ ง SMEs ยินดีกบั นกั ศกึ ษาใหม่ประจำ�ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ที่สามารถฝา่ ฟนั อุปสรรคในการเขา้ มาศึกษาในระดับมหาวิทยาลยั น่เี ปน็ เพียงจุดเรมิ่ ต้นของชีวติ นกั ศกึ ษา เวลา ๔-๕ ปี สารบญั สำ�หรับการศึกษา เราต้องพากเพียรและตั้งใจเดินตามความฝัน สำ�หรับจุลสาร ราชมงคลธัญบุรีฉบับนี้ ยังนำ�เสนอเนื้อหาที่มีประโยชน์ที่สามารถนำ�ไปใช้ใน ประกายแหง่ ความคิด ๓ ชีวิตประจำ�วนั ไดเ้ ชน่ เดมิ ข่าวนโยบาย ๔ - ๕ Special Report ๖ - ๗ (นายวริ ัช โหตระไวศยะ) เร่อื งจากปก ๘ - ๑๑ บรรณาธกิ าร Hot News ๑๒ - ๑๓ เปดิ รั้วราชมงคลธัญบรุ ี ๑๔ - ๑๕ คณะทปี่ รึกษา สัมภาษณศ์ ิษย์เกา่ ๑๖ - ๑๗ สมาคมศิษยเ์ กา่ ๑๘ รศ.ดร.ประเสรฐิ ปิน่ ปฐมรัฐ อธกิ ารบดี สภาคณาจารย์ ๑๙ ดร.วิชัย พยัคฆโส รองอธิการบดี คนเก่ง มทร...ธัญบรุ ี ๒๐ - ๒๑ ผศ.พรศกั ด์ิ ตระกูลชวี พานิตต ์ รองอธิการบดี RMUTT Update ๒๒ - ๒๓ นางวนดิ า ปอนอ้ ย รองอธิการบดี สกปู๊ นวัตกรรม ๒๔ - ๓๑ ผศ.ดร.สภุ ทั รา โพธ์ิพว่ ง รองอธิการบดี สกูป๊ พเิ ศษ ๓๒ - ๓๓ ผศ.ดร.สมหมาย ผวิ สอาด รองอธกิ ารบดี เมนูอร่อย ๓๔ นายพงศพ์ ิชญ ์ ตว่ นภูษา รองอธิการบดี บรรณาธกิ าร นายวริ ัช โหตระไวศยะ กองบรรณาธิการ นางณัฐชา กีรตกิ ำ�จร นางสาวปาริชาต ิ พัฒนพ์ งษ์ นางสาวชลธชิ า ศรอี ุบล นายอลงกรณ์ รตั ตะเวทนิ นางสาววภิ าพร เกษม ช่างภาพ นางสาวประอรสริ ิ สกุ นิล นางสาวศจี ุฑา ปอนอ้ ย นายสุริยา เมธาวรากร ประสานงานกองบรรณาธกิ าร นางสาวถาวร ส่มุ หิรัญกองประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี๓๙ หมู่๑ ถนนรังสติ -นครนายก อ�ำ เภอธญั บรุ ี จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๑๐ เบอร์โทรศพั ท์ ๐๒ ๕๔๙ ๔๙๙๔โทรสาร ๐๒ ๕๔๙ ๔๙๙๓ เวบ็ ไซต์ www.rmutt.ac.th Facebook Fanpage : www.facebook.com/rmutt.klong6

นศ.สถาปตั ยกรรม มทร.ธญั บุรี เจง๋ออกแบบอาคารเสริมทกั ษะเด็กวยั อนุบาล “โครงการออกแบบภายในอาคารเสริมทักษะเด็กวัยอนุบาล” ไอเดียสุดเจ๋งได้รับแรงบันดาลใจการเล่นคือการเรียนรู้ “มะปราง” นางสาวถลัชนันท์ วรธงไชยนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มะปราง เล่าวา่ แนวคดิ ในการออกแบบ ต้องการส่งเสรมิ ให้เดก็ ท�ำ กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาการท้ัง ๔ ด้านตามท่เี ดก็ ในวยั อนุบาลจะต้องไดร้ ับผา่ นการเรยี นโดยใช้ “การเล่น” เปน็ เคร่ืองมือในการท�ำ ใหแ้ นวคดิ สง่ เสรมิ ให้เด็กได้เติบโตมพี ฒั นาการไปตามชว่ งวัยทีเ่ หมาะสม ใหเ้ ดก็ ได้เล่นสนกุ อยา่ งเตม็ ท่กี ับเพอื่ นในวยั เดียวกัน และการปพู น้ื ฐานความ ประโยชน์ของโครงการการออกแบบภายในพร้อมก่อนเรยี นในระดบั ถดั ไป ซง่ึ ตนเองไดท้ �ำ การวเิ คราะห์พฤติกรรมของเด็กและศกึ ษา อาคารพฒั นาทกั ษะเดก็ วยั อนบุ าล สามารถวิธีการสอนหลากหลายรปู แบบ ไม่วา่ จะเป็นโรงเรยี นรฐั บาล โรงเรียนนานาชาติ รวมถงึ นำ�ไปออกแบบพ้ืนท่ีเหมาะสมต่อความโรงเรยี นทางเลือกก็เปน็ อย่างหนงึ่ ทน่ี ่าสนใจ ก่อนที่จะท�ำ การออกแบบ ไดท้ �ำ การวเิ คราะห์ ต้องการของพฤติกรรมของเด็กในแต่ละหลักสตู รที่จำ�เป็นสำ�หรับโครงการออกแบบภายในอาคารเสรมิ ทกั ษะเด็กวัยอนบุ าล จน วยั เรยี นรกู้ ารท�ำ งาน ผา่ นกระบวนการเกดิ เปน็ หลกั สูตรใหม่ ทเ่ี นน้ ใหเ้ ด็กๆท�ำ กิจกรรมภายในพ้นื ท่ี ที่ออกแบบข้นึ มาทดแทน ออกแบบอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน และสรา้ งสรรค์ห้องเรยี น โต๊ะ และกระดาน ผลงานทด่ี ี มคี วามแปลกใหมจ่ ากผลของการ ศกึ ษา มะปรางกลา่ วทง้ิ ทา้ ย ขอปรบมอื ให้ กบั ไอเดยี ทแ่ี ปลกใหมข่ องนอ้ งมะปราง โดย ผลงาน “Living Plus+” ของเธอยงั ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ ประเภทออกแบบตกแตง่ หอ้ ง โครงการ ลฟิ วง่ิ รมู ลฟิ วง่ิ มอลล์ ดีไซน์ คอน เทสต์ 2015 บาย อนิ เดก็ ซ์ ลฟิ วง่ิ (Living Room Living Mall Design Contest by Index Living Mall) การประกวดออกแบบ เฟอรน์ เิ จอรแ์ ละการออกแบบตกแตง่ หอ้ งอกี ดว้ ย ในการออกแบบภายในอาคารพัฒนาทักษะเด็กวยั อนบุ าล ศกึ ษาเรือ่ งการใช้พื้นทีก่ าร จุลสารราชRมMงคลUธัญTบTุรี ๓เลน่ เพือ่ การเรยี นรตู้ ามพฒั นาการทั้ง ๔ ด้านของเดก็ ซึง่ จ�ำ เป็นตอ้ งมีพน้ื ท่ตี า่ งๆดังต่อไปน้ี แบ่งเปน็ พนื้ ท่สี �ำ หรบั เรียนรู้ ๘๐% พื้นท่สี ว่ นสำ�นักงาน บริการตา่ งๆ ๑๕% และอ่นื ๆ อีก ๕% ส�ำ หรบั พนื้ ทสี่ �ำ หรับการเรียนรู้ ๘๐% แบง่ ออกเป็น ส่วนพ้นื ท่เี อนกประสงค์(Gymnasium) ๗๑๗ ตารางเมตร หอ้ งเรียนเสรมิ จนิ ตนาการ (Imagine Play) ๑๗๒ตารางเมตร ห้องตอ่ บล็อก (Block Build) ๑๕๐ ตารางเมตร หอ้ งสมดุ (Play House)๒๓๕ ตารางเมตร กลอ่ งนักสรา้ งสรรค์ (Idea Box) ๑๕๓ ตารางเมตร พนื้ ทีน่ ักสร้างสรรค์ (Creative Space) ๑๐๐ ตารางเมตร พืน้ ทเ่ี รียนรนู้ อกอาคาร (Light Play)๓๒๑.๕ ตารางเมตร โรงอาหาร (Canteen) ๔๔๙ ตารางเมตร และหอ้ งสง่ เสริมคณุ ธรรม (Good thing room) ๑๖๐ ตารางเมตร

ขา่ วนโยบาย: กองบรรณาธิการ \"ประเสริฐ\" ปลื้ม ราชมงคลธัญบุรี คว้ารางวัลสหกิจศึกษานานาชาติดีเด่นจาก สกอ.รศ.ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเปิดเผยว่าราชมงคล ธั ญ บุ รี ไ ด้ รั บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก จ า กสำ � นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า รอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็นสถานศึกษาดำ�เนินการสหกิจศึกษานานาชาติดีเด่นประจำ�ปี ๒๕๕๙ ทั้งนี้เชื่อว่าหลักเกณฑ์ที่ทำ�ให้มทร.ธัญบุรีได้รับรางวัลในครั้งนี้เป็นเพราะตลอดระยะเวลา ๓ ปีที่ผ่านมามหาวิทยาลัยได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาไปสหกิจศึกษาต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดย มหาวิทยาลัย มีกองทุนพัฒนานักศึกษา ซึ่ ง เ ป็ น ก อ ง ทุ น ที่ จ ะ ส นั บ ส นุ น เ งิ น ช่ ว ย เ ห ลื อ นักศึกษา เมื่อได้รับการตอบรับเข้าสหกิจศึกษา ที่ต่างประเทศจะได้รับการสนับสนุนเงินจากกอง ทุนฯ คนละ ๒๐,๐๐๐ บาท โดยไม่มีการระบุ จำ�นวนนักศึกษา นอกจากกองทุนนี้ ยังสนับสนุน ให้นักศึกษานำ�ผลงานวิชาการไปแสดงยังต่าง ประเทศ อีกด้วย โดยขณะนี้มีหลายสาขาวิชา ที่ โปรเจกต์ของนักศึกษาสามารถส่งผลงานไป ตีพิมพ์ ในระดับนานาชาติได้ “ปีที่ผ่านมากองทุนฯ ได้มอบเงินให้กับนักศึกษาจำ�นวน ๓๔๐ คน โดยนักศึกษาส่วนใหญ่จะเดินทางไปสหกิจ ศึกษาในประเทศแถบอาเซียน ๘๐% ที่เหลือจะเป็นสหรัฐอเมริกาและประเทศในแถบยุโรป นักศึกษาที่ ไปส่วนใหญ่จะ อยู่ในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เป็นต้น การที่นักศึกษาได้ มีโอกาสเดินทางไปต่างประเทศ เป็นการเพิ่มพูนทักษะในเรื่องของภาษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและงานที่ ได้รับ มอบหมายมากขึ้น รวมถึงยังเป็นการจุดประกายให้นักศึกษามีความสนใจไปทำ�งานในต่างประเทศเพิ่มขึ้น” อธิการบดี มทร.ธัญบุรี กล่าวว่า สิ่งที่มหาวิทยาลัยมุ่งหวังคือการฝึกสหกิจศึกษาในต่างประเทศของนักศึกษาจะขยายระยะเวลามาก ขึ้น อย่างน้อยเป็นระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษา โดยขณะนี้มีนักศึกษาของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ไปสหกิจศึกษาที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ๑๑ คน เป็นระยะเวลา ๑ ปี รวมถึงยังตั้งเป้าหมายว่าจะต้องมีนักศึกษาที่จะไปฝึกสหกิจในต่างประเทศ ๑๐% ของจำ�นวนนักศึกษาที่จะสำ�เร็จการศึกษา และอยากให้ทำ�ในภาคการผลิตเอกชน เพราะขณะนี้นักศึกษาที่ไปยังทำ�งานใน มหาวิทยาลัย หรือในกลุ่มความร่วมมือเท่านั้น๔ RจุลMสารUราTชTมงคลธญั บรุ ี

ขา่ วโยบาย นโยบายการพฒั นา ‘มทร.ธัญบรุ ี’ ตอบโจทยค์ วามส�ำ เร็จ: อลงกรณ์ สรา้ งบัณฑิตนักปฏบิ ัตมิ ืออาชีพ ตอ่ ยอดงานวจิ ัยนวัตกรรมสอู่ ุตสาหกรรมประเทศ การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนสอดรับความเป็นมืออาชีพสู่โลกการทำ�งานจริง รวมทั้งผลงานวิจัย นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ต่างๆเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับในเวทีระดับประเทศและนานาชาติ ทั้งยังแสดงบทบาทช่วยเหลือภาคอตุ สาหกรรม SMEs อย่างเดน่ ชดั รศ.ดร.ประเสรฐิ ป่ินปฐมรฐั ผู้สละสิทธิเ์ พยี งแค่ ๑๐-๑๒ % ซ่งึ น้อย รศ.ดร.ประเสรฐิ ปน่ิ ปฐมรฐัอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช กว่าเมอ่ื เทียบกบั ปที ่แี ลว้ ประมาณ ๒๐%มงคลธญั บรุ ี (มทร.ธัญบุรี) เปดิ เผยวา่ จาก และภาพรวมของคะแนนสอบตรงปีน้ีก็ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายและเน้นการทำ�พอร์ตเพื่อนโยบายและแผนการพัฒนามหาวิทยาลัย สงู กว่าปีทผี่ า่ นมา แสดงใหเ้ ห็นว่าเดก็ เป็นการตรวจสอบคุณภาพวิชาการและท้ังการปรับหลักสูตรการเรียนการสอน เก่งเลอื กทจ่ี ะมาอยูท่ ี่นี่ สว่ นแอดมิชช่นั วิชาชีพ สำ�หรับใช้ยื่นสมัครงานต่อไปเพิ่มบทบาทของคณาจารย์ด้านงานวิจัย เปิดรับ ๑,๖๐๐ คน มียอดสมคั ร ๒,๒๐๐ ส่วนที่สามคือการส่งเสริม สนับสนนุ ให้เพื่อต่อยอด พร้อมถ่ายทอดสู่ภาคธุรกิจ คน ส�ำ หรับคณะยอดนยิ มของปีนี้ คอื อาจารย์และนักศึกษาสร้างผลงานวิจัยและและอุตสาหกรรม ซึ่งตอนนี้ผลลัพธ์อันเป็น บริหารธรุ กิจ สถาปัตยกรรมศาสตร์และ น�ำ งานวิจยั ออกไปใชป้ ระโยชน์ ช่วยเหลอืท่ีประจักษ์เริ่มเด่นชัดและสะท้อนกลับมา วิศวกรรมศาสตร์ ยังมคี ณะเทคโนโลยี ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งทำ�ไปแล้วท�ำ ให้ มทร.ธญั บรุ ี มชี อ่ื เสียงและเปน็ ท่รี จู้ ัก คหกรรมศาสตร์ โดยเฉพาะในกลุ่มอาหาร และประสบความสำ�เร็จโดยเฉพาะธุรกิจ โดยทั่วกัน สร้างความเชื่อมั่นและมั่นใจให้ มีจำ�นวนผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็น เอสเอ็มอี ทงั้ ในกลุ่ม Start-up และ Turnกับผู้ปกครอง และการบอกต่อแนะนำ�จาก ไ ป ต า ม เ ท ร น ด์ ข อ ง ต ล า ด แ ล ะ ส อ ด รั บ กั บ Around ดังขา่ วท่ีปรากฏออกไปรุน่ พี่ถงึ รุ่นนอ้ ง จึงท�ำ ใหย้ อดสมัครเรยี นใน โปรเจกต์รฐั บาลในกลมุ่ คลสั เตอรต์ ่างๆ เช่น และอีกส่วนท่ีดำ�เนินการอยู่ซึ่งคณะ/สาขาต่าง ๆ เพม่ิ ข้ึนอย่างตอ่ เน่ือง ยานยนต์ ไอที การท่องเทยี่ วและอาหาร เรว็ ๆนี้ จะได้เห็นบทบาท มทร.ธัญบุรี ใน “จำ�นวนผู้สมัครเรียนทั้งสอบ ถือเป็นปัจจัยสำ�คัญในการเลือกเรียน” ดา้ นมหาวทิ ยาลยั วจิ ยั ท่มี ีผลงานวจิ ัยและตรง โควตา ๗๐% และแอดมชิ ชน่ั ๓๐% รศ.ดร.ประเสรฐิ กลา่ ว นักวิจัยคุณภาพที่พร้อมจะเพ่ือนคู่คิดทางเพ่ิมขน้ึ มากจากปที แี่ ล้ว และมีสัดสว่ น ความสำ�เร็จของการดำ�เนินงาน ธุ ร กิ จ ร่ ว ม มื อ ส ร้ า ง ผ ล ง า น วิ จั ย กั บ ภ า ค ตามแผนการศึกษาเป็นไปตามความมุ่ง เอกชนเพื่อนำ�รายได้เข้ามหาวิทยาลัยและ รับรางวัลสหกจิ นานาชาติดีเดน่ หมาย แต่ มทร.ธัญบุรี ยงั คงพฒั นาการ ส่วนหนึ่งเป็นค่าตอบแทนนักวิจัยเพ่ือจูงใจ ศึกษาอย่างต่อเน่ืองจากโรดแมปท่ีวางไว้ ให้อาจารย์ของมหาวิทยาลัยสนใจทำ�วิจัย รบั รางวัลเชดิ ชเู กียรตจิ าก วช. สำ�หรับสรา้ งบัณฑิตนกั ปฏิบตั มิ ืออาชีพ ซงึ่ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้รายได้จากงาน มสี ว่ นตา่ งๆ ทีด่ �ำ เนินการไปแลว้ และจะขับ วิจัยจะเป็นทุนการศึกษาสำ�หรับเด็กท่ีจะ วศิ วกรรมศาสตร์ Hands-On เคล่ือนตอ่ ไป โดย รศ.ดร.ประเสริฐ สรปุ มาเรยี นท่ี มทร.ธญั บรุ ี ต่อไป ให้ฟังว่า ที่ ก ล่ า ว นี้ คื อ บ า ง ส่ ว น ข อ ง ส่ ว น แ ร ก คื อ ก า ร ป รั บ ป รุ ง โรดแมป มทร.ธัญบรุ ี ในการพัฒนา หลักสูตรและกระบวนการสอนโดยเน้น มหาวิทยาลัย สร้างบัณฑิตนักปฏิบัติ สมรรถนะวิชาชีพที่สอดรับความต้องการ มอื อาชพี สรา้ งงานวจิ ยั สภู่ าคอตุ สาหกรรม ของสถานประกอบการ เพือ่ สรา้ งโอกาสใน การมงี านทำ�หลังจบ และมีรายไดท้ ่มี ั่นคง จลุ สารราชRมMงคลUธัญTบTรุ ี ๕ รวมถึงการฝึกสหกิจศึกษาโดยมีเงินกองทุน พัฒนากิจการนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้ ไปฝึกสหกิจในต่างประเทศ และปลูกฝัง เรื่องทักษะทางสังคมต่อไป ส่วนที่สอง เป็นการเติมเต็มทักษะด้านไอทีและภาษา ตา่ งประเทศ โดยจัดอบรมและจัดสอบทัง้ มาตรฐานวิชาชีพไอทีและการสอบโทอิค

กีฬาบคุ ลากรส�ำ นักงานคณะ กรรมการการอดุ มศกึ ษาครง้ั ท่ี ๓๕ “ราชมงคลธญั บุรีเกมส์” ปิดฉากไปแล้วสำ�หรับการแข่งขันกีฬาบุคลากรสำ�นักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษาครง้ั ท่ี ๓๕ “ราชมงคลธญั บรุ เี กมส”์ โดยมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธญั บรุ ี เปน็ เจา้ ภาพ ซง่ึ มหาวทิ ยาลยั ๖๔ แหง่ เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ระหวา่ ง วนั ท่ี ๔ - ๑๑ ม.ิ ย.ทผ่ี า่ นมา โดยไดร้ บั เกยี รตนิ างสาวอาภรณ์ แกน่ วงศ์ เลขาธกิ าร คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เปน็ ประธานในพธิ ปี ดิ การแขง่ ขนั โดย รศ.ดร.ประเสรฐิ ปน่ิ ปฐมรฐั อธกิ ารบดี มทร.ธญั บรุ ี ประธานคณะกรรมการจดั การแขง่ ขนั กฬี า สกอ.ครง้ั ท่ี ๓๕ ใหก้ ารตอ้ นรบั และมี ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ดร.มณฑล สงวนเสรมิ ศรี อธกิ ารบดี ม.พะเยา เจา้ ภาพในการจดั กฬี าบคุ ลากรส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาครง้ั ท่ี ๓๖ “พะเยาเกมส”์ มาเปน็ ผรู้ บั ธง โดยพธิ ปี ดิ เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บงา่ ย แตส่ รา้ งความ ประทบั ใจกบั นกั กฬี าบคุ ลากรส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา๖ จRลุ MสารUราTชTมงคลธัญบุรี

ดา้ น รศ.ดร.ประเสรฐิ ปน่ิ ปฐมรฐั อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ในฐานะเจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั กฬี าบคุ ลากรส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ครง้ั ท่ี ๓๕ กลา่ ววา่ ขอแสดงความยนิ ดกี บั นกั กฬี าบคุ ลากรส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาทกุ คนท่ี ไดร้ บั เหรยี ญรางวลั เปน็ แบบอยา่ งของนกั กฬี าทด่ี ี รแู้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั ในการแขง่ ขนั มกี ารชงิ ทง้ั หมด ๔๑๓ เหรยี ญทอง จาก ๑๗ชนดิ กฬี า นอกเหนอื ชยั ชนะของการแขง่ ขนั คอื การสง่ เสรมิ สขุ ภาพพลานามยั สรา้ งความสามคั คี และสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ ลากรแตล่ ะสถาบนั การศกึ ษารแู้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั ภายใตค้ �ำ ขวญั “กฬี าสมั พนั ธ์ สรา้ งสรรคม์ หาวทิ ยาลยั \" จุลสารราชRมMงคลUธญั TบTุรี ๗

มทร.ธญั บุรี เดินหนา้ Start Up จัดอบรม ผ้ปู ระกอบการใหม่ นายพงศ์พชิ ญ์ ตว่ นภษู า รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล การฝกึ อบรม กจิ กรรมส่งเสริมการตลาดธญั บุรี เปิดเผยว่า ตามที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี ได้ให้ความสำ�คญั กลุ่มเป้าหมายที่สามารถเข้าร่วมโครงการในการขบั เคลื่อน SMEs ให้เจรญิ เตบิ โตอย่างย่ังยนื เพื่อเป็นแรงผลกั ดันเศรษฐกจิ ให้ พฒั นาผ้ปู ระกอบการใหม่ (Start Up) จะเกิดความเขม้ แขง็ นน้ั จงึ ไดเ้ ห็นชอบให้ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาด ต้อง อยู่ในสาขาภาคการผลิต หรือ ภาคยอ่ ม (สสว.) ดำ�เนนิ ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนการด�ำ เนนิ งานสง่ เสรมิ SMEs ระยะเรง่ ด่วนปี การบริการ และต้องมคี ณุ สมบตั ิอย่างใด๒๕๕๘ ประกอบดว้ ย ๔ ยทุ ธศาสตร์ (4P) รวม ๑๓ โครงการ ซ่ึงมุ่งเน้นงานทสี่ ามารถ อย่างหนง่ึ ดงั นี้ เป็นบุคคลทอี่ ยู่ระหวา่ งเริ่มด�ำ เนนิ การได้ทันที และให้ความส�ำ คัญกับการปรับปรงุ การบริหารจัดการงานสง่ เสรมิ การศกึ ษา หรือ ใกลจ้ บการศึกษา หรอืSMEs ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ มีเอกภาพ ด�ำ เนินงานสอดคล้องในทศิ ทางเดียวกนั และมกี าร จบการศึกษาไปแล้ว ทัง้ ประเภทการศึกษาสร้างกลไกหรอื โครงสรา้ งพน้ื ฐานทจี่ �ำ เปน็ ต่อการสนบั สนุนให้ SMEs สามารถเริม่ ต้น ภาคปกติ หรือ ภาคพิเศษ หรือ การฝึกธุรกิจและเตบิ โตได้ตามวงจรธรุ กจิ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ส�ำ นักงานส่งเสรมิ วสิ าหกิจขนาด อบรมตา่ งๆ บุคคลทวั่ ไปทย่ี งั ไม่ไดเ้ ร่ิมกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.) จึงจัดท�ำ โครงการพฒั นาผปู้ ระกอบการใหม่ (Start Up) ทาง ประกอบธรุ กจิ หรือ เคยดำ�เนินธรุ กจิ มามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีได้เข้ามาเป็นส่วนหน่ึงในการขับเคล่ือนโครงการ แล้วแต่ปจั จุบันไม่ได้ด�ำ เนินธุรกิจน้นั ๆ หรือพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Start Up) โดยทางมหาวทิ ยาลัยใชช้ ่ือวา่ โครงการสร้างผู้ บคุ คลทีต่ กงาน หรือ ไมม่ ีงานประจ�ำ ท�ำประกอบการใหม่เชิงสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล อยู่วสิ าหกจิ ชมุ ชน หรือ เครือข่ายวิสาหกิจธัญบุรี (Start Up ราชมงคลธญั บุร)ี เพ่อื นำ�ผ้ทู มี่ ีความสนใจจะประกอบธุรกิจ หรอื ผูท้ ่ีเรมิ่ ชุมชน ผู้ทีด่ ำ�เนนิ ธุรกิจอยู่ในปัจจบุ ัน แตม่ ีประกอบธุรกิจ น�ำ มาเข้าส่กู ระบวนการ พัฒนาศกั ยภาพ ซ่ึงจะจดั ให้มนี กั วนิ ิจฉัย ท่ีปรกึ ษา ระยะเวลาในการดำ�เนนิ ธุรกจิ ไม่เกิน ๓ ปี นับถงึ วนั ท่สี มคั รเข้าร่วมโครงการ โดยหาก ผู้ท่ีดำ�เนินธุรกิจอยู่ ในปัจจุบันดังกล่าวมีการ จดทะเบียนเพ่ือดำ�เนินธุรกิจเป็นนิติบุคคล จะต้องเป็นนิติบุคคลท่ียังไม่ ได้มีการจด ทะเบียนเปน็ ผู้เสียภาษเี งนิ ได้นติ ิบุคคล๘ Rจลุ MสารUราTชTมงคลธญั บุรี USPTA!RT

แนวความคดิ ในการพฒั นาผูป้ ระกอบการ SMEs ในมมุ มองของ มทร.ธญั บรุ ีเพ่ือน�ำ มาประยกุ ต์ใช้ในการดำ�เนนิ โครงการ “3S” ทร่ี ฐั มงุ่ สง่ เสริม Start Up SMEsSocial Enterprise โดย Start Up ทรี่ ฐั เนน้ สง่ เสริม ๖ กลุ ม่ หลกั ได้แก่ ธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) การเงนิ (Fintech) การเกษตร (Agritech) การศกึ ษา(Edtech) การบรกิ าร (Service) และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Internet of things) สำ�หรับแนวทางการด�ำ เนนิ โครงการ Start Up ของ มทร.ธญั บรุ ี ประกอบดว้ ย การอบรมขั้นต้น๑๘ ช่วั โมง ได้แก่ พื้นฐานการเป็นผ้ปู ระกอบการ Digital Marketing กฎหมายท่คี วรร้ ู ฯลฯ การอบรมเชิงลึก ๓๐ ชว่ั โมง ได้แก่ การจัดท�ำ แผนธุรกจิ กลยทุ ธด์ ้านต่างๆ ในการท�ำธรุ กิจ กรณีศึกษาตา่ งๆ ฯลฯ และการบม่ เพาะ ๔ – ๖ เดอื น ไดแ้ ก่ Coaching กลยุทธ์เชิงลึก การจำ�ลองสถานการณ์ทางธุรกจิ การรบั ทุนสนบั สนุน จาก Venture Capital ฯลฯ ซ่งึทาง มทร.ธัญบรุ ี ไดด้ ำ�เนินการมาถึงขัน้ การอบรมผูป้ ระกอบการใหม่ (Start Up) ๒๕๕๙ระยะท่ี ๑ (Phase 1) ซง่ึ จดั การอบรมใหก้ ับนักศกึ ษา ประชาชน ทีย่ งั ไม่มธี ุรกิจ และทม่ี ีธุรกิจ ทั้งหมด ๗ รุ่น เพื่อทำ�การคดั เลือกผู้ประกอบการใหม่เขา้ รว่ มโครงการ ผปู้ ระกอบการใหม่ (Start Up) ๒๕๕๙ ระยะที่ ๒ (Phase 2) ตอ่ ไป จุลสารราชRมMงคลUธญั TบTรุ ี ๙

“ปลกุ พลัง SMEs พลกิ วกิ ฤต มทร.ธญั บรุ ี เดนิ หนา้ เข้าหาผปู้ ระกอบการสร้างโอกาสส่คู วามส�ำ เร็จ” ภายใต้ SMEs Turn Around ทั่วทกุ ภมู ภิ าคโครงการปรับแผนธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถ SMEs สสว.ดำ�เนนิ การเปิดตัวโครงการปรับแผนธุรกิจและเพ่มิ ขดี ความสามารถ SMEs ผนกึกำ�ลังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ธนาคารเอสเอม็ อี และภาคีเอกชน เร่งชว่ ยเหลือธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) กลุ่ม TurnAround ๑๐,๐๐๐ กจิ การ เดนิ ทางไปทุกภาคของประเทศไทย ซ่งึ ได้รับการตอบรับจากผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการท่ัวภูมิภาค๑๐ Rจลุ MสารUราTชTมงคลธญั บรุ ี รศ.ดร.ประเสรฐิ ปน่ิ ปฐมรัฐ อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี เปิดเผยวา่ ตามที่ทางมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ได้ ทำ�บนั ทึกข้อตกลงความร่วมมอื กับสำ�นกั งานส่งเสริมวสิ าหกจิ ขนาดกลางและ ขนาดยอ่ ม โดยมหาวิทยาลัยนำ�องคค์ วามรู้ทช่ี ว่ ยพฒั นาและสง่ เสรมิ โดยกลุ่ม SMEs Turn Around กลมุ่ ที่ ได้ดำ�เนนิ กิจการอยูแ่ ล้วและประสบปญั หา โดย ท�ำ การคดั เลอื กจ�ำ นวน ๑๐,๐๐๐ ราย จากทั่วทกุ ภาคของประเทศไทย โดยให้ ความร้ผู ปู้ ระกอบการ ให้คำ�ปรกึ ษากับสถานประกอบการ จากการเดินทางไปตาม ภมู ภิ าคตา่ งๆ จังหวดั ชลบุรี ,นนทบุรี ,เชยี งใหม,่ พษิ ณโุ ลก,ขอนแกน่ ,นครปฐม, สงขลา,สมทุ รปราการ ,อยุธยา,กรงุ เทพมหานคร ปญั หาภาพรวมของผู้ประกอบ การทผี่ า่ นการวินจิ ฉัยเบอื้ งต้น จากผปู้ ระกอบการ ปญั หาสินค้าและบริการ การ ตลาด การจัดการ การเงิน บุคลากร โดยปัญหาทพ่ี บในประเดน็ ตา่ งๆ ของผู้ ประกอบการ เช่น ปัญหาแผนธุรกจิ หรอื แผนการขาย หรอื แผนการจัดการ ปญั หา การพัฒนาชอ่ งทางการขยายหรอื ใหบ้ รกิ าร ปัญหายอดขาย ปญั หาจ�ำ นวนลกู ค้า ของกจิ การชว่ ง ๑ ปี ปัญหาผลการดำ�เนนิ ธุรกิจในปัจจุบัน ปัญหาการบริหารจดั การ สต๊อกสนิ คา้ (สำ�หรับธุรกิจขายสินคา้ ) ปัญหาการได้รบั ใบอนญุ าตในการดำ�เนิน กิจการตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การจัดจำ�หนา่ ยสนิ ค้าและบริการ ปัญหาการคา้ งช�ำ ระหนี้ ปญั หาผลกระทบต่อการด�ำ เนินงานหรือยอดขายจากการ ลาออกของพนักงาน ปญั หาในช่วง ๓ เดอื น สดั สว่ นจำ�นวนการคนื สินคา้ เทียบเท่า จ�ำ นวนขาย ซึ่งเปน็ ปัญหาทีผ่ ่านการวนิ ิจฉยั หาแนวทางแก้ ไข เป็นทีป่ รึกษาใหก้ บั ผู้

ประกอบการ ซึง่ ทางมหาวิทยาลยั มผี เู้ ช่ยี วชาญ อาจารย์ แขนงตา่ งๆ รองรบั ทง้ั๑๐ คณะ ๑ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย นอกจากนที้ างมหาวิทยาลัยยงั มีโครงการทีจ่ ะสง่ เสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาผ้ปู ระกอบการและผลิตภณั ฑ์ จากวิสาหกจิชุมชน เพ่ือเปน็ การยกระดบั และสถานะความสามารถในการแข่งขัน มหาวทิ ยาลัยจะมีส่วนเขา้ ไปพัฒนาผลิตภณั ฑ์ พฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ หาชอ่ งทางการจดั จ�ำ หน่าย ยกระดบั สินคา้ ใหส้ ามารถจำ�หนา่ ยในชอ่ งทม่ี ีก�ำ ลงั ซื้อสงู ในขณะนี้ทางมหาวิทยาลัยไดเ้ ปิดหอ้ งปฏิบตั ิการ ใชเ้ ปน็ ศูนย์ทดสอบเทียบมาตรฐาน จดั ท�ำ มาตรฐานการรับรองอาชีพ ทำ�การตลาดออนไลน์ ชอ่ งทางในการจำ�หนา่ ย องค์ความรู้ทางดา้ นสารสนเทศ ให้สำ�หรับผูป้ ระกอบการ และจัดตง้ั Center of Excellence ศนู ย์บรกิ าร SMEs ไวท้ ีค่ ณะบริหารธุรกิจเพอ่ื เป็นแหล่งเรยี นรู้ จุลสารราชRมMงคลUธญั TบTรุ ี ๑๑

วิทยาการคอมพิวเตอร์ มทร. ธัญบุรี ลงพ้นื ท่ีบรกิ ารวิชาการ พฒั นาสอื่ มลั ตมิ ีเดียภาษากะเหรีย่ ง นายประภาส ทองรัก อาจารยป์ ระจำ�สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หวั หน้า ลงพื้นท่ีฟ้ืนฟูตำ�บลบ้านยางนำ้�กลัดเหนือ งานศลิ ปวัฒนธรรม คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อำ�เภอหนองหญ้าปล้อง จงั หวัดเพชรบุรี ธญั บรุ ี เปิดเผยวา่ พืน้ ทตี่ �ำ บลบา้ นยางน้�ำ กลัดเหนอื อำ�เภอหนองหญา้ ปล้อง จงั หวดั อนุรักษ์วัฒนธรรมทางภาษากลุ่มชาติพันธุ์ เพชรบรุ ี เปน็ พืน้ ที่ราบสงู ปา่ เขาสงู ชนั สลบั ซบั ซอ้ น โดยในพ้ืนทที่ ่ีมชี าวไทยภูเขาเผา่ กะเหร่ียงภาคตะวนั ตก กะเหรยี่ งจากหลายท้องที่มาอาศัยอยรู่ วมกนั มี ๔ หมบู่ า้ น คอื บา้ นห้วยเกษม บ้านลิน้ ชา้ ง บ้านท่าเสลา และบ้านพนุ ้ำ� ร้อน จากการลงพ้นื ทีส่ ำ�รวจและสมั ภาษณ์ พระครูสนุ ทรวัช การ เจา้ อาวาสวัดลิน้ ชา้ ง เจา้ คณะต�ำ บลหนองหญา้ ปล้อง เขต ๒ องค์อุปถมั ภ์โรงเรียน ผ้บู ริหารโรงเรียนยางน�้ำ กลัด เหนอื และครปู ระสาน ศรสี ขุ สวัสด์ิ พบว่า วถิ ีชวี ิตความเปน็ อยูข่ องชาวกะเหรย่ี งมีการเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม ซึง่ ได้รบั ผลกระทบจากสภาพสงั คมทเี่ ปลีย่ นไป ชาวกะเหรย่ี งพยายาม ปรับวิถีชีวิตของตนเองให้สอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้า สงั คมเมือง ทำ�ให้วถิ ีชวี ติ บางสว่ นต้องมีการปรบั เปล่ียนไป ไมว่ ่าจะเรอื่ งการแต่งกาย การ ประกอบสมั มาอาชีพ หรอื แมก้ ระท่งั ภาษา ในดา้ นของภาษาน้นั ภาษากะเหรยี่ งถอื เป็นภาษาทอ้ งถนิ่ ทีเ่ ป็นความภาคภมู ิใจ และเป็นเอกลักษณ์ชาวกะเหรี่ยง แต่เอกลกั ษณ์พ้นื ถิ่นนกี้ �ำ ลงั จะเลือนหายไปตามกระแส ความเป็นไปไดข้ องสงั คมเมอื ง เมื่อวฒั นธรรมของสังคมเมอื งคอ่ ย ๆ คืบคลาน และเขา้ มากลนื กนิ วิถีชีวิตของชนเผา่ กะเหร่ยี ง ชนพืน้ เมอื งจงึ หนั มาเรียนรู้ภาษาเมืองจนละเลย เอกลักษณท์ างภาษาของตนเองไป และสกั วันคงจะไม่มีชนเผ่ากะเหรย่ี งคนใดที่สามารถ พูดภาษาพน้ื ถ่นิ ของตนไดอ้ กี ดังนนั้ เพื่อใหภ้ าษากะเหรีย่ งยงั คงดำ�รงอยตู่ ่อไปจนชว่ั ลกู หลาน จงึ ให้นกั ศกึ ษาชนั้ ปีที่ ๔ นางสาวรัตติกร ซำ�เจริญ และนางสาวพธุ ติ า แกว้ กระจ่าง สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีจดั ทำ�ส่ือมัลตมิ ีเดยี สำ�หรับการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมทางภาษาข้ึนมา และได้จดั โครงการน�ำ นักศึกษาในสาขาวชิ า๑๒ จRลุ MสารUราTชTมงคลธัญบรุ ี

ผู้ผลิตส่ือมัลติมีเดียสำ�หรับการอนุรักษ์วัฒนธรรม “ซ”ี นางสาวเฟาซี การพงศรีทางภาษา “เมย์” นางสาวรตั ติกร ซ�ำ เจริญ เล่าว่า กอ่ น เล่าว่า ไดเ้ รยี นรวู้ ัฒนธรรมความเป็นอยู่สอื่ มลั ตมิ ีเดียท่ีผลติ ช่วยในการสอนการเรียนร้เู ก่ยี วกบั ภาษา ของชาวกะเหร่ียงกะเหร่ียง โดยภายในสอื่ มัลตมิ เี ดียจะมกี ารรวบรวมค�ำ ศัพท์ เ ด็ ก มี ค ว า ม น่ าคำ�อา่ น ความหมายท่ีมคี วามเกย่ี วข้องกับภาษากะเหรย่ี งเอาไว้ รัก และตง้ั ใจดูรวมทั้งมีเกมฝึกทักษะเพ่ือช่วยในพัฒนาความรู้และการจดจำ� การนำ�เสนอ มีทางดา้ นภาษา พรอ้ มทงั้ แบบฝกึ หดั ท่ีใช้ทดสอบประสิทธภิ าพ ส่วนร่วมในการทำ�ทง้ั กอ่ นและหลงั การใชส้ ื่อมลั ตมิ ีเดยี ในการเรยี นรู้ ซง่ึ ก่อนทจี่ ะ กจิ กรรม สอ่ื ทน่ี �ำลงมอื ผลิตมีการลงพื้นทเี่ กบ็ ขอ้ มูลเพ่ือนำ�มาใช้ในการผลติ สื่อ ซ่ึงเปน็ คนในชมุ ชนในการให้ ไปทดลองน้องๆความร่วมมือ จากน้นั มีการทำ�แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ และไดล้ งพื้นท่ีในการทดสอบ เข้าใจและเรียนรู้และเก็บข้อมลู ที่โรงเรยี นยางนำ้�กลัดเหนอื น้องๆ ให้ความสนใจดีมาก ซงึ่ ดีใจที่ได้น�ำ ความ ได้เร็ว นอกจากนี้ยงั ได้ร่วมพฒั นาโรงเรยี นรู้ไปสร้างประโยชน์ใหก้ ับคนท่ดี อ้ ยโอกาส ทำ�กิจกรรมสนั ทนาการกับเดก็ ๆ รอยย้มิ ทางดา้ น “โม” นางสาวพุธิตา แก้วกระจ่าง ผู้ ของนอ้ งๆ เป็นรอยย้ิมที่บรสิ ุทธิ์ ดีใจและร่วมผลิตสอ่ื อีกหนึ่งคน เล่าวา่ จากทต่ี นเองลงพ้ืนท่ีในการ ประทบั ใจท่ีไดล้ งพน้ื ที่ ถา้ มีโอกาสอยากทำ�เกบ็ ขอ้ มูล คนในชุมชนอธั ยาศัยดี เปน็ กนั เองและนา่ รกั ซง่ึ ได้ กจิ กรรมแบบนี้อกีรบั ความรว่ มมือจากเจ้าของภาษาเปน็ อย่างดี ในการท�ำ ส่อื ด้วยวิถชี ีวิตท่เี ปลย่ี นไป ทำ�ให้ชาวคร้ังนรี้ ู้สกึ มีความสขุ ท่ีไดท้ ำ�สอ่ื ท่ีตนเองรกั ไดเ้ รยี นรู้ภาษา กะเหร่ียงต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสังคมอีกหนงึ่ ภาษา ระหว่างที่ทดสอบน้องๆ ใหค้ วามสนใจ และ บทบาทของภาษากะเหรี่ยงเร่ิมจางหาย ไป ในการอนรุ ักษ์ไวซ้ ง่ึ ภาษาท้องถน่ิ ทเ่ี ปน็สือ่ ทีท่ �ำ ได้น�ำ ไปใชป้ ระโยชน์จรงิ ความภาคภมู ิใจและเป็นเอกลักษณ์ “โฟร”์ นายชครสิ นารถสีทา เลา่ วา่ ตนเองไม่ ชาวกะเหรีย่ ง ด้วยส่ือมลั ตมิ เี ดยี ท�ำ ใหม้ ีเคยสมั ผัสชวี ติ กระเหรยี่ งมากอ่ น หลังจากท่ีไดล้ งพืน้ ท่ีทกุ คน ความนา่ สนใจ และกระตนุ้ การเรยี นรขู้ องให้การต้อนรับ เด็กๆ ดูตน่ื เตน้ ท่เี หน็ พ่ี ในการจดั กิจกรรมเป็น ผ้เู รียน ขอปรบมอื ให้กบั นกั ศึกษาชัน้ ปีที่หอ้ งประชุมเล็กๆ ในการทำ�กจิ กรรมสนุกมาก โอกาสท่ีได้ส่ง ๔ สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ คณะต่อให้กบั น้องๆ ก่อนทส่ี �ำ เร็จการศึกษาไดน้ �ำ วิชาความรู้ไปเผย วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแพร่ให้กับนอ้ งๆ ซ่ึงจากการสอบถามชาวบ้าน พบว่า ภาษา เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีกะเหร่ียงก�ำ ลังจะหายไปจากหมบู่ า้ น โครงการนี้เปน็ โครงการทดี่ ี เด็กๆ จะไดม้ สี อ่ื เรียนรู้เพม่ิ เตมิ จลุ สารราชRมMงคลUธัญTบTุรี ๑๓

เปดิ ร้วั ราชมงคลธญั บรุ ี: อลงกรณ์ รตั ตะเวทินรศ.ดร.ประเสริฐ ปน่ิ ปฐมรัฐมทร.ธัญบรุ ี กบั การมสี ่วนร่วมยุทธศาสตร์ชาติ\"ขนสง่ ระบบราง\" พัฒนาชุดวิชาผลติ กำ�ลงั คนรบั ระบบขนส่งทางราง เพราะการเตรียมความพร้อมเรื่องของกำ�ลังคน ด้านระบบการขนส่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชทางรางมีความสำ�คัญและจำ�เป็นอย่างมาก เพื่อรองรับการขยายตัวของการ มงคล (มทร.) ธัญบรุ ี รว่ มมือกับส�ำ นกั งานคมนาคมขนส่งทางราง ทั้งที่กำ�ลังก่อสร้างในปัจจุบันและที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย วิ ท ย า ศ า ส ต ร์อนาคต ตามทร่ี ัฐบาลได้มีแนวนโยบายทีจ่ ะพัฒนาระบบโครงสรา้ งพ้นื ฐานการขนสง่ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม แ ห่ ง ช า ติ ทางราง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในพน้ื ทเ่ี ขตเมอื งซง่ึ เปน็ ยา่ นเศรษฐกจิ การคา้ การลงทุน พื้นที่ (สวทน.) ในฐานะหนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ สำ�คญั ในการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างและชานเมืองอันเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทาง และพื้นที่อื่นๆ อันจะทำ�ให้ประเทศไทย พัฒนากำ�ลังคน จึงได้วางระบบเพื่อการเป็นแหล่งลงทุนในธุรกิจขนส่งทางราง สามารถรองรับการเจริญเติบโตของธุรกิจ สร้างกำ�ลังคนระดับวิศวกรและระดับช่างการค้าการลงทุนทั้งในประเทศและภูมิภาคอาเซียน ซึ่ง มทร.ธัญบุรี โดยคณะ เทคนิคอยา่ งยง่ั ยืน โดยจัดตั้งเปน็ เครอื ขา่ ยวิศวกรรมศาสตร์ ได้มีส่วนร่วมกับยุทธศาสตร์ชาติในด้านระบบขนส่งทางราง การพัฒนากำ�ลังคนและความเชี่ยวชาญดงั ต่อไปน้ี เทคโนโลยีด้านระบบขนส่งทางรางของ ประเทศ โดยประกอบด้วย ๒๒ หน่วย งาน ซ่งึ มี มทร.ธญั บรุ ี เขา้ รว่ มในบทบาท ของสถาบันการศึกษา นอกจากนี้เพื่อ เป็นการส่งเสริมเร่ืองดังกล่าวอย่างจริงจัง ส ว ท น . โ ด ย ส ถ า บั น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เทคโนโลยีชน้ั สูง (THAIST) ได้ดำ�เนิน ก า ร พั ฒ น า ชุ ด วิ ช า ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ร ะ บ บ ขนส่งทางรางรว่ มกับมหาวิทยาลยั อกี ๕ แหง่ ในโครงการพัฒนาชดุ วชิ าและน�ำ รอ่ ง การสร้างกำ�ลังคนระดับวิศวกรด้านระบบ ขนส่งทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน จ�ำ นวน๑๔ RจุลMสารUราTชTมงคลธญั บุรี ๑๒ รายวิชาเพ่อื น�ำ ไปใช้การเรยี นการสอน

ในหลักสูตรอุดมศึกษา ซึ่งถอื เป็นการสรา้ ง การศึกษาสามารถขอรับใบประกอบวิชาชีพ ฝกึ อบรมใหก้ บั หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนฐานความรู้ด้านวิศวกรรมขนส่งทางราง วิศวกร (กว.) วศิ วกรรมเครอ่ื งกล ตวิ เขม้ พฒั นาบุคลากรระบบขนสง่ ทางรางในสถาบันการศึกษา และสร้างก�ำ ลังคน ตั้งศนู ยน์ วัตกรรมระบบราง มทร.ธญั บรุ ี จดั ฝกึ อบรมโครงการระดับวิศวกรท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญให้ ผศ.ดร.เทอดเกยี รติ ลมิ ปทิ ปี ราการ “พัฒนาบุคลากรเพ่ือรองรับการถ่ายทอดกับประเทศ ในสว่ นของ มทร.ธญั บุรี ได้ อาจารย์ประจำ�คณะวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมระบบขนส่งรับผดิ ชอบด�ำ เนินการพัฒนาใน ๒ รายวชิ า มทร.ธัญบุรี และในฐานะผู้อำ�นวยการ ทางราง ๔ ภมู ภิ าค” สนบั สนนุ โดย สวทน. คือ วชิ าวศิ วกรรมระบบรางเบอื้ งตน้ และ ศูนย์นวตั กรรมระบบราง กล่าววา่ มทร. โครงการนมี้ ีวัตถปุ ระสงค์ ๓ ประการคือวชิ าการซอ่ มบ�ำ รงุ ระบบราง ธัญบุรี ได้เริ่มงานด้านระบบขนส่งทาง (๑) เพ่ือพฒั นาศกั ยภาพของบุคลากรภาค รางมาตงั้ แต่ปี ๒๕๕๑ โดยมีการดำ�เนนิ รัฐและเอกชนให้มีความรู้ความเข้าใจพื้น ผศ.ดร.ศวิ กร อ่างทอง กิจกรรมตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทง้ั ในส่วนของ ฐานด้านระบบการขนส่งทางราง (๒) งานวจิ ยั งานพฒั นาบุคลากร งานพัฒนา เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรรองรับการเปดิ หลกั สูตรวศิ วกรรมระบบราง หลกั สูตร งานบริการวิชาการ และสรา้ ง ถ่ายทอดเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมท่ี ผศ.ดร.ศวิ กร อา่ งทอง คณบดี เครอื ขา่ ย มหาวทิ ยาลัยไดม้ ุง่ เน้นให้คณะ เก่ียวเนือ่ งทง้ั ๔ ภูมิภาค (ภาคเหนอื ภาคคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บุรี เปดิ วศิ วกรรมศาสตร์ พัฒนาศนู ย์ความเป็น ตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง และภาคเผยว่า ทางคณะเปิดหลักสูตรวิศวกรรม เลิศทางวชิ าการ (Center of Excellence: ใต)้ และ (๓) เพื่อสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมระบบราง ที่มุ่งผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ COE) รองรับการผลติ บณั ฑติ นกั ปฏบิ ัติ มือระหว่างสถาบันการศึกษาในประเทศมืออาชีพให้มีความรู้ความสามารถด้าน มอื อาชีพ พฒั นาก�ำ ลังคนเขา้ สู่ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมการผลิตด้านระบบวศิ วกรรมระบบราง ดว้ ยแนวคดิ ท่ีมุ่งเน้น และอุตสาหกรรม ตลอดจนการพัฒนา ราง ซ่ึงการฝึกอบรมครัง้ แรกจัดข้ึนทหี่ อ้ งการพัฒนากำ�ลังคนด้านวิทยาศาสตร์ งานวิจยั นวัตกรรมสนองตอบตอ่ นโยบาย ประชุมสงค์ธนาพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ให้มีทักษะความชำ�นาญด้าน และทิศทางการพัฒนาประเทศ จดั ตั้งศูนย์ เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อ.ธัญบุรีวชิ าชพี โดยได้รับความร่วมมอื จาก สวทน. นวตั กรรมระบบราง (Railway System จ.ปทุมธานี โดย รศ.ดร.ประเสริฐ รวมถึงการส่งคณาจารย์ ไปเพิ่มพูนความ Innovation Center : RSIC) ชวู สิ ยั ทศั น์ ปิ่นปฐมรฐั อธกิ ารบดี มทร.ธัญบุรี เป็นรู้ ในต่างประเทศและฝึกประสบการณ์ ‘ผู้นำ�ด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมและ ประธานเปิดโครงการ และมีวิทยากรเพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนมีความ ผู้ประกอบการด้านระบบราง’ (Lead ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ที่ ห ล า ก ห ล า ย เ ข้ า ร่ ว มสมบูรณ์ สามารถสร้างกำ�ลังคนระดับ Promoter for Railway System Industry แลกเปลยี่ นความรู้ อาทิ ดร.เยยี่ มชายวิศวกรนักปฏิบัติมืออาชีพด้านระบบขนส่ง and Entrepreneurs) โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ฉัตรแก้ว ทปี่ รึกษาสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางรางเขา้ สูต่ ลาดแรงงาน รองรบั การ เพื่อการพัฒนาบุคลากรด้านระบบขนส่ง และเทคโนโลยชี น้ั สงู คณุ สรุ เดช ทวแี สงก่อสร้างของภาครฐั บาล ท้ังน้ี หลกั สตู ร ทางราง ส่งเสริมใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ศกึ ษา สกลุ ไทย ประธานกรรมการบริหาร บริษัทวิศวกรรมระบบรางจะเปิดสอนในระดับ วจิ ัย และบรกิ ารด้านวิชาการ รวมถึงการ ช.ดอลลาเซยี น จำ�กดั (มหาชน) ผู้รว่ มปริญญาตรี (หลักสตู รภาษาไทย) ผู้สำ�เรจ็ ก่อตง้ั บริษทั ขอนแกน่ พฒั นาเมอื ง จ�ำ กดั ผศ.ดร.เทอดเกยี รติ ลิมปิทปี ราการ ดร.อรรถพล เก่าประเสรฐิ วิศวกรกำ�กับ การ กองทางถาวร ฝา่ ยการช่างโยธา การ รถไฟแห่งประเทศไทย ผศ.ดร.ประมวล สุธจี ารุวัฒน อดตี รองผู้อ�ำ นวยการสถาบัน การขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ผศ.ดร.เทอดเกยี รติ ลมิ ปิทปี ราการ ผู้อำ�นวยการศูนย์นวัตกรรมระบบราง คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบรุ ี ติดตามความเคลื่อนไหวด้านระบบขนส่งทางราง ได้ท่ี http://www.railway.rmutt.ac.th หรือสอบถาม โทร.๐-๒๕๔๙-๓๔๓๐ RMUTT ๑๕ จุลสารราชมงคลธัญบุรี

สมั ภาษณ์ศิษย์เกา่ ...กองบรรณาธิการ กรปุ๊ - จริ ายุ กลัดทมิ อน้ - จริ ายุ ชุณหมกุ ดาขอบคณุ ภาพ : เจ้าของแบรนดแ์ ละนติ ยสาร WE ,BRIDE ,I DO Magazine คอลัมน์สัมภาษณ์ศิษย์เก่าฉบับนี้ ขอเสนอความภาคภูมิใจของ ๒ ศิษย์เก่า นายจิรายุ กลัดทิมและนายจิรายุ ชุณหมกุ ดา ศษิ ยเ์ ก่าจากคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ผู้ก่อต้งั แบรนด์ JIRAYU ARTCOUTUREสวสั ดคี ะ่ แนะนำ�ตัวเองให้น้องๆ ไดร้ จู้ กั หน่อยคะกร๊ปุ : สวัสดีครบั ผมช่ือนายจริ ายุ กลดั ทิม ช่อื เลน่ วา่ กรปุ๊ ครบัอ้น : สว่ นผมนายจริ ายุ ชุณหมกุ ดา ชื่อเลน่ อ้นครบั ตอนเรยี นอาจารย์ชอบเรยี กคู่แฝด B1&B2 เพราะชอบทำ�อะไรเหมอื นกนัตลอด ท้ังอาจารย์ รุ่นพ่ีรุน่ นอ้ งกเ็ รยี กชอ่ื สลบั กันไปมาจนเปน็ เรอื่ งข�ำ เราท้งั ค่จู บการศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๕๑ จากคณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ เมื่อรู้ว่าที่นี่มีการสอนแฟชั่นจึงเลือกเรียนที่ งานเข้าประกวดเพอ่ื หาประสบการณ์ นี่ครบั อ้น:ตอนเรียนอยู่ ในระดับท่ีพอใจเช่นกัน จดุ เริ่มตน้ ท่เี ลือกเรียนสาขาน้ี ครับ เกรดเฉลยี่ ๓.๑ เคลด็ ลับในการเรียน กรุป๊ : ผมเป็นคนทรี่ กั งานศลิ ปะ ชอบ แชร์ประสบการณใ์ นการเรยี นให้นอ้ งๆ ฟงั หนอ่ ยคะ ของผม ตอ้ งมีความมงุ่ ม่นั ตง้ั ใจ ต้องค้นหา วาดรปู ชอบงานฝมี อื งานประดษิ ฐ์ งาน กรุ๊ป:ตอนเรียนอยู่ ในระดับท่ีน่าพอใจ สไตลข์ องตวั เองให้เจอ อา่ นหนงั สือและ เยบ็ ปักถักรอ้ ย และตดิ ตามแฟชน่ั ทัง้ ใน ครับ เกรดเฉลยี่ ๓.๓ เคลด็ ลับในการ เกบ็ ข้อมูลเยอะๆ ในแมกกาซนี แฟชั่นช้ันนำ� ไทยและตา่ งประเทศ ตอนมธั ยมเรยี น เรียนของผมคือส่ิงแรกต้องขยันและอดทน บทความตา่ งๆ บทเรยี น เทคนิคการตัดเยบ็ สายวิทย์-คณติ มาก็จรงิ แตต่ อนสอบเขา้ ครบั ฝกึ ฝนทกั ษะใหช้ ำ�นาญการวาดรปู ที่อาจารย์สอนประกอบกับการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยผมบอกกับตัวเองเลยว่าจะ การออกแบบตัดเย็บ เป็นหัวใจส�ำ คัญเลย ผลงาน เลือกเรียนในสิ่งท่ีรักและต้องทำ�ให้สำ�เร็จ ต้องหาแรงบันดาลใจจากส่ิงรอบตัวและคิด ผมจึงเลือกมาเรียนทีน่ ่คี รบั บวกอย่เู สมอ รวบรวมเอาจนิ ตนาการของ สงิ่ ทีป่ ระทบั ใจ ณ มทร.ธญั บรุ ี อ้ น : เ ริ่ ม ต้ น จ า ก ผ ม เ ป็ น ค น ช อ บ อ่ า น เราใสล่ งไปในผลงานแฟชนั่ ตอ้ งสวยงาม กรุ๊ป: มากกว่าคำ�วา่ ประทับใจ คอื ความ แมกกาซนี แฟชั่นมากๆ ชอบดูแฟชัน่ โชว์ ร่วมสมัย ใส่ไดจ้ ริง และถ้ามีโอกาสกส็ ่งผล ภูมิใจท่ีจบจากที่นี่ครับการเรียนการสอน งานเสื้อผา้ ช้นั สงู ขนั้ ตอนการออกแบบ ตดั เยบ็ ชอบอา่ นประวตั กิ ารสร้างแบรนด์ แฟช่นั แม้จะจบสายวิทย-์ คณติ เชน่ กัน แต่๑๖ Rจลุ MสารUราTชTมงคลธัญบุรี

ท่ีนี่ฝึกให้เราได้ปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน เราซึ่งคุณแม่เจ้าสาวบอกว่าแม่ก็เคยเป็น ส่วนชื่อเสียงของห้องเส้ือเราก็มาจากผล งานทกุ ชิ้นที่เราตั้งใจท�ำ ออกมาเร่อื ยๆ บวก\"ดีไซเนอร์ออกแบบเป็นก็ต้องตัดเย็บเป็น\" ช่างตัดเสื้อเห็นงานก็มองออกว่าชุดเป็นงาน กับการบรกิ ารอยา่ งเป็นกนั เอง น่าจะเป็น ส่วนท่ีทำ�ให้เราเริ่มเป็นที่รู้จักและบอกต่อคำ�นีจ้ ำ�ไดด้ ีเลย การเรียนแบบนสี้ อนใหผ้ ม สัง่ ตดั ไม่ใช่ชดุ ส�ำ เร็จรปู และมอี ยปู่ ระโยค ท้งั ในกลุม่ ของสอ่ื นติ ยสารและกลมุ่ ลกู คา้ ผลงานทผ่ี า่ นมาของ JIRAYU ART COUTUREเป็นคนลุยๆ ครับ ไมเ่ ก่ยี งงาน ใส่ใจทุก หนึ่งที่คุณแม่พูดกับเราแล้วทำ�ให้เราปล้ืมใจ กรุ๊ป : เราได้สรา้ งสรรค์ผลงานชดุ แต่งงานให้เจา้ บา่ วเจ้าสาวหลายคู่ รวมทัง้ขัน้ ตอน เปดิ ใจในสงิ่ ใหม่ๆ ลดอีโกต้ ัวเอง มากๆคือ \"แมด่ อู อกงานทีท่ ำ�ดว้ ยใจมองยัง ได้ลงแฟช่นั ในแมกกาซนี ชัน้ นำ� เชน่ WE ,BRIDE ,I DO Magazine รว่ มงานกับนางใหน้ ้อยลง มีความนอบนอ้ ม พอจบออกมา ไงก็สวย\" จดุ พลงั ใหเ้ ราสรา้ งสรรค์ผลงาน แบบ ดารานกั แสดง จนตอนน้ี JIRAYU ART COUTURE ครบรอบ ๓ ปีละครับทำ�งานจริงๆ จึงรู้วา่ สิ่งท่อี าจารยส์ อนมา ออกมาเร่ือยๆ ครับ เราโชคดีท่ี ได้ทำ�งานที่เรารักและจะทำ�ให้ ดที ีส่ ุด ทัง้ งานบริการและงานออกแบบตัดเป็นจริงทั้งหมดและใช้ในการทำ�งานได้จริง แฟชัน่ ของ JIRAYU ART COUTURE เยบ็ เพ่ือรอยยม้ิ และความสขุ ของเจา้ บา่ ว เจา้ สาวทุกคู่ แทนคำ�ขอบคุณที่ไว้ใจใหเ้ ราแม้ตอนน้ีเราเป็นดีไซเนอร์คอยเป็นหัวหน้า อ้น : แฟช่นั หลักๆของเราเป็นงานด้านชดุ ช่วยดแู ลชดุ ในวนั ส�ำ คัญ ความสำ�เร็จกับเจ้าของแบรนด์ท่ีอายุยังน้อยและคุมงานไม่ได้เยบ็ ผา้ เองท้งั หมด แตเ่ รา ของเจา้ สาว ชุดแต่งงาน ชุดไทยเจา้ สาว อยากใหแ้ นะนำ�นอ้ งๆ รนุ่ ใหมท่ ่ีมีความฝนั หนอ่ ยคะต้องควบคุมช่างเย็บผ้าและอธิบายแบบได้ ชดุ หม้ัน ชุดยกน้ำ�ชา ชุดอาฟเตอรป์ าร์ต้ี อน้ : ส่ิงทีเ่ จา้ ของแบรนดค์ วรมนี ะครบั คอื ความอดทนและรักในงานทเี่ ราทำ� ทกุสว่ นความทรงจ�ำ ดีๆ คือการได้ส่งผลงาน ชุดราตรีเพ่อื นเจา้ สาว ชดุ สทู เจา้ บา่ ว ชดุ ปัญหาท่ีเข้ามาเราต้องพร้อมรับมือและสู้ ใน ทุกสถานการณ์ เมอื่ มีโอกาสเขา้ มาเราตอ้ งประกวดและทำ�แฟชั่นโชว์กับทางคณะ เรา ไทยเจ้าบ่าว ชุดราตรีและชดุ สูทผู้ใหญค่ รับ ทำ�งานออกมาให้ดที สี่ ุด มีใจบริการ จริงใจ นอบนอ้ ม ร้จู ักเรยี นรู้ในส่งิ ทเ่ี ราผิดพลาดตอ้ งสู้กนั จนสว่างกับเพอ่ื นๆ จนผลงานเปน็ จดุ เด่นของ JIRAYU ART COUTURE และพร้อมทจ่ี ะแก้ไขใหด้ ี พัฒนาศักยภาพ ตัวเองไม่หยดุ นิง่ จะประสบความสำ�เร็จทพี่ งึ พอใจ งานทดี่ ีตอ้ งมีทมี ท่สี ตรองครบั กร๊ปุ : การออกแบบผลงานให้ดสู วยงาม แนน่ อนครบัอน้ : ประทบั ใจเชน่ กนั ครบั พอมาเรียนท่ี มีสไตลท์ ช่ี ดั เจน สวมใส่ได้จรงิ มีความ จลุ สารราชRมMงคลUธัญTบTรุ ี ๑๗นี่จึงไดร้ วู้ ่าดีไซเนอร์ นอกจากความชอบ คลาสสคิ รว่ มสมยั ดึงจุดเด่นของผ้สู วยแลว้ ต้องมีทักษะด้านอื่นรว่ มดว้ ย ทงั้ การ ใสแ่ ละอ�ำ พรางจดุ ท่ีไมม่ ัน่ ใจ การบรกิ ารออกแบบตัดเยบ็ ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมา ท่เี ป็นกนั เอง ลกู ค้าทมี่ าที่ร้านจะได้พบการสรา้ งแบรนด์ การจดั การสนิ คา้ จงึ กบั ดีไซเนอร์โดยตรง ซึง่ จะใหค้ �ำ ปรกึ ษาอยากบอกน้องๆ ใหเ้ กบ็ เกีย่ วประสบการณ์ และแนะนำ� สเกต็ วาดแบบ วดั ตวั อย่างและความรู้ไปมากๆ เพื่อเอาไปประกอบ ละเอียด \"ชุดท่ีสวยต้องพอดีกับรูปร่างอาชีพ ส่วนความทรงจ�ำ ทด่ี กี ็คลา้ ยๆ กนั ของเจ้าของชดุ \" เราใหค้ วามส�ำ คญั กับสิ่งคอื การไดท้ �ำ แฟช่ันโชว์นั่นเอง ไดแ้ สดง นมี้ ากๆ เพราะเม่อื ลกู คา้ ใสช่ ุดได้สวยพอดีผลงานของตัวเองสู่สายตาทุกคู่จากการ มีความม่ันใจ บวกกบั การบริการทด่ี ี ทำ�ให้ร่วมใจกันในกลุ่มเพื่อนและอาจารย์ท่ีคอย เขารูส้ ึกประทบั ใจ ภมู ิใจท่ีได้ใสช่ ดุ ของเราสนับสนุนใหค้ �ำ ปรึกษา และยังช่วยแนะนำ�ห้องเสื้อเราให้คนท่ีเขาทม่ี าของ JIRAYU ART COUTURE ร้จู ักมาใชบ้ ริการกรุ๊ป : ผมกับอน้ ชอบงานเส้อื ผ้าแนวชุด จากดีไซเนอรร์ ุ่นใหม่มาเป็น Topแบรนดข์ องประเทศราตรี ชุดแตง่ งาน หลังจากท่ีเราได้ไป อน้ : เร่มิ แรกจากท่เี ราเปน็ ฟรีแลนซ์ฝกึ งานในห้องเส้ือ และจบการศกึ ษา สมัคร ดีไซเนอร์ ทำ�ชดุ สง่ ใหห้ อ้ งเสอื้ ใหญๆ่ หรือทำ�งานเป็นช่างเสอื้ ในหอ้ งเสอื้ อยู่ ๓ ปี ออก รา้ นเปิดใหม่จนเขามชี อ่ื เสียง จนทำ�ให้เรามาเป็นฟรีแลนซ์ดีไซเนอร์เก็บประสบการณ์ ม่ันใจว่าผลงานของเราต้องเข้าตาผู้บริโภคอกี ๒ ปี จึงตดั สนิ ใจรว่ มกันเปิดห้องเสือ้ เราจึงตัดสินใจเปิดร้านเป็นของตัวเองขน้ึ มาครับ ช่วงแรกต้องอดทนมากๆเลย การถ่ายแฟช่นั wedding แมกกาซีนคร้ังเพราะร้านเรายงั ใหม่ยังไมม่ ีชอ่ื เสยี ง ยอด แรกของเรา ชดุ แรกเปน็ ชดุ ลกู ไมฝ้ รั่งเศสขายอาจจะไมเ่ ยอะเท่าทีค่ วร แต่เราไมน่ งั่ ทรงเมอร์เมด เรามเี ซ๊นส์ทางแฟชั่นว่าตบยุงเหมือนที่เจ้าของกิจการหน้าใหม่ๆ ต่อไปกระแสแฟชั่นชุดแต่งงานทรงนี้ต้องช่วงนั้นก็ตัดเย็บชุดโชว์ท้ังหน้าร้านเราเอง มาแรง น�ำ แสดงแบบโดยเจนี่ เทยี นโพธิ์และส่งร้านใหญ่ๆซึ่งเป็นลูกค้าของเราตอน สวุ รรณ ตอนนั้นกระแสละครเรือ่ งแรงเงายงั เป็นฟรแี ลนซ์เลี้ยงรา้ นมาเรอ่ื ยๆ ผมยัง ดังมากทำ�ให้ชดุ นกี้ ลายเปน็ ท่ีจดจำ� และจำ�เจ้าสาวคนแรกที่เข้ามาใช้บริการได้ดีเลย เป็น signature ของร้าน หอ้ งเสอ้ื JIRAYUครบั แมช้ ดุ ร้านเรายังไมเ่ ยอะ รา้ นไม่ได้ ART COUTURE ชดุ น้ขี ายดีมากๆครับหรหู ราใหญ่โต แต่เจ้าสาวก็สรปุ ตดั ชุดกับ แตกไลนเ์ ป็นชุดอน่ื ๆอกี เยอะเลย และอกี

๑๘ RจุลMสารUราTชTมงคลธัญบุรี

สภาคณาจารย์ : จงกล สุภารัตน์ทา่ นคิดอยา่ งไร กับ ระบบการเปดิ -ปิดภาคเรียนตามอาเซียน ประเทศไทยไดก้ ้าวส่ปู ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนอยา่ งเตม็ รปู แบบเม่ือปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๘ และระบบการจดั การศึกษาไทยไดป้ รับเปลย่ี นตามประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ตงั้ แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ เปน็ ต้นมา ทง้ั น้ี จากมติที่ประชมุอธกิ ารบดีแหง่ ประเทศไทย (ทปอ.) จงึ เปน็ เหตุท�ำ ใหส้ ถาบันอดุ มศึกษาเกือบทุกแหง่ ตอ้ งปรบั เปล่ียนระบบการเปิด-ปดิ ภาคเรียนให้ตรงกับประเทศเพ่อื นบา้ นในประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น คอื ภาคเรยี นที่ ๑ เปดิ เรียนในเดือนสงิ หาคมถงึ เดือนธันวาคมภาคเรยี นท่ี ๒ เปิดเรยี นในเดอื นมกราคมถงึ เดอื นพฤษภาคม ซ่งึ ผมเองก็ไมท่ ราบเจตนารมณแ์ ละขอ้ ดที ่ีชดั เจนในการปรบัเปลีย่ นระบบดงั กลา่ ว ระบบการเปิด-ปดิ ภาคเรียนตามอาเซียนไดถ้ กู น�ำ มาใชง้ านในช่วงระยะเวลาหน่ึงแลว้ ระบบดังกลา่ วยังไม่ ได้มีการประเมนิ ว่าเปน็ ไปตามเจตนารมณ์และข้อดที ่ี ได้คาดหวงั ไวห้ รอื ไม่ แต่กลบั มผี ลกระทบต่อบุคลากรในสถาบันอดุ มศกึ ษา นักศกึ ษา และผปู้ กครอง ท่ี ป ร ะ ชุ ม ส ภ า อ า จ า ร ย์ จากการวิเคราะหข์ อ้ มูลแบบสอบถาม กลุม่ เป้าหมายท้งั ๓ กลุ่ม มีความคิดมหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เห็นสอดคล้องกันต่อการเปิด-ปิดภาคเรียนตามอาเซียนว่ามีผลกระทบอยู่ในระดับมากในได้ทำ�การศึกษาความคิดเห็นเก่ียวกับระบบ ประเดน็ ต่อไปน้ีการเปดิ -ปิดภาคเรียนตามอาเซียน โดยมี ๑.เป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนเพราะไม่สอดคล้องกับบริบทสภาพอากาศกล่มุ เป้าหมาย คอื คณาจารย์ บุคลากร เช่น หอ้ งเรียนมอี ากาศร้อนตอ้ งใช้เครือ่ งปรับอากาศเพมิ่ ขน้ึสายสนบั สนุนการเรยี นการสอน และ ๒.ทำ�ให้ขาดความต่อเน่ืองกันในการจัดระบบการศึกษาของระดับมัธยมศึกษานักศึกษา จากมหาวิทยาลัยท่เี ป็นสมาชกิ และระดับอุดมศึกษาของท่ีประชุมสภาอาจารย์มหาวิทยาลัย ๓.ทำ�ให้มหาวิทยาลัยขาดโอกาสในการจัดกิจกรรมร่วมกับนักเรียนเพราะเวลาแหง่ ประเทศไทย จำ�นวน ๒๗ แห่ง โดย เรยี นไมเ่ อื้อตอ่ กนัใช้แบบสอบถามเรื่องความคิดเห็นเก่ียวกับ ๔.ทำ�ให้ไม่สอดคลอ้ งกบั โอกาสให้บรกิ ารทางวิชาการกับโรงเรยี นระบบการเปิด-ปิดภาคเรียนตามอาเซียน กลุ่มเป้าหมาย เห็นดว้ ย ไมเ่ ห็นดว้ ยม่งุ ประเดน็ ๔ ด้าน คือ ด้านการเรยี นการ คณาจารย์ N รอ้ ยละ N รอ้ ยละสอน ด้านความต่อเนอ่ื งกับการศกึ ษาข้ันพื้น ๓๖๕ ๒๖.๘ ๙๙๖ ๗๓.๒ฐาน ดา้ นการหางานทำ� และดา้ นการใช้ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม แห่งละ ๔๐๐ บุคลากรสายชดุ (คณาจารย์ ๑๐๐ ชดุ บุคลากรสายสนบั สนุนการเรียนการสอน ๑๐๐ ชดุ และ สนบั สนุนการ ๔๘๒ ๓๗.๐ ๘๒๐ ๖๓.๐นกั ศึกษา ๒๐๐ ชดุ ) ไดร้ ับแบบสอบถามคืนมาจากมหาวิทยาลัยทัง้ ส้นิ ๑๗ แหง่ เรียนการสอนจดั เป็นกลมุ่ ผู้ตอบแบบสอบถามได้ ดงั นี้คณาจารย์ ๑,๓๖๑ ชดุ บคุ ลากรสาย นกั ศกึ ษา ๑๑๒๔ ๓๙.๑ ๑๗๕๓ ๖๐.๙สนบั สนนุ การเรยี นการสอน ๑,๓๐๒ ชดุและนักศกึ ษา ๒,๘๗๗ ชดุ รวมทง้ั ส้นิ ตารางสรปุ ความคิดเห็นโดยรวมตอ่ ระบบการเปดิ -ปดิ ภาคเรียนตามอาเซียน๕,๕๔๐ ชุด ข้อมูลท่ีนำ�เสนอข้างต้นเป็นเพียงข้อมูลบางส่วนท่ีได้จากการศึกษาความคิดเห็น ต่อระบบการเปดิ -ปิดภาคเรยี นตามอาเซียน ท่ีไดจ้ ัดทำ�โดย ปอมท. แตก่ ็ยังมีอกี หลาย ประเดน็ ทคี่ วรจะนำ�มาศึกษาเพิม่ เติม เช่น สังคมครอบครวั ประเพณแี ละวฒั นธรรมต่างๆ สภาพภูมอิ ากาศท่มี ผี ลตอ่ การเรยี นการสอนโดยเฉพาะทางด้านการเกษตร เป็นต้น และใน ขณะนี้ ได้มีมหาวิทยาลัยหลายแห่งมีแนวโน้มจะกลับมาใช้ระบบการเปิด-ปิดภาคเรียนตาม เดมิ จลุ สารราชRมMงคลUธัญTบTุรี ๑๙

เครื่องพมิ พ์ ๓ มิติ ต้นแบบ ต้นทนุ ตำ�่ สร้างช้ินงานเรว็ คอลัมนค์ นเก่ง มทร.ธญั บรุ ี ฉบบั น้ีขอเสนอผลงานของนายณัฐพล อินทรบตุ ร นายธรี พนั ธ์ เงินต๋ัน และ นายพิชติ พล สวุ ฒั นางกูร นักศกึ ษาหลักสูตรต่อเนื่อง ภาควชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ออกแบบ และสร้างเครื่องพิมพ์ ๓ มิติ คว้ารางวลั ระดบั ดเี ดน่ จากการประกวดผลงานสิง่ ประดิษฐ์ระดับอุดมศกึ ษา มทร. ธญั บรุ ี ประจำ�ปี ๒๕๕๙ (RMUTT Young Talent Innovation 2016) โดยมี ผศ.ดร.สรุ ินทร์ แหงมงาม เปน็ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาและใหค้ ำ�แนะนำ�กับนกั ศกึ ษา นายพชิ ิตพล สวุ ัฒนางกรู ตัวแทนเจา้ ของผลงาน เลา่ ว่า ใน กระบวนการผลิตทางด้านอตุ สาหกรรม ได้มกี ารพฒั นากรรมวิธี ในการผลิตชิ้นสว่ นอุปกรณ์ที่ใชพ้ ลาสตกิ เปน็ วัสดุในการผลิต เช่น อตุ สาหกรรมการขึน้ รูปแม่พิมพด์ ้วยพลาสติก การหล่อขึ้นรปู พลาสติก เปน็ ตน้ ซง่ึ แตล่ ะกระบวนการนัน้ มคี วามซับซ้อน ยุ่งยาก และใช้ เคร่ืองจกั รท่ีลงทนุ สูง ชิ้นสว่ นท่ผี ลติ ไดน้ ัน้ มรี าคาและตน้ ทนุ ในการ ผลิตสงู ดงั นั้นอุตสาหกรรมการผลิตช้ินส่วนเหล่านี้ ไดม้ ีการคดิ คน้ ใช้ เคร่อื งพิมพ์ ๓ มติ ิ ซึง่ ใชก้ บั ชิน้ งานขนาดเล็ก มคี วามคงทน แขง็ แรง มากกว่ากรรมวธิ ีการผลติ แบบเก่า แตต่ ้นทุนในการผลิตเครอ่ื งพมิ พ์ ๓ มิติ มีราคาสูง ในกล่มุ จงึ ได้ท�ำ การออกแบบเครือ่ งพมิ พ์ ๓ มติ ิต้นแบบ เพือ่ แกป้ ัญหาเรื่องต้นทนุ ในการผลิตของเครอื่ งพมิ พ์ ๓ มติ ทิ มี่ รี าคา แพงในท้องตลาด๒๐ จRลุ MสารUราTชTมงคลธัญบรุ ี

หลักในการทำ�งานเคร่ืองพิมพ์ ๓ มิตติ ้นแบบ โดยการพมิ พ์และขึ้นรปูดว้ ยวสั ดพุ ลาสติก ชนิด PLA อาศัยหลกั การควบคมุ ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์อาร์ดโู นแ่ ละชุดควบคุมมอเตอร์สเต็ปปิ้ง เครือ่ งพิมพ์จะท�ำ งานตอ้ งออกแบบชน้ิงานในโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ บันทึกเป็นไฟลส์ กลุ .STL เม่ือได้ไฟลช์ นิ้ งานแลว้จะท�ำ การโหลดไฟล์เขา้ โปรแกรม Repetier Host เพอื่ ท�ำ การแปลงไฟล์ชนิ้ งานใหเ้ ป็นรหสั ค�ำ สั่งชนดิ G-Code ไป สง่ั ใหช้ ดุ ควบคุมท�ำ งานเพอ่ื ใหก้ ารเคลอ่ื นที่ของหวั ฉีด ใช้หลกั การหลอมละลายพลาสตกิ และทำ�การฉดี เป็นช้ินงานโดยใช้ เคร่อื งพมิ พ์ ๓ มติ ิ ต้นแบบวิธสี าน โดยมกี ารเคลอ่ื นท่ีท้งั ๓ มิติ เพือ่ ให้ไดช้ ้ินงาน ๓ มิติที่สมบูรณ์ ลักษณะ ที่ออกแบบ มีประโยชนอ์ ย่างยิ่งของการฉีดพลาสติกจะเป็นเสน้ ทม่ี ขี นาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ๐.๒-๐.๔ มม. แลว้ สำ�หรับอุตสาหกรรมขนาดเล็กท่ีแต่ความละเอียดท่ตี ้องการ โดยทกุ ข้ันตอนในการทำ�งานโปรแกรมจะสามารถ ต้องการผลิตช้ินงานโดยใช้ต้นทุนตำ่� คำ�นวณเวลาช้นิ งานทีจ่ ะเสร็จเมือ่ ใด ที่จอ LCD แสดงผลค่าดังกล่าว อีกทง้ั ในผลิตภณั ฑท์ ่ีดี และราคาไมแ่ พงตัวเครือ่ งยงั สามารถรับไฟลจ์ าก SD CAED ได้อีกดว้ ย โดยต้นทนุ ในการผลติ สามารถแก้ปัญหาเครื่องต้นทุนในการ ผลติ ของเครอ่ื งพมิ พ์ ๓ มิติทีม่ ีราคาเคร่อื งพมิ พ์ ๓ มิติ ต้นแบบราคาประมาณ ๑๕,๐๐๐ บาท แพงในท้องตลาด ยังสามารถน�ำ ไป ใช้ไดก้ บั ผลิตภณั ฑ์ หลายรูปแบบ และสามารถนำ�ไปประยุกต์ ใช้ในชีวิต ประจ�ำ วนั ได้อีกด้วย เครอื่ งพมิ พ์ ๓ มิติ เปน็ เพียงเคร่ืองตน้ แบบ ผู้สนใจ สามารถสอบถามรายละเอียดได้ท่ี นายพชิ ติ พล สวุ ฒั นางกรู โทร.๐๘๙ - ๗๐๑๘ - ๑๖๗ จลุ สารราชRมMงคลUธัญTบTรุ ี ๒๑

นศ.อาหาร คหกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี บินฝึกงานครัว USA ๕ นักศกึ ษาชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีประกอบดว้ ย “หงส์”นางสาวภารดี สมบูรณ์พร “บี” นางสาวศรรี ัตน์ พิณทิพย์ “มายด์”นางสาวดวงกมล อำ�นวย “ทราย”นางสาวเนตรทราย รอดรัศมี และ “อารม์ ”นายศุภกร ทองประไพ บินฝกึ งานโครงการ Internship in USA การฝกึ งานดา้ นงานครัวในโรงแรม Hyatt Regency Lake Tahoe resort spa and casino ในรัฐ Nevada ประเทศสหรัฐอเมรกิ า เรยี นรู้การทำ�งาน ๔ ครวั ครวั แรกคือ Cutthroat's ๒. คอื Sierra Cafe' PM ๓. Pantry,Lone Eagle Grille ๔. pantry,sierraCafe'Am ในเวลา ๑ ปี รศ.ดร.ประเสรฐิ ปนิ่ ปฐมรัฐ อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีเปิดเผยว่า ขณะนก้ี องทุนพฒั นานักศึกษาทท่ี างมหาวทิ ยาลัยไดจ้ ัดต้งั ข้นึ มาเพอื่ มงุ่ เน้นให้นักศกึ ษาไปแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ตา่ งประเทศ เพ่ือพฒั นาทกั ษะทางดา้ นภาษาและเรียนรปู้ ระสบการณ์ต่างประเทศโดยเฉพาะเน้นการไปอยตู่ า่ งประเทศอย่างน้อย ๒ อาทติ ย์หรือ ๑ เดอื นข้ึนไป โดยสนบั สนนุ รายละ ๒๐,๐๐๐ บาท เป็นที่นา่ ยินดวี า่ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ได้จัดส่งนักศึกษาจำ�นวน ๕ คน ไปฝกึ งานสหกจิ ศึกษาทีอ่ เมริกาเป็นเวลา๑ ปี และก�ำ ลงั จะส่งไปเพิ่มอกี จำ�นวน ๑๑ คน ซ่งึ ตนพรอ้ มสนบั สนุนเตม็ ที่ทุกคณะและวทิ ยาลัย “หงส”์ นางสาวภารดี สมบูรณพ์ ร เลา่ วา่ ตนเองมีความฝนั ท่อี ยากท�ำ งานต่างประเทศ พอมีโอกาสก็ไมร่ รี อจงึ เลือกสมคั รและไดร้ บั การคดั เลือก การใชช้ วี ติ ทีน่ ่คี อ่ นข้าง “มายด์” นางสาวดวงกมล ปล่อยไปตามสบายๆ ตาม Lifestyle ของแตล่ ะ่ คน คนที่น่นั คอ่ น อ�ำ นวย เลา่ วา่ อยากหาประสบการณ์ ท่ี ข้างให้ความสำ�คัญกับเร่ืองของการตรงต่อเวลาในการทำ�งานมาก แปลกใหม่ และอยากฝึกภาษาใหม้ ากข้ึน ชาวอเมรกิ นั สว่ นใหญจ่ ะพดู จาตรงไปตรงมาไมอ่ ้อมคอ้ ม การรับ อยากรู้วฒั นธรรมของชาวตา่ งชาติ เตรยี ม ประทานอาหารไมค่ อ่ ยมพี ธิ ีรตี องอะไรมากนัก สว่ นมากจะเป็นการ ตัวโดยพยายามฝกึ ภาษาให้มากข้นึ และ จดั แบบ Lifestyle Party ไม่เปน็ ทางการแบบการทานอาหารของ ศึกษาข้อมูลการกินอยู่ของชาวต่างชาติ ชาวยโุ รป ซึง่ คนสว่ นมากคดิ วา่ ชาวอเมรกิ นั เหมือนชาวยุโรป ในการ ชวี ติ ไมแ่ ตกตา่ งมากเม่ืออยู่ทีน่ น่ั จะแตก ฝกึ งานสหกจิ ศึกษาทตี่ ่างประเทศครั้งน้ี ได้รับประสบการณ์ในการ ตา่ งตรงเร่ืองอาหารการกนิ คนท่นี จ่ี ะมี ทำ�งานจากสายอาชีพท่ีเรยี นมา ได้ทกั ษะในการประกอบ และ ปรุง ความตรงตอ่ เวลามาก ผดิ เป็นผดิ ถกู เป็น แตง่ อาหารในแบบของชาวอเมริกัน ได้ฝกึ ใช้ภาษาอังกฤษที่จำ�เปน็ ถกู สามารถออกความคดิ เห็นหรือเสนอ แนะความคิดเห็นของตัวเองได้เสมอเชฟตอ้ งใช้ท้ังในชีวิตประจ�ำ วนั เปน็ ประสบการณท์ ่คี ุ้มค่ามาก “บี” นางสาวศรรี ตั น์ พิณทิพย์ เลา่ ว่า โรงแรม Hyatt Regency และพนักงานทุกคนมีความเป็นกันเองเข้าLake Tahoe resort spa and casino ในรัฐ Nevada ประเทศ ถงึ ง่าย ประสบการณ์ท่ีได้จากการฝึกงานสหรฐั อเมรกิ า การทำ�งานดา้ นงานครัวท่ีไดก้ ารยอมรับไดม้ าตรฐาน ครั้งนี้ คุ้มคา่ มาก เรียนรรู้ ะบบการท�ำ ครัวในระดบั สากล โดยตวั นกั ศึกษาเองจะได้รบั มอบหมายงานในหลาก ทเี่ ป็นระบบ เทคนคิ การท�ำ อาหารทห่ี าไม่หลายรูปแบบ ผลัดเปล่ยี นหน้าท่ีไปตามความเหมาะสมและความ ได้ในห้องเรยี นถนดั ของแต่ละคน ในการดำ�รงชวี ิต เวลาการทำ�งานมีสทิ ธิแ์ สดงความคดิ เห็นกบั เชฟและผรู้ ว่ มงานคนอนื่ ๆได้ ทกุ คนทนี่ เี่ ปดิ กวา้ งในดา้ นการแสดงความคิดเหน็ และมุมมองของแตล่ ่ะคน เปดิ โอกาสให้นกั ศกึ ษาไดท้ �ำ งานด้านการครวั แบบเตม็ รูปแบบ ได้ฝึกทักษะการประกอบอาหารในแบบสากล ได้รับความรู้ใหมๆ่ โดยประยกุ ตก์ ับความรู้ที่ไดศ้ กึ ษามาในมหาวทิ ยาลัย๒๒ จRลุ MสารUราTชTมงคลธัญบุรี

“ทราย” นางสาวเนตรทราย “อารม์ ” นายศภุ กร ทองประไพรอดรัศมี เล่าว่า การฝึกงานครวั เชฟให้ เลา่ วา่ เมอื งทม่ี าอยถู่ ้าเปรียบเทียบกับเมืองโอกาสทำ�ทุกอยา่ งตามความสามารถ แลว้ ไทยเปน็ ประมาณเขาใหญ่ เป็นธรรมชาติก็จะเปล่ียนครัว ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถทีม่ ี สวยมากหลังทพี่ กั เป็นภูเขาและลาน คนท่นี ี่คณุ ภาพชีวิตท่นี ่ีดีมาก เปน็ เมอื งที่ปลอดภยั ใจดี น่ารัก อาหารการกินไมเ่ หมอื นอาหารอากาศดี ท่เี ลอื กฝกึ งานตา่ งประเทศเพราะ ไทย ตอ้ งปรบั รสชาติให้เขา้ กับอาหารที่อยากไดเ้ รยี นรภู้ าษา ปัญหาเปน็ เร่ืองของ น่ี ประสบการณ์ท่ีได้จากทีน่ ่ี อย่างแรกภาษามาช่วงเเรกยังไม่ค่อยเข้าใจในสิ่ง ภาษา เพ่อื นชาวต่างชาติ ความคดิ ทัศนคติทเ่ี ชฟสอน ตอ้ งมกี ารหาความรเู้ กีย่ วกบั ประสบการณ์การใช้ชีวิตด้วยตัวเองในต่างภาษาเพ่มิ เติม ได้รบั โอกาสท�ำ ทุกอย่างใน แดน ที่สำ�คญั ประสบการณ์ในการท�ำ งานครวั เหมอื นเราเปน็ พนักงานคนหน่งึ ไม่มี ครัวที่ไมส่ ามารถหาได้ในเมืองไทยครับการปิดกั้นว่าเราเป็นแค่เด็กฝึกงานทำ�ให้มีความม่นั ใจมากขึน้ เหนือสิง่ อ่นื ใด ประสบการณข์ องแตล่ ะคนท่ีสะท้อนออกมา นำ�ความรู้ ที่ได้เรยี นมาไปปรบั ใช้ พร้อมเปิดรับเทคนคิ ใหม่ๆ ในการประกอบอาหารแบบ สากล ทห่ี าไม่ได้ในหอ้ งเรียน จลุ สารราชRมMงคลUธญั TบTรุ ี ๒๓

วัสดสุ มานแผลทางการแพทยจ์ าก ‘น�ำ้ ผ้ึง’ ฝีมอื อาจารย์ มทร.ธญั บุรี มทร.ธัญบรุ ี โชวผ์ ลงาน วัสดสุ มานแผลต้นแบบทางการแพทย์จากนำ�้ ผึ้ง ใช้ปิดสมานแผล ป้องกันการติดเชื้อ ช่วยให้แผลหายเรว็ ขนึ้ เผยช่วยลดต้นทนุ ในการนำ�เข้าท่ีมรี าคาสงู จากต่างประเทศ ดร.นรศิ ร ์ บาลทพิ ย์ อาจารย์สาขาวชิ าฟิสกิ ส์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี (มทร.ธัญบรุ )ี ในฐานะหวั หนา้ โครงการวิจยั เปิดเผยถึงความสำ�เร็จในการสังเคราะห์เส้นใยน้ำ�ผ้ึงนาโนเพ่ือใช้เป็นวัสดุสมานแผลต้นแบบทางการแพทย์ว่า เปน็ การน�ำ นำ้�ผง้ึ ซง่ึ ถอื เป็นวตั ถุดบิ จากธรรมชาติทมี่ อี ยูภ่ ายในประเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สรา้ งมูลค่าเพม่ิ ใหก้ ับน�ำ้ ผงึ้ ไทย “นำ้�ผึง้ เป็นของเหลวที่ได้จากธรรมชาติ และน�ำ มาใช้ประโยชนอ์ ยา่ งแพรห่ ลาย ไปยงั บริเวณแผล และยงั ช่วยลำ�เลยี งของในปจั จบุ ันท้ังดา้ นอาหาร ยา รวมถึงเครื่องส�ำ อาง คณุ สมบัตทิ ่ีชว่ ยสมานแผลของน�้ำ ผง้ึ เสียไมว่ ่าจะเปน็ ของไหลหรอื เซลลต์ ่าง ๆเป็นทีย่ อมรบั กันมายาวนาน มกี ารศกึ ษาวจิ ัยอยา่ งต่อเน่อื งและยนื ยันวา่ นำ้�ผง้ึ สามารถตอ่ ท่ีหลดุ ออกมาจากบริเวณแผล ซงึ่ นับเป็นตา้ นเช้ือแบคทีเรียได้ดีในระดับเดยี วกันกบั สารตอ่ ตา้ นเชอื้ อ่นื ๆ ทม่ี จี �ำ หน่ายในเชงิ พาณชิ ย์ คุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ของวัสดุสมานแผลและนำ้�ผึ้งยงั มคี ุณสมบตั ทิ างกายภาพอีกอย่างหนง่ึ คือความหนดื ทำ�ใหน้ ำ้�ผ้ึงเหมาะสม ทีด่ ีและเปน็ ทต่ี ้องการในปัจจุบัน ทำ�ใหแ้ ผลทีจ่ ะน�ำ มาสังเคราะหเ์ ป็นเส้นใยนาโน เพื่อพัฒนาเป็นวัสดสุ �ำ หรบั ปดิ และชว่ ยสมานแผล หายได้อยา่ งรวดเรว็ ย่ิงข้นึตน้ แบบส�ำ หรบั ใช้ทางการแพทย”์ ดร.นรศิ ร์ กล่าว จากคุณสมบัติอันโดดเด่นของ ดร.นริศร์ อธิบายวา่ การสังเคราะหเ์ ส้นใยนาโนจากน้ำ�ผึง้ น้ี ใชก้ ระบวนการ น้ำ�ผึ้งไทยและคุณสมบัติของเส้นใยขนาดป่ันดว้ ยไฟฟ้าสถติ หรอื อิเล็คโตรสปินนิ่ง อาศัยแรงทางไฟฟา้ ในการผลติ เส้นใย เปน็ วิธี นาโนเมตรที่ผลิตได้จากกระบวนการท่นี ยิ มใชก้ นั อย่างแพร่หลายในการสงั เคราะหเ์ สน้ ใย ซึง่ จะได้เสน้ ใยที่มีขนาดตงั้ แต่ระดับ ป่นั ด้วยไฟฟา้ สถิตข้างตน้ จงึ เหมาะสมไมโครเมตรและเล็กลงไปจนถงึ ระดบั นาโนเมตร เส้นใยท่ีได้จากกระบวนการนจ้ี ะมีลกั ษณะ กับการทำ�เป็นวัสดุสมานแผลทางการเปน็ โครงรา่ งแห และมีความพรนุ สง่ ผลถึงความสามารถในการแพรผ่ ่านของก๊าซออกซเิ จน แพทย์ แตน่ �ำ้ ผึ้งไมส่ ามารถสงั เคราะห์เป็น๒๔ Rจลุ MสารUราTชTมงคลธัญบรุ ี

เส้นใยขนาดนาโนเมตรได้ด้วยการปั่นด้วยไฟฟ้าสถิตจึงจำ�เป็นต้องมีการผสมด้วยพอลิเมอร์ท่ีสามารถสังเคราะห์เป็นเส้นใยด้วยกระบวนการดังกล่าวได้และต้องมีความเข้ากนั ได้ทางชวี ภาพกบั สิง่ มีชีวติ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้เลือกเจลาตินมาใช้เป็นพอลเิ มอร์รว่ มกบั นำ้�ผ้ึง เพ่อื ช่วยในการขึ้นรปู ของเสน้ ใย และไดศ้ ึกษาหาสภาวะการสังเคราะห์ท่ีเหมาะสมโดยพิจารณาจาก(๑.) อัตราสว่ นของน�ำ้ ผ้ึงต่อ พอลเิ มอร์ผสม (๒.) ศกั ย์ ไฟฟา้ ของการสังเคราะห์เสน้ ใย (๓.) อัตราการไหลของสารละลายรวมถึงศึกษาสมบัติเบื้องต้นของเส้นใยที่สงั เคราะห์ได้ ท้ังในส่วนของลักษณะและขนาดของเส้นใย ร้อยละการอ้มุ นำ�้ ของ วัสดปุ ดิ และสมานแผลตน้ แบบทางการแพทยน์ ้ี เหมาะกับแผลท่สี ูญเสยี ผิวหนงัเสน้ ใย และค่ามมุ สมั ผสั ระหว่างพ้ืนผวิ ของ เช่น นำ้�รอ้ นลวก ไฟไหม้ รวมถงึ แผลผ่าตัดศลั ยกรรม ขณะน้อี ยรู่ ะหว่างการทดสอบเส้นใยกับหยดนำ้� ท่มี ีความเหมาะสมจะนำ� ประสิทธภิ าพการใชง้ านจริง ทดสอบการเรง่ การสมานแผลโดยกระตุ้นการสร้างเนือ้ เยอื่ไปพัฒนาใช้เป็นเป็นวัสดุสมานแผลทางการ รวมถึงการพัฒนาเพ่ิมสัดส่วนของปริมาณนำ้�ผึ้งให้มากย่ิงข้ึนเพ่ือแสดงฤทธ์ิการฆ่าเช้ือโรคแพทย์ ท่ีดีขึ้น จากผลการทดลองในภาพรวม “หากเส้นใยนำ้�ผ้ึงนาโนที่ถูกสังเคราะห์และพัฒนาข้ึนนี้มีประสิทธิภาพในการพบว่าสามารถสงั เคราะหเ์ ส้นใยทีม่ ปี รมิ าณ สมานแผลและใช้งานได้จรงิ จะส่งผลให้ผปู้ ่วยที่เข้ารับการรกั ษาสามารถลดคา่ ใชจ้ ่ายในน้�ำ ผงึ้ ไดส้ ูงสดุ ถึง ๒๐ % แต่อยา่ งไรก็ตาม การรกั ษาไดท้ างหนงึ่ เน่อื งจากผปู้ ่วยไม่จ�ำ เปน็ ต้องใช้วัสดุสมานแผลราคาแพงที่ตอ้ งส่ังเง่ือนไขการสังเคราะห์เส้นใยนาโนน้ำ�ผึ้งที่ ซื้อเขา้ มาจากต่างประเทศ อีกทง้ั ยงั เปน็ การช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายในการนำ�เข้าวัสดุทางการเหมาะสมท่ีสุดสำ�หรับการนำ�ไปพัฒนาใช้ แพทย์ท่มี ีราคาแพงของประเทศได้ ท้ังยงั เปน็ การช่วยเหลือเกษตรกรไทยผ้เู ลีย้ งผ้ึงใหม้ ีเป็นวัสดุปิดและสมานแผลต้นแบบทางการ รายไดท้ ด่ี ขี นึ้ โดยเฉพาะในชว่ งเวลาทนี่ ้ำ�ผงึ้ เกดิ การตกผลึก”แพทย์ภายใต้เง่ือนไขการสังเคราะห์ ในการวิจัยนีม้ สี ดั ส่วนของปริมาณนำ้�ผึง้ ๕ % ใช้ศกั ย์ ไฟฟ้าในการสงั เคราะห์ ๑๗ กิโลโวลต์และใช้อัตราการไหลของสารละลายในการสงั เคราะห์ ๐.๐๖ มิลลิลิตรตอ่ ช่ัวโมง โดย “ ก า ร รั ก ษ า บ า ด แ ผ ลเส้นใยที่สังเคราะห์ ได้จากเงื่อนไขดังกล่าว นอกจากจะต้องอาศัยการรักษามขี นาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางเฉลี่ย ๕๓๗.๑๖ ทางการแพทยท์ ถี่ กู ต้องแลว้ การ± ๑๗.๓๕ นาโนเมตร มคี ่ารอ้ ยละการอุ้ม ทำ � ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ ป ก ป้ อ งน�ำ้ ของเส้นใยเฉลี่ย ๘.๐๑ ± ๐.๘๖ ซ่งึ ถือว่า บ า ด แ ผ ล ใ ห้ ป ร า ศ จ า ก ก า ร ติ ดเป็นค่าที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับแผ่นสมาน เชื้อโดยเฉพาะการเลือกใช้วัสดุท่ีแผลทั่วไปท่ี ใช้อยู่ ในปัจจุบันที่สามารถ เหมาะสมในการปิดแผลก็มีความดดู ซับน้�ำ ไดเ้ พียงรอ้ ยละ ๒.๓ และมีคา่มุมสัมผัสระหว่างหยดน้ำ�กับเส้นใยเฉลี่ย ส�ำ คญั เชน่ เดยี วกนั ” ดร.นริศร์ทเี่ หมาะสมคอื ๓๗.๖๗ ± ๒.๒๒ องศา กลา่ วท้งิ ท้ายซึ่งเป็นค่าที่แสดงให้เห็นว่าเส้นใยมีสมบัติความชอบน�ำ้ (Hydrophilic) สง่ ผลช่วยให้เส้นใยสามารถดูดซับของเหลวได้เป็นอย่างดี จุลสารราชRมMงคลUธญั TบTรุ ี ๒๕

นักวจิ ัย มทร.ธญั บรุ ี อุปกรณก์ ารถกั ควา้ เหรียญทอง เวทนี านาชาติ ผลงานการพัฒนาอุปกรณ์การถัก เจา้ ของผลงานอุปกรณก์ ารถกั เพื่อเพ่มิ ประสิทธิภาพงานถัก ดร.สภุ า จฬุ คปุ ต์เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพงาน ของดร. สภุ า เปดิ เผยวา่ ส�ำ หรับการถกั ดว้ ยไมถ้ ัก Knit Loom ได้เขา้ มาเผยแพร่ในประเทศไทย และจุฬคปุ ต์ นกั วิจยั และอาจารย์สงั กดั คณะ เปน็ ที่นิยมของผู้คนเปน็ อยา่ งมาก โดยอุปกรณ์งานถกั ท่ีนำ�เขา้ จากต่างประเทศมรี าคาแพงเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สว่ นใหญ่ทำ�ดว้ ยพลาสตกิ ไม่คงทน หลกั ส�ำ หรับเก่ยี วด้ายมกั หกั งา่ ย และการซือ้ อุปกรณ์เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี สร้างชอ่ื ควา้ ๒ มาใชก้ ็จะซ้อื เป็นช้นิ ๆ แยกเฉพาะงานตามความเหมาะสมของอุปกรณ์นัน้ ๆ จึงท�ำ ใหม้ ีคา่ ใช้รางวลั เหรยี ญทอง (ITEX Gold MEDAL) จ่ายเพมิ่ ขน้ึ ถ้าจะตอ้ งซ้อื หลายๆขนาด เมือ่ การถักด้วยไมถ้ กั นติ ลูมเปน็ ท่ีนิยมมากย่ิงขึ้น ในจาก Malaysian Invention and Design ประเทศไทยมีผผู้ ลิตไมถ้ กั ออกมาจำ�หนา่ ย อุปกรณ์หรือไม้ถกั นั้นกจ็ ะท�ำ ดว้ ยไมแ้ ละท�ำ หลกัSociety และรางวัลพเิ ศษ (Special ถกั ดว้ ยตะปู แต่ยงั มขี นาดเฉพาะ ถ้าตอ้ งการหลายขนาดกต็ อ้ งซือ้ อปุ กรณก์ ารถกั หลายช้ินAward) จาก Indonesian Invention and แยกขนาดกันไป ดังนน้ั ในส่วนของวิชาชพี ดา้ นคหกรรมศาสตร์ ผู้วิจยั ได้เล็งเห็นวา่ งานถักInnovation Promotion Association ด้วยวธิ นี ี้เป็นการท่ที �ำ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ สะดวก และประหยดั เวลา สามารถประดิษฐ์ชิ้นงาน(INNOPA) จากเวทีการประกวดผลงาน ออกมาไดห้ ลายหลายแบบ จงึ คิดพัฒนาอปุ กรณ์งานถกั นติ ลูมท่ีปรับขยายได้ และในหนงึ่สิ่งประดิษฐ์ ในงาน “27th International ช้ินสามารถถักเป็นชิ้นงานไดห้ ลายแบบ สามารถถอดเกบ็ ประหยัดพ้นื ท่ีการเกบ็ สามารถInvention & Innovation Exhibition” ดูแลรกั ษาไดง้ า่ ย ใช้วสั ดุอุปกรณ์ทีม่ ีในบา้ นประดิษฐ์เป็นอปุ กรณ์ได้ อกี ทง้ั สามารถทำ�ใช้(ITEX’16) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ เองได้โดยไมต่ อ้ งซ้อื หามาเลเซยี จัดขน้ึ โดย Malaysian Inventionand Design Society (MINDS) ภายใต้เครือข่ายความร่วมมือกับสำ�นักงานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ภายในงานมีนกั วิจัย และนักประดษิ ฐ์จากหน่วยงานภาครฐั เอกชน และสถาบันการศึกษาทวั่ โลกส่งผลงานเข้าร่วมประกวดและแสดงผลงานมากกวา่ ๑,๐๐๐ ผลงาน มผี ลงานส่ิงประดษิ ฐ์ จากนานาประเทศ เข้าร่วมกว่า๒๒ ประเทศ๒๖ จRลุ MสารUราTชTมงคลธัญบุรี

ลกั ษณะของอุปกรณ์งานถกั นติ ลมู อปุ กรณง์ านถักนติ ลมู ชดุ นี้ทำ�จากไม้ (สามารถใช้ไมท้ ่ีเป็นเศษเหลือใชจ้ ากการก่อสรา้ งได้) ตอกหลักด้วยตะปูขนาด ๑ น้ิว อปุ กรณน์ ิตลมู๑ ชุด ประกอบดว้ ย ไมห้ ลกั ด้านความยาว ขนาด ๑.๒๐ เมตร จำ�นวน ๒ อนั ดา้ นความ อุปกรณ์การถักนิตลูมน้ียังเป็นกว้างใชส้ ำ�หรับปรับขยายได้ จำ�นวน ๓ ขนาด ขนาดละ ๒ ชิ้น ไดแ้ ก่ ขนาด ๕ เซนตเิ มตร เพยี งตน้ แบบเท่านัน้ โดยผ่านการทดลองขนาด ๑๕ เซนตเิ มตร และขนาด ๓๐ เซนติเมตร มแี กนนอ๊ ตส�ำ หรับสอดรเู พอ่ื ปรบั ขยาย ใช้จากผู้เชี่ยวชาญดา้ นงานถกั ทอ ปรบั ปรงุและหมดุ หางปลาส�ำ หรบั ล็อคให้แนน่ เป็นอุปกรณ์ทช่ี าวบ้าน หรอื ผสู้ นใจสามารถทำ�ขึ้น และพัฒนามาจนป็นอุปกรณ์งานถักนิตลูม ใช้ไดเ้ อง ผลติ ช้ินงานได้มากกวา่ ๑๐ แบบในอปุ กรณช์ ดุ น้ี เปน็ นวัตกรรม รูปแบบแปลก ต้นแบบปรับขยายได้เพ่ือประโยชน์ต่อใหม ่ ถอดเกบ็ ได้ ประหยัดเนือ้ ท่ีในการเกบ็ ดูแลรักษางา่ ย มีกลอ่ งบรรจุสำ�หรบั เก็บชิ้น ว ง ก า ร ถั ก ท อ ด้ ว ย มื อ อุ ป ก ร ณ์ ก า ร ถั ก งานให้เปน็ ระเบยี บ สามารถใช้อุปกรณน์ แ้ี บบปรับขยายได้ในตวั อีกทงั้ ยงั ใชผ้ ลติ ช้ินงานได้ นิตลูมนี้ถ้านำ�ไปเผยแพร่แก่ผู้สนใจก็จะมากกวา่ ๑๐ แบบ สามารถพัฒนางานได้หลากหลายและ สร้างอาชพี สรา้ งรายได้ ได้เปน็ อย่างดี ส า ม า ร ถ นำ � ไ ป พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด ใ น เ ชิ ง พาณิชย์ ได้เพราะในวงการวิชาชีพถักทอ ยังมีผู้นิยมงานถักทออยู่เป็นจำ�นวนมาก ถ้าผลิตข้ึนมาจำ�หน่ายน่าจะเป็นที่ต้องการ ของตลาด เชน่ กลุ่มแม่บ้านบ้านฟา้ รังสิต มีความสนใจติดต่อให้ ไปถ่ายทอดวิธีการ ทำ�อปุ กรณ์ ซง่ึ ทางบรษิ ัทอาร์ตแอนด ์ เทคโนโลยี ได้มีการทาบทามในเบื้องต้น ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียด เพิม่ เตมิ ได้ท่ี คณะเทคโนโลยีคหกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล ธญั บุรี เบอร์โทรศพั ท์มอื ถือ ดร. สุภา จฬุ คปุ ต์ ๐๘๑ - ๔๔๑๕ - ๕๐๖ RMUTT ๒๗ จุลสารราชมงคลธัญบุรี

\"วอศิ อวะกเกแษบตบรแมลทะรส.รธัญ้างบรุ ี ๒ หนุม่ สาขาวิชาวิศวกรรมดนิ และน�้ำ ภาควชิ าวศิ วกรรม เกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เครื่องตะบันน้ำ� ธญั บุรี นายพงษเ์ ทพ ด้วงทอง และนายพรหมรนิ ทร์ เงาภทู่ อง โดยมี ประหยดั พลังงาน อาจารย์วีระพงษ์ ครูส่ง เปน็ อาจารย์คอยใหค้ �ำ ปรกึ ษา ออกแบบและ ไฟฟา้ และน�ำ้ มนั \" สร้างเครื่องตะบนั น�ำ้ เพอ่ื ลดการใช้พลังงานในระบบให้น้ำ�แบบไมโคร เจา้ ของผลงาน เลา่ วา่ ออกแบบและสร้างเครื่องตะบันนำ�้ เพอ่ื นำ�มาประยุกต์ใช้ ขั้นตอนการดำ�เนินงานแบ่งออกเครือ่ งตะบนั น้�ำ ในระบบใหน้ �ำ้ แบบไมโคร (Micro Irrigation System) ส่งน�้ำ ขึน้ ไปเกบ็ ไว้ เปน็ ๒ ส่วน ส่วนแรก ออกแบบและสร้างในถงั สูงแลว้ ปล่อยลงมาใหก้ บั ระบบให้น�ำ้ แบบไมโคร แลว้ สง่ น้ำ�เขา้ ไปในระบบให้น�ำ้ แบบ เคร่อื งตะบนั น�ำ้ ท่ีมขี นาดเล็ก ต้นทุนต่ำ� ไมโครโดยตรง ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ และนำ�้ มัน ซ่งึ ใช้งบประมาณในการสร้างประมาณ สามารถส่งน้ำ�ขึ้นไปในที่สูงได้อย่างน้อย๖๐๐ บาท สำ�หรบั อุปกรณ์และเคร่อื งประกอบดว้ ย ๑.ท่อ PVC ๒.ข้อตอ่ PVC ตา่ งๆ ๕ เมตร จากท่ีระดบั ความสูงของน�ำ้ ทาง๓.เช็ควาล์วแบบลน้ิ ๔.ฟุตวาล์ว ๕.วาล์วเปดิ -ปดิ ๖.ถงั บรรจนุ �้ำ ๗.มาตรวัดน้�ำ ๘.สาย ดา้ นเขา้ ไมเ่ กนิ ๒ เมตร สว่ นท่ี ๒ ทำ�การยาง ๙.กาวทาท่อ ๑๐.เทปพนั เกลียว ๑๑.กรรไกรตัดทอ่ หรอื เล่ือย ๑๒.ตลับเมตร ๑๓.ฐาน ทดสอบหาค่าอัตราการไหลที่ความสูงของรองถงั น�้ำ ๑๔.เคร่ืองมอื วัดแรงดนั ระดับน�ำ้ ทางด้านเข้าที่ ๓ ระดบั ทางด้าน๒๘ Rจลุ MสารUราTชTมงคลธญั บรุ ี

ออกท่ี ๓ ระดบั ได้แก่ ระดับนำ�้ ทางด้านเขา้ ท่ี ๒.๐๐ , ๒.๒๕ และ ๒.๕๐ เมตรทางด้านออกที่ ๕.๐๐, ๕.๕๐ และ ๖.๐๐ เมตร โดยผลจากการทดสอบพบวา่ ชว่ งท่เี ครื่องตะบนัน้ำ�เรมิ่ ทำ�งานเท่ากบั ความสงู ของระดบั นำ้�ทางดา้ นเข้าบวกกับ ๗๕ % ของความสูงของระดบั น�ำ้ ทางด้านเขา้ ระดับน้ำ�ทางดา้ นออกทส่ี ูงขนึ้ อัตราการไหลของน้ำ�ทางด้านเข้าและทางด้านออกลดลง เคร่อื งตะบนั น�ำ้ ทางด้านเขา้ ท่ีขนาด ๑ นิ้ว สามารถส่งน�ำ้ ขน้ึ ไปยงั ทีส่ งูมากกวา่ ๖ เมตร ได้ จากความสูงของน�้ำ ทางดา้ นเขา้ ท่ี ๒ เมตร แรงดนั สงู สุดที่เคร่ืองตะบันน้ำ�สามารถทำ�ไดเ้ ท่ากับ ๑.๗ บาร์ สามารถน�ำ ไปใช้ในระบบใหน้ ้�ำ แบบไมโครได้ สำ�หรับข้อจำ�กัดของเครื่องตะบัน น้�ำ เครือ่ งนี้ หากตอ้ งการส่งน้ำ�ข้นึ ไปในโดยตรงหรอื นำ�ไปเก็บไว้ในถังสงู แลว้ นำ�มาใช้ในภายหลังได้ พ้ืนที่ที่อยู่สูงมากและต้องการปริมาณน้ำ� ท่ีมากขึ้นในระยะเวลาเทา่ เดมิ การสร้าง เคร่อื งตะบันน�ำ้ ใหม้ ขี นาดที่ใหญข่ นึ้ หรือ เพิ่มจ�ำ นวนของเครอื่ งตะบนั นำ�้ ควรติด ต้ังเครื่องตะบันน้ำ�ให้มีความม่ันคงและอยู่ ในพ้นื ทีท่ อี่ ัตราการไหลของนำ้�มาก หาก ในบางพื้นที่ท่ีอัตราการไหลของน้ำ�น้อยให้ สร้างฝายนำ้�ล้นเพื่อช่วยเพ่ิมอัตราการไหล ของน�้ำ แทน และเคร่ืองตะบันน้ำ�ที่ผลิต ข้ึนควรใช้กับแหล่งนำ้�ธรรมชาติไม่ควรนำ� ไป ใช้กับน้ำ�ประปาที่ส่งให้ตามบ้านเรือน หรอื หอพกั เพราะจะเปน็ การสูญเสียน�้ำ ไป โดยเปล่าประโยชน์ ถือเปน็ นวัตกรรมชาว บ้านที่สามารถนำ�มาปรับใช้ ได้สำ�หรับชาว เกษตรกร หากมีขอ้ สงสยั สามารถสอบถาม รายละเอยี ดเพ่ิมเติมไดท้ ี่ นายพงษ์เทพ ดว้ งทอง โทร. ๐๘๑ - ๕๔๑๑ - ๒๙๗ และอาจารย์วรี ะพงษ ์ ครสู ง่ โทร. ๐๘๑- ๓๐๒๔ - ๑๘๒ จุลสารราชRมMงคลUธัญTบTรุ ี ๒๙

‘ข้อไม้ไผ่’ ใส่ไอเดียผีมือรนั้วักมอทอกร.แธบัญบรบุุ่นรใี หม่ การออกแบบผลิตภณั ฑ์ ไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งยง่ิ ใหญ่อลังการ แต่ใหเ้ ข้าถงึปญั หาทแี่ ท้จริง แลว้ เตมิ เตม็ ด้วยหลักการออกแบบ ก็สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑด์ ี ๆ ให้เป็นท่ีปรากฏแก่สังคมได้ ดงั เช่นการออกแบบและพัฒนาเกา้ อพี้ กั ผ่อนจาก ‘ขอ้ ไม้ไผ’่ ท่เี หลือทิง้ จากภาคอุตสาหกรรม ฝีมือสร้างสรรค์ของ นายธวัชชยั ช่วงโชติ นกั ออกแบบรุ่นใหม่สาขาการออกแบบผลติ ภัณฑ์ ภาควชิ าศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศลิ ปกรรมศาสตร์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี (มทร.ธญั บุรี) โดยสรา้ งเก้าอ้พี ักผอ่ นจากขอ้ไม้ไผ่ ดว้ ยแนวคดิ ทช่ี ่วยรับผดิ ชอบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม “ภาคอุตสาหกรรมจะมีเศษไม้ไผ่ที่เหลือจากกระบวนการผลิตเป็นจำ�นวนมากเพือ่ รอการกำ�จัดทง้ิ ด้วยการเผาไหม้ และเมอ่ื ไฟถูกจุดข้ึน ควันและขี้เถ้าจากไม้ไผ่จะลอยคละคล้งุ ไปท่วั ส่งผลตอ่ สภาพอากาศ ท�ำ ให้ผู้คนในชมุ ชนนนั้ อดึ อดั หายใจไมส่ ะดวกและท�ำ ใหค้ วามรอ้ นแผ่ขยายไปทวั่ ทกุ ครัง้ ที่มีการเผาท�ำ ลาย ย่ิงไปกว่านน้ั หากถงึ ฤดูฝน ขอ้ต่อไม้ไผท่ ่ีโดนตัดทิ้งเปน็ ข้อๆ ถ้าไม่ถกู เผาหรอื นำ�ไปใชง้ านอื่น ก็จะกักเกบ็ น้ำ�ฝนไว้ จนกลายเปน็ แหล่งเพาะพันธ์ยุ งุ ลาย ซงึ่ จะส่งผลตอ่ สุขภาพของคนในชมุ ชนได้ และจากการ นายธวัชชัย ชว่ งโชติศึกษาขอ้ มลู พบวา่ บริเวณขอ้ ไม้ไผเ่ ป็นส่วนทีแ่ ขง็ แรงและเปน็ บริเวณทีห่ นาท่ีสุด สามารถรองรบั น้�ำ หนกั ได้ จงึ มีแนวคิดที่จะนำ�ข้อไม้ไผ่มาเปน็ วัสดตุ งั้ ต้นในการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ โครงสร้างของเก้าอ้ีทำ�ด้วยสแตนเป็นเก้าอ้ีพักผ่อน เพอื่ ชว่ ยลดปรมิ าณเศษไม้ไผเ่ หลอื ทิ้ง ลดปญั หามลพษิ และภาวะโลกรอ้ น เลส ซึง่ ให้ความแขง็ แรงทนทาน และยากจากการเผาท�ำ ลาย ทงั้ ยังสร้างมลู คา่ เพม่ิ ใหก้ บั ไม้ไผ”่ ธวชั ชัย อธบิ ายแนวคิดและทม่ี า ต่อการเกิดสนิมเมื่อเทียบกับโลหะหรือวัสดุ เก้าอ้ีพกั ผอ่ นต้นแบบตวั นี้ ได้แรงบนั ดาลใจมาจากลักษณะของ “ลกู คิด” ชนดิ อ่นื ๆ ทั้งยงั งา่ ยตอ่ การขน้ึ รูปและการ(Abacus) ทเี่ ปน็ เครื่องมือค�ำ นวณ ประกอบดว้ ยโครงสี่เหล่ยี ม มแี กนร้อยตวั ลูกคดิ กลมๆ เช่อื มตอ่ แมจ้ ะมรี าคาค่อนขา้ งสูงแต่ค้มุใช้นบั เลข สามารถเลื่อนขน้ึ ลงได้ และ “รูปทรงเรขาคณติ ” มาใช้ในการออกแบบ โดย ค่ายาวนานต่อการใช้งาน สว่ นบรเิ วณที่คำ�นึงความสะดวกสบายในการใช้งาน เพราะผลติ ภัณฑ์จากข้อไม้ไผ่ หากออกแบบมาไม่ดี น่ังและพนักพิงจะนำ�ข้อไม้ไผ่มาขัดโค้งลบ มุมขอ้ ซึ่งใช้จ�ำ นวนทงั้ หมด ๒๘๐ ลกู นำ�ผู้ใชง้ านอาจจะรสู้ กึ เจ็บและร�ำ คาญได้ จึงมุง่ ออกแบบในลกั ษณะทีช่ ว่ ยผอ่ นคลาย๓๐ จRลุ MสารUราTชTมงคลธญั บุรี

มารอ้ ยเปน็ เส้น แลว้ น�ำ มาประกอบเขา้ กบัโครงสรา้ งของตวั เกา้ อ้ี ลักษณะเฉพาะของเก้าอ้ีข้อไม้ไผ่จะออกแบบตามหลักมาตรฐานเก่ียวกับ การยศาสตร์ (Ergonomics) ของมนุษย์ในขณะนงั่ โดยมีขนาดความกว้าง ๕๗เซนติเมตร ยาว ๑๒๐ เซนติเมตร สงู ๗๕เซนตเิ มตร และพนักพิงเอียงทำ�มุม ๑๑๐องศาในแนวระนาบ และเลือกใชส้ ีโทนธรรมชาตจิ ากสยี อ้ มไม้ เพ่อื ตอ้ งการให้ไม้ไผค่ งความเป็นธรรมชาติใหม้ ากทีส่ ุด ธวัชชัย ยังกล่าวอีกว่า เพราะความชอบและหลงใหลในศาสตรก์ ารออกแบบ ผลติ ภัณฑ์ กอ็ ยากจะพัฒนาตอ่ ยอด ขยายไลน์ผลติ ภณั ฑ์ตอ่ ไป ส�ำ หรบั เกา้ อ้ีพักผอ่ นขอ้ ไม้ไผต่ ้นแบบตวั น้ี เกดิ ข้ึนและสามารถใช้งานไดจ้ รงิ เปน็ ผลงานการออกแบบช้นิ แรกที่มี ความสมบรู ณ์ ถูกเติมเตม็ ดว้ ยความรู้และประสบการณ์มากมาย เพอื่ ออกมาเปน็ ศลิ ปะ ในการออกแบบน้ี ธวัชชยั ยัง นิพนธ์ได้ ศึกษาดา้ นการออกแบบและการผลติ โดยมี อาจารย์ณฐั พล ซอฐานานศุ ักดิ์ จาก ล่าสดุ ไดร้ ว่ มออกแสดงผลงานต่อสาธารณชนในนทิ รรศการ DO I-DEA 8คณะศิลปกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี เปน็ “ศลิ ป์-ปะ-กนั ” ณ Zpell @ Future Park Rangsit เพ่อื เผยแพรค่ วามสามารถ ความทีป่ รึกษา และเรยี นร้แู นวทางการพฒั นา คดิ สรา้ งสรรคแ์ ละการปฏบิ ัตจิ รงิ ใหเ้ กิดผลงานอยา่ งมืออาชพี เปน็ แรงบนั ดาลใจและเป็นเก้าอ้ีจากกลุ่มผู้ประกอบการด้านไม้ ไผ่ แนวทางการตอ่ ยอดเพอื่ สร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ๆ ซึง่ ถอื เปน็ การเปิดตลาดอาชีพดา้ นผู้เช่ียวชาญด้านการออกแบบและการผลิต ศลิ ปะอนั นำ�ไปสู่การทำ�งานในอนาคต ผูส้ นใจผลิตภณั ฑ์หรือต้องการข้อมลู เพ่ิมเตมิ โทร.เฟอร์นิเจอร์ที่มีประสบการณ์การทำ�งานใน ๐๘๖ ๓๐๙ ๑๙๓๕สายอาชพี รวมถงึ กลุ่มผู้ใชง้ านทว่ั ไป เพ่อืให้ ได้เก้าอ้ีพักผ่อนที่มีรูปร่างและรูปทรงสวยงาม มคี วามปลอดภัยและสอดคลอ้ งกบั ฟังกช์ ัน่ การใชง้ าน ทั้งยังมีความร่วมสมัย จุลสารราชRมMงคลUธญั TบTุรี ๓๑

หนุ่ม มทร.ธัญบุรี หัวใจอาสาเพื่อ งานสังคม ธนพร โรจนส์ ุวณชิ กร หรือ ปาล์ม วัย๒๒ ปี หนุม่ จังหวัดนครสวรรค์ เปน็ บุตรของนายวโิ รจน์ และนางมาลี โรจนส์ วุ ณชิ กร มีพชี่ าย๑ คน คอื นายธรรมชาติ โรจน์สุวณชิ กร ปาลม์เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนนครสวรรค์แลว้ เรียนตอ่ วิทยาลยั นาฏศิลปอ่างทอง ปัจจุบันกำ�ลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ปาล์ม เล่าว่าหลงั จากจบวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปอ่างทอง และได้ นอกจากเรือ่ งเรยี นที่ปาล์ม ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จึงยื่นโควตาสอบตรงเขา้ เรยี นสาขาวิชาดรุ ยิ างคส์ ากล มงุ่ มน่ั แลว้ ยงั แบ่งเวลาทำ�กจิ กรรม คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบรุ ี และมงุ่ ม่ันขยันเรยี น ดว้ ยฝันอยากเป็นอาจารย์ ต่าง ๆ เพื่อสงั คม เช่น การอาสาสมัคร สอนวชิ าดนตรี และมคี วามสุขมากที่ ไดเ้ รยี นในส่ิงทตี่ นเองชอบ กู้ภยั มูลนิธิป่อเตก็ ต๊งึ ในเขตความรบั ผดิ “เสยี งดนตรี สรา้ งความสุขใหก้ บั เราได้ ดนตรีและเครื่องเล่นดนตรมี ี ชอบธัญบรุ ี (รหัสธญั บุรี 016) จงั หวดั มากมาย เราสามารถจบั ชิน้ โนน้ น่นี ้ันเล่นใหเ้ กดิ เสยี งเพลงได้ จงึ ไม่แปลกใจว่าท�ำ ไม ปทุมธานี ดา้ นสนบั สนนุ งานกู้ภัยและ ทุกคนถงึ รกั ในเสยี งเพลง ผมวา่ คนฟังเพลงหรือเล่นดนตรเี ป็นคนทมี่ ีรสนยิ ม และมี บรรเทาสาธารณภัย พ้นื ฐานความเป็นศลิ ปะในการใช้ชีวติ ” “จุดเริ่มต้นของอาสาสมัคร๓๒ จRุลMสารUราTชTมงคลธัญบุรี กู้ภัยมูลนิธิป่อเต็กต๊ึงมาจากการชักชวน ของพชี่ าย และได้มีโอกาสเข้าไปสมั ผัส กับงานหลายส่วน รูส้ กึ วา่ เราก็สามารถ เข้าไปชว่ ยงานตรงจดุ น้ี ได้ ซึง่ เป็นการ ช่วยเหลอื เพอ่ื นมนษุ ย์ในสงั คม เหมือน ได้สร้างบุญสร้างกุศลไป ในตัวแก่ตนเอง และครอบครัว เพราะเป็นการท�ำ ความ ดีโดยไม่ ไดม้ ุ่งหวงั สิ่งตอบแทนใดๆ หลงั จากทำ�หน้าท่ีอาสาสมัครกู้ภัยผ่านไป หลายงาน กระทัง่ ไดข้ นึ้ ทะเบียนเป็น อาสาสมัครมูลนิธิอย่างเต็มตัว ท�ำ ให้ เกิดแรงผลักดันในการทำ�งานด้านน้ีเพ่ิม

มากข้ึน เชน่ การเตรียมตวั เพิม่ พนูความรู้ การพัฒนาความสามารถเก่ยี วกบั การเปน็ อาสาสมคั รกู้ภยั และบอกต่อแนะนำ�เพือ่ น ๆ ใหม้ าเป็นสว่ นหนง่ึของงานอาสาดา้ นนี”้ เม่ือถามถึงการแบ่งเวลาเรียนปาลม์ เลา่ วา่ “การบรหิ ารจัดการเวลาเป็นสิง่ สำ�คญั มาก ในชีวิตคนเรามีสิ่งที่ต้องการทำ�หลายต่อหลายอย่างในเวลา๑ วัน ซึง่ มี ๒๔ ช่ัวโมง เราตอ้ งจดั ล�ำ ดบัความส�ำ คญั ในสิง่ ทจ่ี ะทำ�ให้ดี ผมแบ่งเวลาออกเป็น ๓ สว่ นหลกั ๆ ด้วยกนัสว่ นแรกคอื การเรยี นทั้งหมด สว่ นทีส่ องเป็นสว่ นของการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ โดยเน้นกจิ กรรมเพือ่ สังคม เชน่ งานอาสา ปัญญารังสิต จ.ปทุมธานี เพื่อเตรียมความพร้อมมุ่งสู่โลกการทำ�งานจริง และสมัคร และสว่ นสดุ ท้ายเป็นเวลาส่วนตวั เชื่อว่าหลากหลายกิจกรรมอาสาที่ทำ�มาทั้งหมดจะทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จในซ่ึงมักจะทุ่มเทให้กับการออกกำ�ลังกาย อาชีพครู เพราะการเป็นครูต้องมีจิตใจอาสา และฝากแง่คิดไปถึงผู้คนในสังคมเพื่อฟติ หุน่ ทงั้ สามส่วนนี้แมจ้ ะมีจำ�นวน ไทยว่าชว่ั โมงทีแ่ ตกต่างกันไป แตท่ ้ังหมดเป็นวิถีชวี ติ จรงิ ของผมท่ีดำ�เนินอยู่ในช่วงน”้ี นอกจากนน้ั ระหวา่ งศกึ ษาท่ีมทร.ธญั บุรี ปาล์มยงั ทำ�อีกหลายกิจกรรมในรัว้ มหาวทิ ยาลยั เชน่ การช่วยงานคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ งานที่กองพฒั นานักศึกษา งานประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย ขณะเดยี วกันปาลม์ยังมีส่วนร่วมในเครือข่ายศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ปทมุ ธานี (0042) ดว้ ย ปาล์มตั้งเป้าหมายชีวิตไว้ว่าหลังจากสำ�เร็จการศึกษา ตั้งใจเป็นครูสอนดนตรี รวมถึงทำ�กิจกรรม “อยากให้คนไทยมีสติและมีความใจเย็น เนื่องจากผู้คนสมัยนี้ส่วนใหญ่อาสาสมัครต่อไป ขณะนี้ปาล์มกำ�ลัง ใจร้อน อะไรไม่พอใจก็ด่ากราด บางทีถึงขั้นลงไม้ลงมือ นำ�มาด้วยเหตุทะเลาะฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยสอน เบาะแว้ง หรือแม้แต่การขับรถ ก็อยากให้ทุกคนมีสติ อยากให้จำ�นวนยอดวิชาดนตรีสากลให้กับนักเรียนชั้น อุบัติเหตุบนท้องถนนลดลง เพราะจากการลงพื้นที่สัมผัสหน้างาน สาเหตุการมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสาย เกิดอุบัติเหตุส่วนใหญ่มาจากความประมาทและเมาแล้วขับ” ทั้งหมดนี้คือ ชีวิตของปาล์ม “หนุ่มหัวใจนักกิจกรรม” และด้วยความมุ่ง มั่นและตั้งใจ ล่าสุดปาล์มคว้ารางวัล “ผลงานระดับดีมาก” จากการประกวดผล งานสิ่งประดิษฐ์ระดับอุดมศึกษา RMUTT Young Talent Innovators 2016 ใน ผลงาน “การสร้างสรรค์บทประพันธ์เพลงเพื่อเชิดชูเกียรติบุคคลที่มีจิตอาสาให้ กับสังคม” จึงทำ�ให้ภาพความเป็นจิตอาสาของหนุ่มคนนี้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถือเป็น ตัวอย่างที่ดีแก่วัยรุ่นในสังคมสมัยใหม่ยุคนี้ จุลสารราชRมMงคลUธญั TบTรุ ี ๓๓

จุลสารราชมงคลธญั บุรฉี บับนี้ ขอน�ำ เสนอเมนู ‘มะมว่ งแปรรปู ’ เอาใจ ผศ.สุวรรณี อาจหาญณรงค์คนชอบทานมะม่วงตามสตู รของ ผศ.สุวรรณี อาจหาญณรงค์ อาจารยส์ าขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี “ในประเทศไทยมีมะม่วงมากมาย ผศ.สุวรรณี กล่าว ทราย เกลือและน้�ำ ลงในกระทะ ตัง้ ไฟปานกลางกวนหลายพันธุ์ ระยะหลังมีออกมาตลอดทั้งปีอย่างไม่ ส่วนผสมของมะม่วงเสน้ ประกอบด้วย ตอ่ เนอ่ื งประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที จนเน้ือมะมว่ งแหง้ขาดตลาด โดยเฉพาะชว่ งเดือนเมษายน แตม่ ะม่วง มะม่วงดิบห่นั เสน้ (เชน่ มะม่วงแก้ว มะมว่ งสามฤดู ใส มีลักษณะคลา้ ยกบั ว้นุ เสน้ (๓) พกั ไวใ้ ห้เยน็ ตามนั้นมีระยะการเก็บรักษาค่อนข้างสั้น วิธีการรักษา มะม่วงโชคอนันต์) ๕๐๐ กรัม น้ำ�ตาลทราย ๓๐๐ อุณหภูมิหอ้ ง แล้วตักขึ้นบรรจใุ นขวดปิดสนิท เก็บไว้คุณภาพหรือการ ถนอมอาหารจะช่วยให้สามารถ กรัม เกลอื ป่นครึ่งชอ้ นชา และน�ำ้ สะอาด ๑ ถว้ ย ในตเู้ ยน็เก็บไว้ทานได้นานขึ้น ดังเช่นการแปรรูปเป็นมะม่วง ข้ันตอนการทำ� (๑) ล้างมะมว่ งทัง้ ลกูเส้น ส�ำ หรบั รับประทาน เปน็ ของหวาน แต่งหนา้ แล้วปอกให้หมดเปลือก ฝานบางๆ แล้วหั่นซอยเค้กหรือไอศกรีม ทานคู่กับน้ำ�แข็งใสใส่น้ำ�หวาน เป็นเส้น (๒) ผสมมะม่วงดิบเส้นกับน้ำ�ตาล ถือเป็นอีกหนึ่งสูตรของหวานหรือใช้แทนแยมก็อร่อยไปอีกแบบในหน้าร้อนนี้” ที่ชว่ ยถนอมมะม่วง ให้สามารถเก็บไว้ ทานได้นาน ยิ่งขึ้น และใชเ้ ปน็ สตู รในการ ประกอบอาชพี ทำ�มาหากนิ ได้ เพราะข้นั ตอน ไม่ยงุ่ ยาก จัดเตรยี มส่วนผสมไมเ่ ยอะ… ขอรบั รองความอร่อย๓๔ RจุลMสารUราTชTมงคลธัญบรุ ี

จลุ สารราชRมMงคลUธญั TบTุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook