จจลสารราชมงคลธัญบรุ ร ฉบับ ใตรม พระบารมี เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๒
เยน็ ศิระ พระบารมี ท่ปี กเกศ ทุกคามเขต ปราศทุกข จงึ สุขสมัย ทศพิธ ราชธรรม นำจอมไทย พระเกยี รตไิ กล ดุจลน เกลา เจาชวี ัน ดวยดวงจิต บชู า อธริ าช ขา พระบาท จงรัก สมคั รมัน่ นอมถวาย พระพรชัย องคร าชัน ทรงสถติ เปนมง่ิ ขวัญ นริ นั ดรกาล ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขา พระพุทธเจา ผูบรหิ าร คณาจารย เจา หนา ท่ี นกั ศกึ ษาและศษิ ยเ กา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี (นายโสภณ สาทรสมั ฤทธิผ์ ล รอ ยกรอง)
เย็นกมลชนท่ัวแควน แดนสยาม ยนิ พระยศลือนาม เลิศหลา ยลพระพกั ตรจ รัสงาม ลือเลือ่ ง ยงยิ่งพระขวญั ฟา รมเกลาชาวไทย อภบิ าล พระเอย อัญเชิญไตรรตั นเออ้ื สวสั ดถ์ิ ว น สามมถิ นุ าอุดมวาร ถวายพระ พรเฮย ปวงเทพสาธุการ นอบนอ มบงั คม ทวยราษฎรป ราโมทยลว น ดว ยเกลาดว ยกระหมอ ม ขา พระพทุ ธเจา ผบู รหิ าร คณาจารย เจาหนาที่ นกั ศกึ ษาและศษิ ยเกา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี (นายโสภณ สาทรสัมฤทธิ์ผล ประพนั ธ)
สารบญั 5 จลจ สารราชมงคลธญั บุรร 10 ขา่ วนโยบาย 12 ฉบับ ใตร ม พระบารมี เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๒ เปดร้ัว มทร.ธญั บรุ � 14 คนเกง่ มทร.ธญั บุร� 16 บทบรรณาธกิ าร รั้วรอบขอบช�ด 18 Student Activity 20 กิจกรรมส�าคัญที่ผ่านมาถือเปนช่วงเวลาท่ีมีความส�าคัญอย่างยิ่ง รายงานพเิ ศษ 22 ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยและพสกนิกรชาวไทย ท่ีได้ช่ืนชมพระบารมี แสดงออกถึง สกปู ข่าวพิเศษ 24 ความจงรักภักดโี ดยพรอ้ มเพยี งกนั อันสะทอ้ นให้เหน็ ถึงความเปน น้�าหนึง่ Hot News 26 ใจเดียวกัน ทจ่ี ะรว่ มกันประพฤติปฏบิ ตั ติ นเปน คนดี รู้รกั สามัคคี อนั จะทา� ให้ pecial บคุ คล 30 ประเทศไทยเกดิ ความผาสกุ และสงบร่มเยน็ ดงั ที่เปน มา… สกูปนวัตกรรม 31 ประกายความคดิ 32 ในนามบรรณาธิการ ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกท่านเข้าสู่รั้ว สภาคณาจารย์และขา้ ราชการ 34 บวั สวรรค์ราชมงคลธญั บรุ อี ยา่ งเปนทางการอีกครั้ง ผลงาน กจิ กรรม สมั ภาษณศ์ ษิ ย์เก่า 35 นวตั กรรมและเร่อื งราวทน่ี า่ สนใจปรากฏข้ึนอยา่ งมากมาย จลุ สารราชมงคล เมนูอร่อย ธัญบุรี จึงขอเปนส่วนส�าคัญในการเลือกสรรและร่วมบันทึกเหตุการณ์ ขอบคุณยง่ิ จากใจ ที่เกิดข้ึนไว้ ด้วยการน�าเสนอเน้ือหาท่ีน่าสนใจเช่นเคย เพื่อส่ือสารและ แสดงออกไปยงั กล่มุ เปาหมายและสาธารณชนให้ได้รับรู้ เกดิ ความเข้าใจ เปนท่ี ท่ปี รกึ ษา โหตระไวศยะ รกั ษาราชการแทน รู้จักและเกดิ ความเช่ือมน่ั ในคุณภาพของมหาวิทยาลยั ย่ิงขึ้น อธกิ ารบดี นายวิรชั รองอธิการบดี ขอขอบคุณทุกการติดตามทั้งในช่องทางของสื่อสิ่งพิมพ์และ รองอธกิ ารบดี สื่อออนไลน์ หากมีข้อติชมหรือต้องการแนะน�าสามารถสะท้อนความคิด รศ.ดร.สุจริ ะ ขอจติ ตเ์ มตต์ รองอธิการบดี โดยตรงได้ที่กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี และขอให้ผู้อ่านทุกท่าน ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รองอธิการบดี เพลิดเพลินไปกับเนื้อหาที่น�าเสนอ อันจะจุดประกายให้เกิดแรงบันดาลใจ ดร.วสิ ทิ ธิ์ ล้อธรรมจกั ร รองอธิการบดี ในดา้ นตา่ ง ๆ ตอ่ ไป ผศ.นที ภ่รู อด นายพงศ์พิชญ์ ตว่ นภูษา (ผศ.ดร. มโน สวุ รรณคา� ) บรรณาธกิ าร บรรณาธกิ าร สุวรรณค�า ออกแบบและจัดรปู เล่ม ผศ.ดร. มโน นางสาววิภาพร เกษม กองบรรณาธกิ าร ช่างภาพ นางสาวประอรสริ ิ สุกนลิ นางณฐั ชา กรี ตกิ �าจร นางสาวศีจุฑา ปอนอ้ ย นางสาวชลธชิ า ศรอี ุบล นายสรุ ิยา เมธาวรากร นายอลงกรณ์ รัตตะเวทนิ นายพนมฉตั ร์ คงพุ่ม ประสานงานกองบรรณาธิการ นางสาวถาวร สมุ่ หิรัญ กองประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก อา� เภอธญั บุรี จังหวัดปทมุ ธานี 12110 เบอรโ์ ทรศพั ท์ 02 549 4994 โทรสาร 02 549 4993 เวบ็ ไซต์ www.rmutt.ac.th Facebook Fanpage : www.facebook.com/rmutt.official
ข่าวนโยบาย....ชลธิชา 5 มทร.ธัญบุรี คว้ารางวัล สถานศึกษานวัตกรรม ผศ.ดร.สมหมาย ผวิ สอาด รองอธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี กล่าววา่ ตามทส่ี ำานักปลัดกระทรวงการ สหกิจศึกษาดีเด่นปี 62 อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ไดท้ ำาการประกวด คัดเลอื กผลงานสหกิจศึกษาดเี ดน่ ระดับชาติ คร้งั ท่ี 10 ประจำาปี 2562 ซ่งึ ผลการตดั สนิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ไดร้ บั คัดเลือก สถานศึกษาดำาเนนิ การนวตั กรรมสหกจิ ศกึ ษาดีเดน่ เป็นอีกหน่งึ รางวัล ท่ีทางมหาวิทยาลยั ได้รบั มาจากเวทนี ี้ โดยทางมหาวทิ ยาลยั เคยไดร้ ับ หลักสูตรบณั ฑติ พนั ธ์ุใหม่ 8 หลักสูตร โดยกระบวนการเรียนการสอน รางวลั สถานศกึ ษาดาำ เนนิ สหกจิ ศกึ ษาดเี ดน่ ผบู้ รหิ ารสหกจิ ศกึ ษาดเี ด่น คือ 50% เรียนท่มี หาวทิ ยาลยั อีก 50% เรียนที่สถานประกอบการ และผูป้ ฏิบัติงานสหกิจศกึ ษาดีเด่น มาแลว้ นน้ั ทางมหาวิทยาลยั ยัง เป็นการวางแผนผลิตนักศึกษาให้ตรงกับความต้องการของสถาน ขับเคล่ือนและให้ความสำาคัญในการดำาเนินการสหกิจศึกษาอย่าง ประกอบการจรงิ ๆ ซงึ่ สถานประกอบการทัง้ หมดมีความรว่ มมือกับ ตอ่ เนอ่ื ง โดยทกุ หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรเี ปน็ หลกั สตู รสหกจิ ทางมหาวทิ ยาลัย โดยในปีการศึกษานไ้ี ดเ้ พม่ิ หลกั สูตรบัณฑิตพันธใุ์ หม่ ศกึ ษาทั้งหมด นกั ศกึ ษาทกุ คนต้องออกสหกจิ ศึกษา ปี 4 เทอม 1 หรือ ขนึ้ มากกว่า 40 หลกั สูตร และอีกสว่ นสำาคญั ในการดาำ เนนิ งานสหกจิ ปี 3 เทอม 2 ข้ึนอยกู่ ับคณะ เชน่ เดยี วกับนักศกึ ษาท่ีเคยฝึกงานในระดบั ศกึ ษา ทางมหาวิทยาลยั ใหค้ วามสาำ คัญมาก การออกสหกิจศกึ ษาตา่ ง ปวช. โดยมปี ระสบการณ์ในการฝกึ งาน นกั ศกึ ษาจะออกสหกิจศกึ ษา ประเทศ โดยในส่งนกั ศกึ ษาออกสหกิจศกึ ษาตา่ งประเทศปลี ะ 400 ช่วงซมั เมอร์ เป็นเวลา 2 เดือน จากการดำาเนนิ การมาอยา่ งต่อเนอื่ ง คน พรอ้ มให้ทนุ สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่าย กองทุนสนับสนุนจากมหาวทิ ยาลยั ทำาใหเ้ ห็นถงึ ผลสาำ เร็จในการเตรียมนักศกึ ษา ให้มีทกั ษะในทกุ ๆ ด้าน และกองทนุ สนบั สนนุ จากกองพฒั นานักศกึ ษา พรอ้ มท่จี ะเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม เมอ่ื สาำ เร็จการศกึ ษาสามารถเขา้ ทาำ งานในสถานประกอบการ ผศ.ดร.สมหมาย ผวิ สอาด กล่าวเพ่ิมเตมิ วา่ ขณะเดยี วกนั ได้ มีการขยายโครงการสหกิจศึกษาออกไปในหลายๆ ด้าน ทาำ การเลือก นอกจากการพัฒนาให้นักศึกษามีความพร้อมในการปฏิบัติ สถานประกอบการ โดยสำานกั สหกจิ ศกึ ษา อาจารย์ คณะกรรมการสห งานผ่านการปฏิบตั สิ หกจิ ศึกษาภายในประเทศแล้ว มหาวทิ ยาลัยฯ ได้ กิจศึกษา คณะทำาการคดั เลือกสถานประกอบการทม่ี คี วามเขา้ ใจสหกจิ ผลักดนั ใหม้ ีระบบสหกจิ ศกึ ษานานาชาติ โดยได้ต้งั กองทุนการสง่ เสรมิ จรงิ ๆ จัดทำาฐานขอ้ มลู ภาคอุตสาหกรรม แบ่งออกเปน็ ภาคอตุ สาหกรรม การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพ่ืออุดหนุนให้นักศึกษาได้ไปปฏิบัติสหกิจ การผลติ และภาคอตุ สาหกรรมการบริการ พฒั นาระบบออนไลน์ ศึกษาในต่างประเทศโดยให้ทุนสนับสนุนเป็นค่าเดินทางและท่ีพักให้ สหกิจศึกษา ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ มาใช้งานหาข้อมลู สถานประกอบการ กับนักศึกษาท่มี คี ุณสมบัตไิ ด้ตามเกณฑท์ ี่มหาวทิ ยาลัยกำาหนด โดย 3 ปี ทีท่ างมหาวทิ ยาลัยได้คัดเลือกไว้ โดยใหโ้ อกาสนกั ศกึ ษาเลือกสถาน ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยได้ส่งนักศึกษาไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ ประกอบการทท่ี างสำานกั สหกจิ ศกึ ษาได้เตรียมขอ้ มูลไวใ้ ห้ เลือกให้ตรง ดว้ ยงบประมาณจากกองทุนเป็นจำานวน 225 คน ท้ังนย้ี ังไมร่ วม สาขาวชิ าและสายงานในการประกอบอาชีพในอนาคต นอกจากนย้ี งั นกั ศกึ ษาทีไ่ ปปฏบิ ตั ิสหกิจศึกษาตา่ งประเทศโดยไมผ่ า่ นกองทนุ ฯ ได้มีการนาำ WiL มาใช้ควบคู่กับออกสหกจิ ศกึ ษา จากการออกสหกจิ ศกึ ษาปี 4 เทอม 1 เปล่ยี นเปน็ ปี 4 เทอม 2 เมอ่ื สาำ เรจ็ การศึกษาพร้อม ปัจจบุ ันมหาวิทยาลยั ได้ยกระดบั สหกิจศกึ ษา โดยเพม่ิ 11 เขา้ สู่การทาำ งานในภาคอุตสาหกรรม ซ่ึงพบว่าภาวะการมงี านทำาเพมิ่ รายวชิ าในหมวดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เพ่ือรองรับการพฒั นา มากข้ึน ในการดาำ เนินการ หลกั สูตรรปู แบบ WiL (Work Integrated Learning) และการ พัฒนาหลกั สูตรบณั ฑิตพนั ธุ์ใหม่ โดยเม่อื ปกี ารศึกษา 2561 ได้นำาร่อง ทั้งหมดเป็นนวัตกรรมสหกิจศึกษาท่ีทางมหาวิทยาลัยได้ ดาำ เนินการมาอย่างตอ่ เน่ือง จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
6 ข่าวนโยบาย....อลงกรณ์ สสว. และ มทร.ธัญบรุ ี ดนั ‘เมล่อน’ จ.สุพรรณบรุ ี สู ่ ค ลั ส เ ต อ ร ์ เ ท ค โ น โ ล ยี เพือ่ การเกษตร สสว. จบั มอื มทร.ธัญบรุ ี สร้างคลสั เตอร์ เทคโนโลยีเพื่อการเกษตร เจาะผลไม้เมล่อน จ.สุพรรณบุรี เป็นที่แรก ภายใต้โครงการ สนบั สนุนเครือข่าย SME ปี 2562 นางลักขณา ตั้งจิตนบ ผู้อำานวยการฝ่ายข้อมูลและสารสนเทศ และ นางลักขณา ตั้งจิตนบ รักษาการแทนในตำาแหน่งผู้อำานวยการฝ่ายส่งเสริมธุรกิจ SMEs เผยว่า สำานักงานส่ง เสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เห็นถึงความสำาคัญของการรวมกลุ่ม ผู้ประกอบการ SME ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ จึงมอบหมายให้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ดำาเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยี เพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุนเครือข่าย SME ปี 2562 เพื่อพัฒนาเพิ่ม ความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายหรือคลัสเตอร์เทคโนโลยี เพื่อการเกษตร จัดอบรมพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ทางการเกษตร และผู้ให้บริการในกระบวนการผลิตพืชผลทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม และงานวิจัย รวมทั้งการออกแบบและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่า นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพ ทั้งผู้ให้บริการเครือข่าย (Service Provider: SP) และผู้ประสานงานเครือข่าย (Cluster Development Agent: CDA) โดยการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ส่งเสริมแนวคิดในการพัฒนาคลัสเตอร์ และเชื่อมโยง ทั้งหน่วยงานของภาครัฐ เอกชน สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งจะเป็นช่องทางใน การเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็งของคลัสเตอร์ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
ด้าน ผศ.ดร.มโน สุวรรณคาำ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี มทร.ธัญบุรี กลา่ วว่า 7 กจิ กรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพ่ือการเกษตรครงั้ น้ี มงุ่ เนน้ ให้มีการรวมกลุ่ม ผศ.ดร.มโน สุวรรณคาำ ตั้งแต่ต้นน้ำา กลางน้ำา ไปจนถึงปลายนำ้า เพื่อให้เกิดความร่วมมือและพ่ึงพากัน ในกลุ่ม เพื่อให้เกดิ ความยัง่ ยืน และทาง มทร.ธญั บรุ ี ได้เหน็ ศักยภาพของการพัฒนา เมล่อนซึง่ เป็นผลไมเ้ ศรษฐกจิ สาำ คัญและเปน็ ทต่ี ้องการของตลาดจากผบู้ รโิ ภคทงั้ ใน และตา่ งประเทศ อกี ทง้ั สามารถปลกู ไดห้ ลายพื้นทขี่ องประเทศไทย โดยเลือกพนื้ ท่ี จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมกี ลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลกู เมล่อนอยู่เปน็ จาำ นวนมาก และ จัดอบรม “การพฒั นาศกั ยภาพในการดาำ เนินงานของคลสั เตอร”์ รวมถึงร่วมจดั ทำา แผนยทุ ธศาสตร์ ณ องค์การบริหารส่วนตาำ บลแจงงาม อ.หนองหญา้ ไซ จ.สพุ รรณบุรี ผู้ประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มจะได้รับความรดู้ า้ นการพฒั นาเครือขา่ ย การพัฒนาการ ปลูกในโรงเรอื น การแปรรปู เพอ่ื ให้ตรงตามความตอ้ งการของตลาด และเกิดการ ทำางานรว่ มกันเปน็ คลัสเตอร์ ขณะที่ ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำานวยการศูนย์บ่มเพาะ ผศ.ดร.เกยี รติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ วิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี กล่าวเสริมว่า กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อ การเกษตร มุ่งเน้นการพัฒนา 4 กลุ่มหลักด้วยกันคือ การมุ่งพัฒนากลุ่มผู้ ใช้เทคโนโลยี กลุ่มผู้ท่ีสามารถนำาเทคโนโลยีที่มีไปปรับใช้ในภาคการเกษตร กลุ่มผู้แปรรูป รวมถึงกลุ่มขนส่ง และกล่าวอีกด้วยว่า การดำาเนินงานของ มทร. ธัญบุรี ที่สร้างและพัฒนางานวิจัยนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ท้ังในระดับประเทศ และนานาชาติ จึงทำาให้ม่ันใจได้ว่ากิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อ การเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุนเครือข่าย SME ปี 2562 น้ี จะเกิดเป็น คลัสเตอร์ท่ีมีความเข้มแข็ง สามารถพ่ึงพาตนเอง มีรายได้ที่เพิ่มข้ึน สามารถ ดำาเนินธุรกิจได้อย่างย่ังยืนได้ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
8 ข่าวนโยบาย....อลงกรณ์ มทร.ธัญบุรี ส่งนกั ศกึ ษาฝึกงานท่ี ‘จีน’ เสริมประสบการณช์ วี ิต กอ่ นเขา้ สกู่ ารทา� งาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ และ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ธญั บุรี สง่ นกั ศึกษาฝกึ งาน เสรมิ ประสบการณช์ วี ติ กอ่ นเขา้ สู่โลกการทํางานจริง ทีส่ าธารณรัฐประชาชนจนี ผศ.ดร.ศิวกร อ่างทอง ทงั้ ทรัพยากรบคุ คล เทคโนโลยี อุปกรณ์ หอ้ งแล็ปทีม่ คี วามทันสมยั ค ณ บ ดี ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร ์ และสาธารณรัฐประชาชนจีนยังเป็นผู้นำาอันดับต้น ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยเฉพาะการขนส่งทางราง ท่ีสำาคัญวัฒนธรรมความเป็นอยู่มีความ ธญั บรุ ี เผยวา่ ทางคณะวศิ วกรรมศาสตร์ ใกลเ้ คยี งกบั คนไทย และคา่ ใชจ้ า่ ยในการครองชพี ไมต่ า่ งจากไทยมากนกั มทร.ธัญบุรี ได้ส่งนักศึกษาฝึกงาน อีกทั้งสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยในด้านการส่งเสริมความ ในตา่ งประเทศที่ Liuzhou Railway เป็นนานาชาติ Vocational Technical College (LRVTC) สาธารณรัฐประชาชนจีน จำานวน 48 คน โดยกลุม่ แรกเปน็ นักศึกษาท่ีฝึกปฏบิ ตั ิในงาน On-the- job Training ทางด้านวศิ วกรรมเคร่อื งกลเป็นระยะเวลากวา่ 2 เดือน สว่ นอกี กลุม่ เป็นนกั ศกึ ษาในโครงการบณั ฑติ พันธ์ใุ หม่ ทเี่ น้นการเรียน และฝึกปฏบิ ัติทางวศิ วกรรมระบบราง หลักสูตรต่อเนอื่ ง เป็นระยะเวลา 1 ปี ภายหลงั จากเรียนที่ มทร.ธญั บรุ แี ล้วเสร็จ ทง้ั 2 โครงการที่กล่าวนี้ ถือเป็นการเตรยี มกาำ ลังคนใน สาขาวิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์ ท่ีสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ด้านวิศวกรรมระบบรางและวิศกรรมเครื่องกล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเร่อื งการขนสง่ ทางรางและเห็นว่าที่ LRVTC มคี วามพร้อมหลายด้าน จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
9 การทคี่ ณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี สง่ นักศกึ ษาไป เสริมประสบการณ์น้ี นกั ศกึ ษาจะไดฝ้ กึ ฝนทกั ษะทางภาษา ทักษะทาง สังคม ความรับผิดชอบต่อตนเอง และสร้างโอกาสในการมีงานทาำ ใน ตา่ งประเทศหลงั จากสาำ เร็จการศึกษา นอกจากนีย้ ังเตรยี มท่จี ะขยาย ผลเพ่อื ขยายโอกาสไปยงั นักศกึ ษาในสาขาวชิ าอนื่ ดว้ ย และวางแผน ที่จะพัฒนางานวิจัย พัฒนาหลักสูตร ร่วมกนั กับ LRVTC ต่อไป เพื่อ ให้สามารถพัฒนากำาลังคนให้มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางและ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดหรอื สถานประกอบการตอ่ ไป ดา้ น ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ธญั บรุ ี กล่าววา่ ทางคณะได้ส่ง นักศกึ ษาไปท่ี Tianjin Agricultural University สาธารณรฐั ประชาชน จีนเชน่ เดียวกัน ท้ังหมด 15 คน โดยส่งนักศึกษาไปฝึกสหกิจศึกษา ประมาณ 4 เดอื น ส่วนอกี กล่มุ ส่งไป ฝึกปฏิบตั ิในงาน 2 เดือน และอกี กลุม่ สง่ ไปแลกเปล่ียนเรยี นร้รู ะยะส้ัน ประมาณ 1 สัปดาห์ และในอนาคตทางคณะได้วางแผนเพ่อื การขยาย เวลาให้มากขน้ึ ดร.ลลิตา ยังกล่าวอีกว่าเปน็ โอกาสท่ดี ีแกน่ กั ศึกษาในการ เปดิ โลกทศั น์การใชช้ วี ิต ทง้ั การเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติงานในตา่ ง ประเทศ ไดแ้ ลกเปลย่ี นวัฒนธรรมรว่ มกนั ฝึกการใช้ทัง้ ภาษาองั กฤษ และภาษาจนี ทีส่ ำาคัญ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มทร.ธญั บรุ ี นับว่า เปน็ มหาวทิ ยาลยั แรกในประเทศไทยที่มีความรว่ มมือกับ Tianjin Agricultural University และยังกล่าวด้วยวา่ วางแผนในการต่อยอด จากความร่วมมือดงั กล่าวในการพฒั นาหลักสูตร 2 ปริญญา การรว่ ม มือด้านการวิจัย ทงั้ ยังเตรียมจัดตง้ั Shennong Institute สถาบนั ที่ ส่งเสริมและให้การศึกษาทั้งในและนอกระบบด้านเทคโนโลยี การเกษตรตอ่ ไป ประกอบกนั หลงั จากทนี่ กั ศึกษาฝึกงานแลว้ เสรจ็ ทาง Tianjin Agricultural University วางแผนทจ่ี ะมอบทนุ การศกึ ษาต่อ ในระดบั ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวมถึงการอบรมในหลกั สตู รระยะส้นั “ นั ก ศึ ก ษ า ที่ เ ดิ น ท า ง ไ ป เ ส ริ ม ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ชี วิ ต ใ น ต่างประเทศ ถือเป็นการพัฒนาและส่งเสริมความเป็นบัณฑิต นกั ปฏบิ ตั มิ อื อาชีพตามอตั ลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั และเป็นต้นแบบ สำาคัญแก่นกั ศึกษาในรุน่ ต่อ ๆ ไป และเป็นการพฒั นากาำ ลังคนดา้ น วิชาชพี เพมิ่ ทักษะความรู้ท่ีทันสมยั เพ่อื ใหม้ ีความพรอ้ มท่จี ะเขา้ สู่ การทาำ งานจริง ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศอกี ด้วย” จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
10 เปิดรั้วราชมงคลธญั บุร.ี ...กองบรรณาธกิ าร ดสนรต้ราีคงีตคศิลรปู . -มทศร.ิลธัญปบนุรี ด้วย ‘มาตรฐานโลก’ ดนตรีคีตศิลปสากลศึกษา มทร.ธัญบุรี ยกระดับศักยภาพการศึกษา เนนปฏิบัติ ควบคูทฤษฎี ดวยเครื่องดนตรีมาตรฐาน ระดับโลก เพื่อสรางครูและศิลปน มืออาชีพ พรอมเขาสูการทํางาน อาจารย์อนนั ทพ์ ร เอ่ยี มชาญบรรจง ประธานหลักสตู รสาขาวิชาดนตรี คีตศลิ ปส์ ากลศกึ ษา ภาควิชานาฏดรุ ิยางคศลิ ป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรีเปดิ เผยว่าการเรยี นการสอนสาขาวชิ าดนตรคี ตี ศลิ ปส์ ากล ศกึ ษา ภาควชิ านาฏดรุ ยิ างคศลิ ป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี มคี วามพรอ้ ม ครบครนั และจดั วา่ มีความทนั สมยั แหง่ หนง่ึ ของประเทศดว้ ยเคร่อื งดนตรีมาตรฐาน ระดบั โลก ทงั้ ประเภทเครอ่ื งสาย เครื่องเป่า เครอ่ื งทองเหลือง เคร่อื งตี และเครอ่ื ง ดดี หรอื เครือ่ งเคาะต่าง ๆ ที่สามารถยกระดับศกั ยภาพการศกึ ษาของผูเ้ รียนไดเ้ ป็น อย่างดี เน่ืองจากเครื่องดนตรมี ีหลายระดบั และหลายประเภท แต่มาตรฐานมคี วาม แตกต่างกนั ในการผลติ บัณฑติ สาขาวชิ าดนตรีคตี ศิลป์สากลศึกษา เพอ่ื ไปเป็นครู หรอื ศิลปิน ในฐานะสถาบนั การศกึ ษาจะตอ้ งเติมเตม็ และเสรมิ แกร่งความเป็น อาชพี ใหก้ ับผ้เู รียน ดว้ ยเครือ่ งดนตรที ่ีมีมาตรฐาน เพื่อให้ผ้เู รียนเข้าใจ เขา้ ถงึ รับรู้ และเกดิ ความเคยชินกับมาตรฐานเสยี ง ความถ่ีของเสยี งอยา่ งถูกต้องและเทยี่ งตรง ทส่ี ดุ โดยเน้นการฝกึ ปฏบิ ตั อิ ย่างเขม้ ข้นควบค่กู บั พ้นื ฐานทางทฤษฎี ซ่งึ จะทำาให้เกดิ การตอ่ ยอดและพัฒนาสายงานในวิชาชีพดนตรตี ่อไปได้ อาจารย์อนนั ท์พร เอยี่ มชาญบรรจง จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
11 สำาหรับจำานวนผู้สำาเร็จการศึกษาสาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา ในปีลา่ สุดได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการมากถึงร้อยละ50ส่วนอีกครึ่งประกอบ อาชีพนกั ดนตรอี สิ ระ ทาำ งานเบื้องหลังดา้ นดนตรี จดั ทำาเพลง รวมถึงเปน็ ครูสอน ดนตรอี สิ ระ นอกจากนี้ นกั ศึกษาทีก่ ำาลงั ศึกษาอยู่บางคนก็เป็นศลิ ปินทีม่ ชี ่อื เสยี ง เช่น ทอ็ ป-ปฐมภพ พูลกลัน่ หรือทีร่ จู้ กั กันในช่อื ‘LAZYLOXY’ ทม่ี ชี อ่ื เสยี งโด่งดงั จากการประกวดในเวที The Rapper ก่อนจะเซ็นสญั ญากับค่าย YUPP! ต่อจากนน้ั มีงานเพลงตดิ อันดับท่ีมียอดวิวมากกว่า 10 ลา้ น ออกมาอย่างต่อเนอ่ื ง นับวา่ เปน็ แรพเปอร์หน้าใหมท่ ม่ี อี นาคตไกล เป็นตน้ แบบท่ดี แี ก่คนเจเนอเรช่ันใหม่และผูท้ ่ีชนื่ ชอบดนตรสี ากลอกี ด้วย ‘ดนตร’ี นับเป็นสว่ นหนึ่งของศลิ ปะ ทชี่ ว่ ยสง่ เสริมและเติมเต็มความร้สู ึก กลอ่ มเกลาจติ ใจ และช่วยปลุกพลังชวี ิตของมนษุ ย์ ในสาขาวชิ าดนตรคี ีตศิลป์สากล ศึกษาจะมุ่งเน้นการสร้างครูดนตรีและการสรา้ งศลิ ปนิ ยงั มงุ่ เนน้ การสรา้ งสรรค์ผล งานวิชาการดา้ นดนตรเี พ่อื เผยแพรส่ ู่สังคม ทาำ ให้เกดิ คณุ คา่ และการถา่ ยทอดไปยัง ผ้เู ก่ยี วข้องหรอื ผู้ใช้ประโยชนใ์ ห้เกิดการนำาไปใช้ไดจ้ รงิ ซงึ่ จะเห็นไดจ้ ากหลากหลาย ผลงานศิลปนพิ นธท์ ี่เกดิ ขึน้ กอ่ นสาำ เร็จการศึกษา นบั ว่าเป็นการพัฒนา ประยกุ ต์ และประมวลผลความรู้ทั้งหมดให้เกิดเป็นผลงานที่แสดงถึงอัตลักษณ์ผู้เรียน ของ มทร.ธญั บรุ ี ท่ีวา่ ‘บัณฑติ นักปฏบิ ตั มิ ืออาชพี ’ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี กระบวนการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา นอกจากใชเ้ ครอ่ื งดนตรมี าตรฐานระดบั โลกแลว้ ยงั สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สดงผลงาน และมกี จิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั ดนตรมี ากมาย มกี ารอบรมเวริ ก์ ชอปทเ่ี ขม้ ขน้ จากความ รว่ มมอื ทม่ี เี ครอื ขา่ ย ทง้ั ศลิ ปนิ นกั รอ้ ง นกั แตง่ เพลง ผบู้ รหิ ารคา่ ยเพลง หรอื แมแ้ ต่ อาจารยจ์ ากสถาบนั ชอ่ื ดงั ตา่ ง ๆ ขณะทค่ี ณาจารยใ์ นสาขาฯ กม็ คี วามเชย่ี วชาญและมี ประสบการณ์ ทง้ั การเปน็ ผอู้ ยเู่ บอ้ื งหลงั ในการผลติ เพลงและดนตรใี หก้ บั ศลิ ปนิ อยา่ ง มากมาย ซง่ึ ทง้ั หมดนจ้ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมปี ระสบการณ์ เหน็ โลกทศั นท์ ก่ี วา้ งขน้ึ เขา้ ใจและรจู้ กั ตนเอง กอ่ นจะเขา้ สเู่ สน้ ทางสายอาชพี ตามทไ่ี ดต้ ง้ั เปา้ หมายไว้ อาจารยอ์ นนั ทพ์ ร ยงั กล่าวอกี ด้วยว่าในอนาคตอันใกล้ เตรยี มวางแผน ท่ีจะเปดิ 2 หลักสูตรใหม่ คือหลกั สูตร Commercial Music หรอื ดนตรีเชงิ พาณชิ ย์ และอกี หนึ่งหลักสูตรคอื นวัตกรรมเทคโนโลยีสร้างสรรค์ดนตรี เพือ่ รองรบั สถานการณแ์ ละการเปลย่ี นแปลงด้านการศึกษาในสาขาวิชาดนตรี ใหส้ อดคล้อง กบั บรบิ ททางสังคมและโลก ทั้งยังสอดรับกบั ความต้องการของผู้เรียนและภาค อตุ สาหกรรมดนตรีในยุคปจั จบุ ัน ผู้สนใจในสาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากล ศึกษา ภาควิชานาฏดรุ ิยางคศลิ ป์ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มทร.ธัญบรุ ี สามารถดรู ายละเอียดและติดตาม ผลงานได้ที่ Facebook Fanpage - ข่าวสารดนตรี สากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี หรอื www.facebook.com/RMUTTMusicProgram และ สามารถสอบถามรายละเอียด โทร. 0-2549-3278-82 จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
12 คนเก่ง มทร.ธัญบุร…ี .ชลธชิ า คนศว.้าศลิ 6ปรศาางสวตัลร์ เวที TUCC 2019 ชมรมการโรงแรมและการบรกิ ารมืออาชีพ (Professional Hotel and Hospitality Club) สาขาการจดั การการโรงแรม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี คว้า 6 เหรยี ญ การแข่งขัน Thailand Ultimate Chef Challenge (TUCC) 2019 ในงาน World of Food Asia : Thaifex ไดแ้ ก่ ร่นุ Junior 3 เหรยี ญทองแดง นายณัฐนนท์ พทิ ยาวงศฤ์ กษ์ รายการ Main Course Beef Challenge-Junior Chef นายเชาวสุ คงสมบูรณ์ รายการ Main Course Pork-Chicken Challenge-Junior Chef และ นางสาว อัญชิษฐา รำาไพ รายการ Classic Thai Cuisine-Junior Chef รนุ่ Professional 1 เหรียญทองแดง รายการ Belgian Fries Back to Basic Dip and Topping Challenge-Professional Chef 1 เหรยี ญเงนิ รายการ Canadian Frozen Lobster Culinary Challenge-Professional Chef โดย นายฐาณพุ ชั ช์ จติ ภกั ดีภรรัชต์ และ 1 เหรียญเงิน รายการ Global Young Chef Challenge นายดลวัฒน์ เลาหะวไิ ลย จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
13 นายฐาณุพัชช์ จิตภกั ดภี รรัชต์ อาจารย์ท่ปี รกึ ษาชมรมการโรงแรมและการบริการมอื อาชีพและ อาจารย์ประจำาสาขาการจดั การการโรงแรม คณะศลิ ปศาสตร์ เล่าว่า กว่า 2 ปี ท่ไี ดจ้ ดั ต้งั ชมรมนข้ี ึ้นมา เพอื่ ให้นกั ศกึ ษาไดฝ้ กึ ทักษะในดา้ นการทาำ อาหาร และสง่ นกั ศึกษาเขา้ แขง่ ขนั ตามเวทตี ่าง ๆ เพอ่ื ให้นักศึกษา ได้รตู้ ัวตนในสง่ิ ทีท่ ำา กล้าทจ่ี ะทำา รู้ถึงกระบวนการในการทาำ งาน ได้เหน็ ถึงอปุ สรรคในการทำางาน ในการ เขา้ แขง่ ขนั แตล่ ะรายการ การเรยี นร้ขู องแตล่ ะเวทีของแตล่ ะคน มีความแตกต่างกัน ฝึกความกล้าในตวั ของ นักศึกษา ซ่ึงเวที TUCC เปน็ การแข่งขันเชฟท่ใี หญ่ทีส่ ดุ ของประเทศไทย สาำ หรับในการแขง่ ขันครั้งน้ี ควา้ มา 6 เหรยี ญ โดยตนเองคว้ามา 2 เหรยี ญ ได้แก่ เหรยี ญทองแดง รายการ Belgian Fries Back to Basic Dip and Topping Challenge-Professional Chef กบั เมนู Belgian Fries รบั ประทานคกู่ ับทอ็ ปปิง สากล และท็อปปิงไทย โดยท็อปปงิ สากลทาำ เปน็ สตูวเ์ น้อื โดยใสเ่ บยี รด์ ำาเบลเยยี มเป็นสว่ นผสม ทานคู่กบั ปาปรกิ า มายองเนส ส่วนท็อปปงิ ไทย ต้องการชอู าหารไทยใหเ้ ปน็ สากลโดยทำากะเพราอกเปด็ ทานกับนา้ำ จมิ้ แจว่ และ เหรยี ญเงิน รายการ Canadian Frozen Lobster Culinary Challenge-Professional Chef โดยนำากงุ้ ลอ๊ ฟเตอรม์ าซูว่ีเพ่อื จะไดเ้ นือ้ สัมผสั ทน่ี มุ่ รับประทานกบั ซอสล๊อฟเตอร์บิทและลาวโิ อลไี่ ส้กุ้งลอ๊ ฟเตอร์ เหรยี ญเงิน รายการ Global Young Chef Challenge “เจมส์” นาย ดลวัฒน์ เลาหะวไิ ลย นักศึกษาชั้นปที ี่ 4 เลา่ ว่า เม่อื ปที ี่แล้วควา้ เหรียญทองแดง จากรายการอาหารจานแกะจากเวทีนี้ เพ่ือความท้าทายความสามารถตนเองจึง เขา้ ร่วมแข่งขนั รายการ Global Young Chef Challenge ในปีน้ี โดยกตกิ าทาำ อาหาร 2 เมนูใชเ้ วลา 1 ชว่ั โมง 30 นาที เมนูแรก ปลาหมิ ะซอสขาวเสิร์ฟพรอ้ ม สลดั ปู ความพิเศษอยู่ทตี่ วั ของซอสทไี่ ด้ใช้ชา Dilmah เปน็ ส่วนผสม และเมนทู ่ี สอง การนาำ เนือ้ ลกู ววั มาเซยี เนย ทานคู่กับเคปเปอรซ์ อส “ฟลคุ๊ ”นายณฐั นนท์ พทิ ยาวงศฤ์ กษ์ “ปล้ืม” นายเชาวสุ คงสมบรู ณ์ นกั ศกึ ษาช้นั ปที ่ี 4 รนุ่ Junior เหรียญทองแดง นักศกึ ษาชนั้ ปที ี่ 4 รนุ่ Junior เหรยี ญทองแดง รายการ Main Course Beef Challenge- รายการ Main Course Pork-Chicken Junior Chef เลา่ ว่า ครง้ั แรกทเี่ ข้ารว่ มการ Challenge-Junior Chef เลา่ ว่า “เน้อื สันใน แข่งขนั อยากไดป้ ระสบการณ์และทักษะใน หมู มสู ไก่ ไสก้ รอกเสริ ์ฟดว้ ยซอสเห็ด พร้อม การทำาอาหาร และท่ีสาำ คญั ฝกึ ความกล้าให้ สตูว์ถ่ัว” ความพเิ ศษของจานอยทู่ ี่การนาำ เนื้อ กบั ตนเอง สำาหรบั เมนใู นการแข่งขนั คร้งั น้ี คือ หมูสันใน มาผสมกับมสู ไก่ ราดด้วยสตวู ์ถ่วั เน้อื สันนอกยา่ ง เสิรฟ์ กับซอสไวนแ์ ดง ทานคกู่ ับซอสเหด็ ชมิ จิ ผิ สมกับไวนแ์ ดง การ “มิว” นางสาวอัญชษิ ฐา รำาไพ นกั ศึกษาช้นั ปีที่ 3 ร่นุ เขา้ แข่งขนั ในครง้ั นเ้ี ปน็ การพสิ จู น์ตัวเอง ได้ Junior เหรยี ญทองแดง รายการ Classic Thai Cuisine-Junior Chef เรียนรแู้ ละได้รับประสบการณ์ใหม่ ทหี่ าไม่ได้ เล่าว่า เคยเข้ารว่ มการแข่งขันสุดยอดเชฟ Thailand's International จากหอ้ งเรียน Culinary Cup (TICC) 2018 แต่ไมไ่ ดร้ ับรางวัล อยากพฒั นาความ สามารถ เปน็ ประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนในมหาวิทยาลยั จงึ เขา้ ทั ก ษ ะ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ รว่ มการแขง่ ขันครงั้ นี้ “แกงเขยี วหวานเน้ือนอ่ งลาย กบั ข้าว” จุดเดน่ ท่ีได้จากการแขง่ ขนั ทำาให้นักศึกษา ของเมนคู อื การนำาเนอ้ื นอ่ งลายมาตุน ในหม้อแรงดัน ราดด้วยซอสแกง ได้กลา้ ที่จะลงมือทำา เขา้ ใจความเปน็ เขยี วหวาน ทานกับข้าวหอมมะลิสมนุ ไพร ประกอบดว้ ยขม้ิน ตะไคร้ ตัวตนของตนเอง กวา่ 2 เดือน อาทติ ย์ และใบมะกรูด และเครอ่ื งเคียงเพิ่มรสชาติ คือ หมูเปยี อาหารไทย ละ 2 วนั วันละ 12 ชัว่ โมง ทไ่ี ด้เตรยี ม โบราณ หมูผสมไข่ ใสป่ ลาเค็ม และยอดผักกูดผัด ทำาให้มคี วามหลาก ตวั อุปสรรคทเี่ จอจะฝกนกั ศึกษา กอ่ น หลายในการรับประทาน ออกไปทาำ งานจริง จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
14 รั้วรอบขอบชิด....ชลธชิ า มทร.ธญั บรุ ี สภาองค์การพฒั นาเดก็ และเยาวชนฯ และมูลนธิ ิทองพลู หวั่งหลี พฒั นาศกั ยภาพด้านเศรษฐกจิ ใหน้ กั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ไดร้ บั โอกาส และกจิ กรรมดี ๆ ในการพฒั นานกั ศกึ ษาจากสภาองคก์ ารพฒั นา เดก็ และเยาวชน ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยไดร้ บั งบ ประมาณสนบั สนนุ จากมลู นธิ ทิ องพลู หวง่ั หลี จดั โครงการพฒั นา ศกั ยภาพดา้ นเศรษฐกจิ ของเยาวชน เพอ่ื เขา้ สอู่ ตุ สาหกรรมการ แปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร นายวิรัช โหตระไวศยะ รักษาราชการแทน อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เผยว่า ตามที่ ส ภ า อ ง ค์ ก า ร พั ฒ น า เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ในพระราชปู ถมั ภ์สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ ก ร ม ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้รบั งบประมาณสนบั สนุนจากมลู นธิ ิทองพลู หวั่งหลี จดั โครงการพัฒนาศกั ยภาพดา้ นเศรษฐกิจของเยาวชน นกั ศึกษาท่ีเขา้ รว่ ม โครงการจะได้รบั ความรูท้ ักษะการคิดวเิ คราะห-์ ตดั สนิ ใจ ความเปน็ ผู้นำา ในการทาำ งานรว่ มกันเป็นทมี คุณธรรมจริยธรรมของอาชีพ ฝกึ ออกแบบ ไอเดียด้านนวัตกรรม สำาหรับปรับปรุงงานแปรรูปผลผลิตการเกษตร โดยไดร้ บั ความสนใจจากนกั ศกึ ษา 11 คณะ 1 วทิ ยาลยั เขา้ รว่ มกวา่ 100 คน นางศรศี กั ดิ์ ไทยอารี ผอู้ าำ นวยการ สภาองคก์ ารพัฒนาเดก็ และเยาวชนฯ เล่าวา่ สภาองค์การพัฒนาเด็กและเยาวชนฯ ทำาหน้าท่ีในการคิดค้นกระบวนการในการ พั ฒ น า เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น เ พื่ อ ใ ห้ เ ติ บ โ ต เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี และ มีความสุข ซ่งึ เม่ือ 3 – 4 ปีท่ผี า่ นมามีสถานการณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ในเมอื งไทย โดย 3 เร่ืองทส่ี าำ คญั ทำาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในสงั คม คอื 1.การกา้ วหน้า และกา้ วกระโดดของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ 2.สงั คมผสู้ งู อายุ 3.เขา้ สปู่ ระชาคม อาเซยี น เกดิ การแข่งขันสตู่ ลาดแรงงานทีส่ ูงขึ้น สาำ หรับโครงการพฒั นา ศกั ยภาพดา้ นเศรษฐกิจของเยาวชน จดั ขึ้นโดยเปน็ การรวมองคค์ วามรู้ ในเรอ่ื งของการฝึกอาชพี วินยั ทางดา้ นการเงนิ ในสว่ นของกระบวนการ ในการจัดการเงิน ไอที การอบรมเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Excel Dashboards and Reports Python สาำ หรบั งานด้านวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ มูล และทกั ษะชวี ติ ในการทาำ งานเปน็ ทมี การเปน็ ผ้นู ำา และการมี มนุษยพนั ธก์ บั ผู้อน่ื เม่ือนักศกึ ษาสำาเรจ็ การศกึ ษาออกจากมหาวทิ ยาลยั สู่ ตลาดแรงงานเป็นทรัพยากรท่ีมคี ุณภาพตอ่ ไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
15 ทางด้าน นายอภชิ าต หวั่งหลี กรรมการ “แตมป” นายธนบดี มลู นธิ ทิ องพลู หว่งั หลี เลา่ ว่า ทางมลู นิธทิ องพลู หวั่งหลี สุขศรีแกว้ นักศึกษาช้ันปที ี่ 3 ใหค้ วามสำาคัญในดา้ นการศึกษาของเยาวชน โดยทาง คณะวิศวกรรมศาสตร์ เล่าวา่ มูลนิธิให้ทุนการศึกษาสนับสนุนนักศึกษามาโดยตลอด อ ย า ก เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ท่ี สาำ หรับโครงการดงั กล่าว เป็นโครงการทีม่ ปี ระโยชน์ท่ี ฝึ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ ป็ น สามารถพฒั นาศกั ยภาพเยาวชน เตรยี มความพร้อมของ ผู้นำา 4 วนั ท่ีไดเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมได้ร้จู ักเพื่อนต่าง เยาวชน เข้าสอู่ าเซียน ซึง่ ในการเข้าสอู่ าเซยี น มที ั้งขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ขอ้ ดี คือ ตลาดการ คณะไดท้ าำ กจิ กรรมร่วมกนั เปน็ กลมุ่ ลงพนื้ ทีใ่ นการ คา้ กว้างข้นึ แตข่ ้อเสยี ถา้ คนไทยไมม่ คี วามพรอ้ มอาจจะแพป้ ระเทศต่าง ๆ ในอาเซยี น ฝึก Work Shop ทบ่ี รษิ ัท SMS และบริษทั สทิ ธิ์นนั ท์ ตลอดจนประเทศเพื่อนบา้ นได้ แต่สิ่งนส้ี ามารถแกไ้ ขโดยการเตรียมความพร้อมพฒั นา (กลมุ่ บรษิ ัทพลู ผล) เปน็ โรงงานผลติ ภณั ฑ์เกย่ี วกบั ศกั ยภาพเยาวชน ไม่ว่าจะในเรื่องของภาษาองั กฤษ ความร้ใู นเร่อื งไอที เทคนิคระดบั แปง้ และการทาำ วนุ้ เสน้ ได้เรียนรู้กระบวนการในการ สงู ต่าง ๆ วนิ ัยทางการเงิน ตลอดจนทกั ษะชีวิต เปน็ ส่ิงทีด่ ีมาก สาำ หรับกจิ กรรมในการ ผลิตแต่ละข้ันตอนและได้สัมภาษณ์การทำางานของ เปดิ บรษิ ทั ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาดงู านบรษิ ทั SMS และบรษิ ทั สทิ ธน์ิ นั ท์ (กลมุ่ บรษิ ทั พลู ผล) พี่ ๆ พนักงานในโรงงาน นอกจากนย้ี งั ไดเ้ ห็นระบบ นกั ศึกษาไดเ้ หน็ ถงึ กระบวนการในการทาำ งาน ได้เหน็ ปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ ขณะทาำ งาน ได้ เครือ่ งจกั รในโรงงานอุตสาหกรรม โครงการน้ที าำ ให้ เรยี นรทู้ กั ษะในการทาำ งานของฝา่ ยตา่ ง ๆ เช่น ฝ่ายการตลาด วศิ วกร นักศกึ ษาเกิดการ ตนเองกลา้ แสดงออก กล้าที่จะคดิ ที่จะทาำ และฝกึ การ เรยี นรแู้ ละเตรียมตวั ก่อนออกส่ตู ลาดแรงงานในอนาคต เป็นผู้นาำ “ ส้ ม โ อ ” น า ง ส า ว ธั ญ ด า “ก้”ี นางสาวอรวรรณ สรรเพชุดา นกั ศกึ ษาชั้นปที ี่ ทองเชื้อ นักศกึ ษาชนั้ ปที ี่ 3 2 คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ เล่าวา่ เมือ่ เหน็ ชอื่ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ เล่าวา่ โครงการมีความสนใจ อยากไดร้ บั ความรู้ทางดา้ นทักษะ อยากนำาความรู้ท่ีได้ไปปรับใช้ ในการใช้ชีวิต ซงึ่ เป็นโครงการที่ดีมาก ไดเ้ ยยี่ มชมโรงงาน ในการเรยี น หาความรนู้ อก วุน้ เส้นและแปง้ ตรงกับสายงานทเี่ รียน ไดร้ ้ขู นั้ ตอนในการ หอ้ งเรยี น “เรยี นร้เู ร่อื งการเงนิ และการวางแผนตัง้ ผลิตแปง้ แตล่ ะชนดิ เรียนรู้ระบบการทำางานในโรงงานอุตสาหกรรม และนำาความรู้ เป้าหมายในอนาคต” ได้ทาำ กิจกรรมกบั เพือ่ นตา่ ง ท่ีได้มาเล่าให้เพ่อื น ๆ ฟงั สาขาและตา่ งคณะ แต่ละคนมมี มุ มองที่ไมเ่ หมือนกัน จากการสัมภาษณแ์ ละเข้า Work Shop ในบรษิ ัท ตนเองและเพื่อนในกลุ่มเสนอไอเดียบรรจุภัณฑ์ วุน้ เส้น เพอ่ื ความสะดวกในการบรรจุ ทาำ ให้เสน้ วุ้นเสน้ ไม่เสียหายขณะท่บี รรจุ ความร้ทู ี่ได้สามารถนำา ไปปรับใชใ้ นการทำางานในอนาคต “เจ” นายเทวนิ จันทรแ์ จม่ “เพชร” นายพชร ภาคอนิ ทรีย์ นักศกึ ษาช้ันปที ี่ 2 คณะ ดารา นักศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 2 ครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม เล่าว่า ได้เข้าศกึ ษากระบวนการการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เล่าวา่ ทำางานในโรงงาน นำากระบวนการคดิ วิธีการนำาเสนองาน ดู สำาหรับตนเองได้ฝึกคิดฝึกการ ระบบสารสนเทศในโรงงานอตุ สาหกรรม สามารถนาำ มาปรับ ทำางานเป็นทมี นำาไปปรบั ใช้ ใช้กบั การทาำ งานในการเรียนในมหาวทิ ยาลยั สอนเรือ่ งของ ในสว่ นของการทาำ งานกลุ่ม ครั้งแรกท่ไี ดเ้ ข้าดูงานใน การใชเ้ งินในชีวิตประจาำ วัน การบรหิ ารเงนิ การออมเงิน และการลงทนุ ตา่ ง ๆ โรงงาน ทั้งระบบการทำางาน การแบ่งหนา้ ที่ ท่ีสาำ คัญ ความรู้และทักษะที่นักศึกษาได้รับจากโครงการพัฒนาศักยภาพด้าน สอนในเรื่องการวางแผนการใช้เงินในชีวิตประจำา เศรษฐกิจของเยาวชน นำาไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาำ วันและเตรียมความพร้อมสู่ วนั ในส่วนของการออมเงิน และนำาเงินไปลงทนุ ใน การทาำ งานในสถานประกอบการในอนาคต การวางแผนและการเตรยี มพร้อม อนาคต นำาไปส่คู วามสาำ เร็จ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
16 Student Activity....ชลธิชา ปฐมนิเทศ นศ.ใหม่ ลงพื้นที่ท�ำจิตอำสำ พัฒนำมหำวทิ ยำลัย หอประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล นายวริ ัช โหตระไวศยะ รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดี มทร.ธัญบุรี ธญั บุรี นายวิรชั โหตระไวศยะ รกั ษาราชการแทนอธิการบดี เปดิ เผยว่า สำาหรับการจัดกจิ กรรมในวันน้ี จัดขึน้ เพื่อให้นกั ศกึ ษาใหมท่ ุกคนได้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี เปน็ ประธานเปิดงาน ทราบระเบียบข้อบังคับหลักสูตรระบบการเรียนการสอนแนวทางการปรับตัว ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม่ ประจำาปีการศกึ ษา 2562 พร้อมทง้ั ให้เขา้ กับสงิ่ แวดล้อมของมหาวทิ ยาลยั การจดั บริการสวสั ดกิ ารแกน่ ักศึกษา บรรยายพเิ ศษในหวั ข้อ “เพราะทีน่ ี่มีอนาคต” ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ และสรา้ งสรรค์คณุ ธรรมจริยธรรมในหมู่นกั ศกึ ษาใหม้ ี ความรกั ความภาคภมู ใิ จในความเป็นนกั ศึกษาของมหาวิทยาลัย รวมท้ังสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาด้วยกันและระหว่างนักศึกษากับอาจารย์อันจะ ส่งผลให้นักศึกษามีความพร้อมในการใช้ชีวิตในร้ัวมหาวิทยาลัยอย่างมีความ สขุ นอกจากน้ี ทางมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ยงั เปดิ ศนู ยเ์ ฝ้า ระวังการรบั นอ้ งและประชุมเชียรอ์ กี ด้วยซึง่ ในปีน้ี จดั กจิ กรรม จติ อาสา พฒั นา สิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย และทุกคณะของ มทร.ธัญบุรี จดั กิจกรรมรับน้องอย่างสร้างสรรค์ ปลอดความ รนุ แรง เพือ่ เปน็ การสรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละวัฒนธรรมทด่ี ใี ห้กบั องค์กรต่อไป ผศ.ณฐั แก้วสกุล รักษาราชการแทนผอู้ ำานวยการกองพฒั นา นักศึกษา เลา่ ว่า สำาหรับการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาประจาำ ปีการศกึ ษา 2562 ทั้ง 3 วัน เป็นกิจกรรมการปฐมนิเทศที่ให้ความรู้เรื่องสวัสดิการต่าง ๆ ทีน่ กั ศกึ ษาไดร้ บั จากทางมหาวิทยาลยั ยังไดจ้ ดั กิจกรรมอบรมความรู้ เรอ่ื ง “สถาบนั พระมหากษตั ริย์กบั ประเทศไทย” โดยวทิ ยากรจติ อาสา จากกอง บัญชาการทหารมหาดเลก็ ราชวัลลภรักษาพระองค์ 904 ปลกู ฝงั ปลกู จติ สาำ นกึ ให้ตระหนักถงึ จิตอาสาซงึ่ เป็นพืน้ ฐานและพลเมอื งทด่ี ใี นอนาคต นอกจากน้ียัง ไดจ้ ดั กิจกรรมจิตอาสาพัฒนามหาวทิ ยาลยั จติ อาสาพฒั นารว่ มกบั ชุมชน รอบ มหาวิทยาลัย และ กิจกรรม Green University และเตรยี มพืน้ ทสี่ ำาหรับ จัด ตั้งศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกฝังแนวคิดคาำ นึงถึงความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี น ตวั ตลอดจนการใช้ความรดู้ ้วยความรอบคอบ ระมัดระวงั และมคี ณุ ธรรม เปน็ พื้นฐานในการตดั สนิ ใจและการกระทำา โดยกจิ กรรมจิตอาสาพัฒนา มหาวทิ ยาลยั และพัฒนาชุมชน คอื พฒั นาสภาพแวดลอ้ ม เช่น การเกบ็ ขยะ ลอกคลองผกั ตบชวา บริเวณชุมชนรอบ ๆ มหาวิทยาลัย เปน็ การปลุก กระแสคนในพืน้ ทีใ่ หร้ บั รู้ ไดเ้ หน็ ตระหนกั ถึงการทำาจติ อาสารว่ มกนั ซึ่งไมใ่ ช่หนา้ ที่ของคนใดคนหน่งึ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
“โอต๊ ” นายพงศกร ดวงใส นักศกึ ษาสาขา 17 เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เลา่ วา่ การทาำ จติ อาสา เปน็ กิจกรรมทด่ี ี เคยทาำ กิจกรรม “มาย” นางสาววณี าพรรณ ศิรมิ ีโชค สาขา จติ อาสามาตอนเรยี นอยโู่ รงเรยี นนวมินทราชินูทศิ เตรียม อาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ อดุ มศึกษานอ้ มเกล้า จิตอาสาแจกยาดมงานพระราชพิธี เล่าวา่ ย้ายมาจากคณะเทคโนโลยีสือ่ สารมวลชน เม่อื เขา้ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ รชั กาลที่ 9 ท่ที ้องสนามหลวง มาเรยี นรสู้ ึกวา่ ไมช่ อบ จึงได้ย่นื คะแนนทีเคสรอบ 1 สาขา วนั นี้ได้มาทำากิจกรรมจติ อาสา เปน็ กิจกรรมท่ีดี ทำาให้ อาหารและโภชนาการเขา้ มาศกึ ษาใหม่ ด้วยการชอบทาำ ทุกคนได้ตระหนักถึงหน้าที่อีกหน้าที่หนึ่งท่ีทุกคนควรทำา อาหาร อยากเปดิ รา้ นอาหาร ทาำ ธุรกจิ ส่วนตัว อาหารเปน็ คอื การทำาประโยชน์เพื่อส่วนร่วม การเกบ็ ขยะ ปลูกตน้ ไม้ สิ่งทท่ี กุ คนตอ้ งกิน มองว่าสายงานนีค้ งไม่ตกงาน ในการทำา เป็นกจิ กรรมที่ทุกคนสามารถทำาได้ กิจกรรมจติ อาสาในวันนี้ ออกไปเก็บขยะนอกมหาวิทยาลัย เป็นกจิ กรรมที่ดีปลูกจติ สำานึกในการทาำ ความดี และทาำ ให้ ชุมชนสะอาดอกี ด้วย เชน่ เดียวกบั “ฟิวส”์ นายปรวฒั น์ ทองคาำ สุข เ ฟ ร ช ชี่ ส า ข า เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ถ่ า ย ภ า พ แ ล ะ นักศึกษาสาขาออกแบบผลติ ภัณฑ์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ภาพยนตร์ คณะเทคโนโลยีสือ่ สารมวลชน “ก้ัง” นาง เล่าว่า ครั้งนี้คือกิจกรรมการปฐมนิเทศครั้งที่ 2 สาวณิชาดา หลา้ สีดา เล่าวา่ อยากทาำ งานและร้ถู ึง เมอื่ ปกี ารศึกษาท่ีผ่านมา เป็นเฟรชช่สี าขาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กระบวนการสรา้ งภาพยนตร์ สนใจงานเบอ้ื งหลัง ชอบดู โทรคมนาคม คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม แตเ่ มอื่ เขา้ หนัง จงึ เขา้ มาเรยี นสาขาน้ี สาำ หรบั กิจกรรมปฐมนิเทศวนั นี้ มาเรียนแล้ว รสู้ กึ ว่าไมเ่ หมาะกับตนเอง “ถา้ เรยี นจบ สร้างสรรค์ และได้ทาำ ประโยชนเ์ พื่อสว่ นรว่ ม เก็บขยะ ปลกู ไป ทำางานในส่งิ ทไ่ี มช่ อบ ทาำ ใหท้ ุกข์ใจ” จึงย้ายมาเรียน ต้นไม้ กอ่ นทีจ่ ะเข้ามาเรียนในมหาวทิ ยาลัย ฝึกนิสยั จติ สาขาออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาำ หรบั กจิ กรรมจิตอาสาใน อาสา สำาหรับเพอื่ น ๆ ท่เี ข้ามาเรยี นมหาวทิ ยาลยั ควรแบง่ วนั นี้ เป็นกจิ กรรมทีม่ ปี ระโยชนม์ าก ทาำ กจิ กรรมรว่ มกับ เวลาในการเรยี นและการทาำ กจิ กรรม และเม่ือเวลาวา่ งควร เพื่อนคณะอ่ืน เก็บขยะบรเิ วณประตู 2 ของมหาวทิ ยาลยั หากิจกรรมที่มีประโยชน์ทำา ไดท้ ำาความดี มหาวทิ ยาลยั สะอาดและน่าอยู่ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562 กจิ กรรมจติ อาสาในครั้งน้ี “เปน็ สัมผัสแรก ในมหาวทิ ยาลัย แสดงตวั ตนใหน้ กั ศกึ ษาไดร้ ู้ไดเ้ ห็น ว่ามหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยที่รับผิดชอบต่อ สังคม มงุ่ เน้นการสรา้ งจติ อาสาใหก้ บั เยาวชนใน ประเทศ ให้เปน็ พลเมอื งทดี่ ”ี กจิ กรรมในวนั นี้เป็น เพยี งจุดเริ่มตน้ ระยะเวลา 4 ปี ท่ีนกั ศกึ ษาใชช้ ีวติ ใน มหาวิทยาลัยยังมีกิจกรรมจิตอาสาให้นักศึกษาเข้า ร่วม ทง้ั ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั เชน่ อำาเภอ ธญั บรุ ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำาบลคลองหก โดยทาง มหาวทิ ยาลยั ส่งคณาจารย์ นักศกึ ษา และเจา้ หน้าทเ่ี ข้า ร่วมกิจรรม ผศ.ณัฐ แกว้ สกลุ กลา่ วทิง้ ทา้ ย
18 รายงานพิเศษ....อลงกรณ์ สถาปตย์. มทร.ธญั บุรี ลงพนื้ ท่ี ซ่อมแซมห้องเรียน หวังกระต้นุ การเรียนร้เู ยาวชนไทย นกั ศึกษำสถำปตย มทร.ธัญบรุ ี ลงพืน้ ที่ ซ่อมแซม ตกแต่งภำยใน โรงเรียนวดั สวนทองรวมมติ ร จ.สระบรุ ี หวังกระตุนและสง่ เสรมิ กำรเรยี น รูของเยำวชนไทย นายธงเทพ ศริ ิโสดา อาจารยค์ ณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล นายธงเทพ ศิรโิ สดา ธญั บุรี เผยวา่ ภาควิชาสถาปตั ยกรรมภายใน คณะสถาปตั ยฯ์ ได้นำานกั ศึกษาไปเรยี นรทู้ ัง้ ภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบตั ิ ด้วยการออกแบบหอ้ งเรียน หอ้ งสมุดและพ้ืนทที่ ำากิจกรรมใหก้ บั โรงเรียนวดั สวนทองรวมมิตร อ.มวกเหลก็ จ.สระบรุ ี โดยกอ่ นหนา้ นเ้ี คยพาทมี นกั ศกึ ษาไปชว่ ยหลายโรงเรยี นทผ่ี า่ นมา จงึ ไดร้ บั การตดิ ตอ่ จาก ผอู้ าำ นวยการโรงเรยี นฯ ให้มาชว่ ยดแู ล ออกแบบและพัฒนาทางดา้ นสถาปตั ยกรรมภายใน “จากการลงพ้นื ท่สี าำ รวจหน้างานร่วมกบั ทีมนักศกึ ษา พบว่าโรงเรียนวัดสวนทองรวมมติ รเป็น โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา มีทรัพยากรค่อนข้างจาำ กัดหลายด้าน ที่สำาคัญสภาพอาคารเรียนและ หอ้ งเรยี นชำารุดทรุดโทรม บรรยากาศไมเ่ ออ้ื ตอ่ การเรียนการสอนมากเทา่ ไร ประกอบกบั สีผนงั ทที่ าไว้มี ลักษณะหลุดร่อน ลอกและซีด อุปกรณ์และเคร่อื งมอื เครอื่ งใชค้ อ่ นขา้ งขาดการบาำ รุงซ่อมแซม ประกอบ กบั พื้นทส่ี าำ หรับทาำ กจิ กรรมและเวทีดเู กา่ ซึ่งท้ังหมดนน้ี า่ จะเปน็ ไปตามการใช้งานและกาลเวลา จงึ ตอ้ งมี การพัฒนาปรับปรุงและซ่อมแซมเพื่อให้เหมาะสม ท้งั ห้องเรยี น หอ้ งสมุดและพน้ื ทที่ าำ กิจกรรม” อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ กล่าว กอ่ นปรบั ปรงุ หลงั ปรับปรุง จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
19 ตวั แทนนักศึกษานาำ โดย น.ส.รวินนั ท์ ลอยเมฆ ‘แพรว’ นกั ศกึ ษาช้ันปี 4 บอกถึงความรู้สึกที่ได้ เขา้ ร่วมกจิ กรรมครั้งนีว้ า่ ภูมิใจทไ่ี ดร้ ่วมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยพัฒนาปรับปรงุ โรงเรยี น โดยการนาำ ความรู้ ประสบการณ์ท้ังจากในหอ้ งเรียนและชวี ิตจรงิ มาประยกุ ต์ใช้ในการออกแบบตกแต่งภายใน ไดล้ งมือปฏบิ ตั ิ และเรียนรชู้ ีวติ การทาำ งานจริง ได้ใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคม์ าออกแบบห้องเรียน รวินนั ท์ บอกอีกว่า ลกั ษณะงานท่ีทาำ เร่ิมตัง้ แตท่ าสผี นังหอ้ ง ตัดยปิ ซมั กรผุ นังแลว้ ทาสอี กี ครง้ั บางจดุ มีการวาดภาพประกอบเพ่อื ใหเ้ กิดความน่าสนใจ ขณะเดยี วกนั ยงั ได้วางผัง เขียนแบบ “การได้ทำาจริง เรยี นรูข้ องจรงิ สร้างประสบการณ์ท่ีดี ไดท้ ดลองทาำ ภายใตก้ ารดูแลของอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา” การลงพ้ืนท่ี คร้งั น้นี านประมาณ 2 เดอื นเศษ ได้ฝกึ การวางแผนอยา่ งเป็นระบบและการแบง่ เวลาเพอื่ ใหง้ านเดนิ หนา้ ตาม ทต่ี ง้ั เปา้ หมายไว้ “ขอบคณุ บริษทั เอกชนทสี่ นับสนนุ เงินทุน ในการร่วมพัฒนาครัง้ นด้ี ว้ ย” เมอ่ื งานเสร็จมี การสง่ มอบอยา่ งเป็นทางการ ได้รับฟีดแบคทง้ั ผูอ้ ำานวยการ อาจารยแ์ ละนกั เรียนวา่ ชนื่ ชอบและชว่ ยสรา้ ง บรรยากาศ สง่ เสรมิ การเรียนการสอนของเดก็ นกั เรียนได้เปน็ อย่างมาก ดา้ น นายปฏภิ าณ เจงิ ‘เตอ๋ ’ นกั ศกึ ษาชน้ั ปี 4 กลา่ ววา่ ตนไดร้ บั ผดิ ชอบงานไม้ การปรบั พน้ื ให้ เรยี บ แตส่ ง่ิ สาำ คญั คอื การใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งคมุ้ คา่ ไดร้ ว่ มบรหิ ารจดั การ ออกแบบตกแตง่ ภายในภายใต้ งบประมาณจาำ กดั และวสั ดบุ างอยา่ งทม่ี ไี มค่ อ่ ยสมบรู ณ์ แตท่ ง้ั หมดนก้ี ส็ ามารถสรา้ งใหเ้ กดิ เปน็ ผลงานขน้ึ มาได้ นอกจากทีมนกั ศึกษา มทร.ธัญบุรี แล้ว ยงั มีชาวบ้านในชมุ ชนใกล้เคียงมาร่วมลงแรงดว้ ย “ระหวา่ งที่งานใกลจ้ ะเสรจ็ มนี กั เรยี นหลายคนเดนิ เข้ามาดู มาทกั ทาย และชอบในผลงานของเรา ใน ฐานะคนทำางานก็รูส้ ึกภาคภูมิใจ ทพี่ วกเขานั้นช่นื ชอบ สะท้อนใหเ้ ห็นว่าสิ่งที่เราทำาสามารถตอบสนอง ความต้องการพวกเขาไดเ้ ปน็ อย่างด”ี ปฏิภาณ อธิบาย “แม้ระยะเวลา วัสดอุ ปุ กรณจ์ ะคอ่ นข้างจาำ กดั แต่ทกุ คนมาดว้ ยหวั ใจและทำาผลงานจากความ ตั้งใจจริง ไดเ้ สนอแนะแนวทางร่วมกันเพอื่ ให้งานออกมาดี โดยมงุ่ หวังเหมอื นกนั วา่ จะช่วยกระตุน้ ให้ เดก็ นักเรยี นไดร้ ับบรรยากาศทด่ี ี พร้อมที่จะศึกษาหาความรู้ เพ่ือเตบิ โตมาเปน็ เยาวชน คนของชาตทิ ่ีมี คณุ ภาพตอ่ ไป” นายธงเทพ กลา่ วสรปุ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
20 สกู๊ปขา่ วพิเศษ....ชลธิชา ศิลปะไทย มทร.ธญั บุรี เขยี นผนังวิหาร วัดกา� แพง อาจารย์ นักศกึ ษาสาขาวชิ าศลิ ปะไทย ใชเ้ วลาช่วง ปิดเทอม ฝึกมอื เรียนรู้ชวี ิตศิลปนิ เขยี นจิตรกรรมฝาผนัง วหิ ารวดั กำาแพง เขตบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร รศ.บัณฑิต อินทรค์ ง อาจารย์ประจาำ สาขาวชิ า ศลิ ปะไทย คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ บอกวา่ ทางสาขาวชิ า ศิลปะไทยคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ โดยนกั ศกึ ษาปริญญา โทและศษิ ยเ์ ก่า ได้เขียนลายรดน้ำาในมณฑปหลวงปไู่ ปล่ ให้กบั ทางวัด ทางวัดจงึ ได้มอบหมายใหท้ างสาขาวิชา เขยี นภาพจติ รกรรมผนงั วหิ าร จากมตขิ องคณะกรรมการวดั มีมติใหเ้ ขยี นพุทธประวัติพระพทุ ธเจ้า สำาหรบั การเขยี น งานในครั้งน้ี เป็นการเขียนแนวอนุรกั ษ์ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณโี บราณ แบบจารีตประเพณี เสน่หข์ องการเขียนงานโบราณ การลงสี โชวส์ ดั ส่วน เสน้ ออ่ นหวาน มคี วามละเอียด “สาำ หรับเทคนคิ โดยการร่างภาพสดด้วยดินสอสลี งบนผา้ ใบ ลงสดี ้วยสีอะคริลิค ใชท้ องคาำ เปลวลงในส่วนทีส่ าำ คญั แทนสี ทอง” โดยนกั ศกึ ษาสาขาวิชาศิลปะไทย มีสว่ นรว่ มในการทาำ งานในครงั้ น้ี โดยเป็นการบรู ณาการวิชาทเี่ รยี น สอดคลอ้ งนโยบายของทาง คณะและมหาวทิ ยาลยั “สร้างสรรคศ์ ิลปะดว้ ยการบูรณาการกบั การเรยี น” เป็นจิตอาสาท่สี มคั รใจเขา้ มาทาำ งาน นกั ศึกษาได้ฝึกฝมี ือ กบั การทาำ งานจริง สายงานทางด้านศิลปะไทย ตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบเป็นพเิ ศษ ทาำ ดว้ ยจติ ท่มี คี วามรัก ต้องทุ่มเท “โดย 30% ของ นกั ศึกษาทสี่ าำ เร็จการศึกษา ยึดอาชีพศลิ ปินเลย้ี งชพี สว่ นใหญ่หลงั สำาเร็จการศกึ ษาทาำ งานเปน็ คร”ู นกั ศึกษาท่ีมาช่วยงานในครัง้ นี้ ไดฝ้ กึ ฝีมือในการประกอบอาชพี ในอนาคต ภาคภูมใิ จครง้ั หนง่ึ ในชีวติ เคยไดเ้ ขียนผนงั โบสถ์ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
21 “เอือ้ ” นางสาวปวีณา สระทองรดั นกั ศึกษาสาขาวิชาศลิ ปะไทย คณะศิลปกรรม ศาสตร์ เลา่ ว่า “อยากไดป้ ระสบการณใ์ นการทำางานสายงานอาชพี น้ี จึงมาช่วยงานอาจารย”์ ตนเองเคยไดร้ บั รางวัลเหรยี ญทองอนั ดบั 4 การแข่งขนั ศิลปะหัตกรรมระดบั ชาติ ปี 2560 จึง ชอบงานสายนี้ เลือกเรียนศลิ ปะไทย เพราะความชอบ ศลิ ปะไทยเป็นงานที่สวยงาม มคี วามเป็น เอกลักษณ์ในตัวของชิ้นงาน “ตวั พระ ตัวนาง เครื่องทรง” ภูมิใจทีไ่ ด้ทำางานคร้งั น้กี ับอาจารย์ ได้ เรยี นรู้ไดเ้ หน็ จับงานจรงิ ไดเ้ หน็ จุดแก้ไข” นอกจากนย้ี งั ได้นำาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการเรยี น ใน เทอมตอ่ ไป ซึ่งไดช้ วนน้องสาวฝาแฝดมาทำางานในครัง้ นด้ี ว้ ย ทางดา้ นแฝดผู้นอ้ ง “ออ้ ” นางสาวปวีนุช สระทองรดั นกั ศกึ ษาสาขาวิชาออกแบบ ภายใน เลา่ ว่า ชว่ งนป้ี ิดเทอม อยากหาความรเู้ พ่ิมเตมิ ทางด้านการเขียนงานไทย ซ่งึ ตนเองมี ความร้ทู างด้านศลิ ปะสมยั ใหม่ โดยการเขียนจติ รกรรมฝาผนงั ไม่เคยทำามากอ่ น การชว่ ยงาน อาจารย์ครัง้ น้ีจะมีประโยชนต์ ่อการเรียน เมอ่ื มาช่วยงานอาจารยเ์ ปน็ ประสบการณ์ท่ดี มี าก ได้ รบั รูเ้ ทคนคิ มมุ มองอีกมมุ มองของศลิ ปินศลิ ปะไทย ตนเองมหี นา้ ท่ใี นการลงสีคน และในการ ทำางานครั้งนีท้ ำาใหต้ นเองมีความกล้าทีจ่ ะลงมือทาำ กลา้ ท่ีจะลงสี ฝึกฝีมอื ตนเอง ภาคภมู ิใจท่ไี ด้ ทาำ งานชิ้นนี้ อยา่ งน้อยจะไดม้ เี ร่ืองเล่าใหก้ ับเพ่ือน ๆ นอ้ ง ๆ รนุ่ ตอ่ ไป “อุ้ย” นางสาววชิ าฎา จนั ทรน์ วล นกั ศกึ ษาสาขาวิชาศลิ ปะไทย เล่าวา่ ภูมิใจท่ไี ด้ เขยี นจติ รกรรมฝาผนงั วหิ ารในคร้งั นี้ อีก 10 ปี ข้างหนา้ จะได้มีศลิ ปะจติ รกรรมฝาผนังไวใ้ หล้ กู หลานดู ตอนเรยี นท่ีวทิ ยาลัยชา่ งศลิ ป์นครศรธี รรมราชไดม้ ีโอกาส ช่วยอาจารยเ์ ขียนลายรดน้าำ มาแลว้ การทาำ งานคร้ังนเี้ ปน็ งานใหญค่ ร้งั แรก และเปน็ การเขียนจติ รกรรมฝาผนังแนวอนรุ ักษ์ แบบโบราณ ท่ีตอ้ งอาศัยความละเอียด โชคดที ่ไี ดท้ ำางานครง้ั น้ี ท่เี ลอื กเรียนสาขาวชิ าน้ี เพราะว่า อยากเป็นคุณครู และรักษาเอกลักษณค์ วามเป็นไทยสืบต่อไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
22 Hot News....อลงกรณ์ เจเนอเรชนั่ ใหม่ ยคุ 4.0 สะทอ้ น ‘คุณค่า’ หวั ใจคนเรียน ‘เทคโนโลยกี ารเกษตร’ โลกในยุค 4.0 ที่ทุกอย่างกําลังแปรเปลี่ยนสู จักรกลอัตโนมัติ วิชาชีพหลายแขนงล้วนปรับตัว เพื่อก้าวทันกับความเป็นดิจิทัล โดยเฉพาะแวดวง สถาบันการศกึ ษา ในระดบั อุดมศึกษา เพ่อื ใหเ ทา ทันกับ สถานการณตลาดแรงงานและสอดรับกับความตองการ ของผูเรยี นมากท่สี ุด ‘เกษตร’ หนงึ่ ในวชิ าชีพสาํ คญั และมีความทา ทาย หลายดาน ทั้งจํานวนผูเรียนตอในระดับมหาวิทยาลัย ความเป็นเทคโนโลยี และสื่อสังคมออนไลน์ที่รวดเร็ว เขาถึงงายและกลายเปนทางเลือกสําคัญในการปอน ความรูใหผูเรียนอยางไมจํากัด...ลาสุดไดพูดคุยกับ นักศึกษา ‘รั้วบัวสวรรค’ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ทส่ี ะทอ นความคดิ ของสง่ิ มชี วี ติ ทำาให้หลงใหลและเกิดเป็นความรัก” จึงเลอื กเรียน คุณคา หัวใจคนเกษตรไดอ ยา งนาสนใจ สตั วศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี โดยการเรียนจะม่งุ เน้นการผลิตสัตวเ์ ศรษฐกิจ ดว้ ยเทคโนโลยสี มัยใหม่ เชน่ การทำาปศสุ ตั วใ์ นเนื้อท่ีจาำ กดั ไม่มพี ้ืนทีใ่ น เริ่มต้นคนแรกกบั หนมุ่ หน้าใส “โอต๊ ” การปลูกพชื อาหารสตั ว์ แต่ใช้วตั ถุดบิ ทม่ี ีอยใู่ นทอ้ งถ่ินใหเ้ กิดความคมุ้ ภรู ติ กรี ตกิ าำ จร ชน้ั ปี 3 สาขาวชิ าสตั วศาสตร์ คา่ รวมถึงการบรหิ ารจดั การและวิจัย บอกถึงความเป็นเกษตรว่า “คนไทยเรา “สัตวศาสตร์จะเรียนทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป โชคดีที่มีพื้นที่ทำาเลทองในการผลิตอาหาร มีหลายครั้งก็เรียนปฏิบัติมากกว่าด้วย ความสนุกจึงอยู่ที่การ เพอื่ ปากท้อง หล่อเล้ียงและจนุ เจอื ผูค้ น ได้ออกไปสัมผสั สง่ิ มชี วี ติ จริง” ในปจั จบุ นั การเกษตร มีตวั ชว่ ยสาำ คัญ บนโลกใบนไี้ ด้” และเกษตร...ยงั เปน็ ทีม่ าเสริม เตมิ คุณภาพและชว่ ยในการผลติ นั่นคอื ความเปน็ เทคโนโลยี วิชาชีพแห่งชีวิต ท่ตี ้องใช้ความทมุ่ เทในการ “กระบวนการผลิตสัตว์ มเี ทคโนโลยเี ข้ามาเกย่ี วขอ้ ง ทง้ั การลดระยะ ศกึ ษาและพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง จึงจะ เวลาการผลิต การเก็บรักษาผลผลติ การหาวธิ กี ารต่าง ๆ ที่จะเสรมิ สามารถประสบความสำาเร็จต่อไปได้ การทำางานเพ่ือให้เกดิ ความคุ้มค่าในท่สี ุด” และไมว่ ่าเทคโนโลยจี ะ จากความชอบเลี้ยงสัตวต์ งั้ แต่เด็ก จงึ คลุกคลแี ละได้เรียนรู้ ก้าวกระโดดไปมากเพียงใด มนุษย์เรากย็ ังตอ้ งการอาหาร อาหารกม็ า พัฒนาการ พฤติกรรมและลักษณะของสตั ว์ดว้ ยตนเองและจากกลุ่มผู้ จากการเกษตรเป็นหลกั จงึ อยากให้ทกุ คนให้เกียรตแิ ละยกยอ่ งวชิ าชีพ เลีย้ ง เริ่มต้ังแต่ปลา สนุ ัข อกี วั น่า ก้ิงกา่ และงู “ความเปน็ ธรรมชาติ การเกษตร จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
23 อี ก ห น่ึ ง ห นุ่ ม จ า ก ส า ข า วิ ช า ป ร ะ ม ง “ขงิ ” ธนั ยภรณ์ พมิ เสน ช้ันปี 2 สาขา “ด๊มั พ”์ นันทวัฒน์ แกว้ เซือง ชน้ั ปี 3 วิชาเทคโนโลยีภูมทิ ัศน์ ขยายความวา่ ดีกรปี ระธานสาขาวชิ าประมง บอกว่า เทคโนโลยภี ูมทิ ัศน์ ไดเ้ รยี นเกี่ยวกบั ตน้ ไม้ “เรียนประมง...ไม่ได้เรียนเพื่อไปเป็นชาว พืชพันธุ์และการออกแบบ เพอ่ื การจัด ประมง” แตม่ ีรายละเอียดเชงิ ลกึ กวา่ น้นั วางตน้ ไมใ้ นตำาแหน่งที่เหมาะสม สามารถ มากมาย เรยี นพนื้ ฐานจนถึงเชิงลกึ ต้งั แต่ สร้างบรรยากาศได้สอดคล้องกับธรรมชาติ การเพาะเล้ยี งสัตวน์ า้ำ การอนบุ าลสัตว์ การ สภาพแวดล้อม “การออกไปเรยี นรู้หน้า ปรับปรงุ สายพันธ์สุ ตั วน์ ้าำ โดยเฉพาะพนั ธ์ุ งาน ลงมือทาำ งานจริง ๆ จะชว่ ยสรา้ ง ปลาทีห่ ายากและใกล้จะสญู พันธ์ุ และเตมิ เต็มความเปน็ นักภมู ิทัศนท์ ดี่ ไี ด”้ และเหน็ ว่าสาขาวิชาคณะ “คณะเทคโนโลยีการเกษตร” ผูเ้ รียนต้องมีความพยายาม เทคโนโลยีการเกษตรมคี วามหลากหลาย ผเู้ รยี นจะตอ้ งเลอื กเรยี นตาม ความทมุ่ เทและอดทน มหี ัวใจทพ่ี รอ้ มลุยงาน และตนนัน้ ไดไ้ ปฝึกงาน ความสนใจและความถนดั จึงจะสามารถเรียนอยา่ งมีความสุข และการ กว่า 2 เดือน ทศ่ี นู ย์การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้าจืดเขต 7 จ.ชลบุรี ได้เรยี น รว่ มกิจกรรมทง้ั ในและนอกมหาวทิ ยาลัย จะทำาใหเ้ รามโี ลกทศั นท์ ี่กวา้ ง รู้การเพาะพนั ธุ์ปลาชะโอน “การไปฝึกงาน จะชว่ ยเติมเตม็ และสรา้ ง ข้ึน มเี พื่อนและมีเครอื ขา่ ยมากข้ึนด้วย ประสบการณท์ ี่ดี ก่อนจะกา้ วสโู่ ลกการทาำ งาน ได้เห็นทิศทางของ สาขาวิชาชีพ ทาำ ให้สามารถเตรียมพร้อมและกระตุ้นให้เราพัฒนา ตนเองได้มากกว่าแค่ในหอ้ งเรียน” และมองว่าจุดแข็งสาขาวิชา ประมงของ มทร.ธัญบุรี อยทู่ กี่ ารส่งเสริมและกระตุน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเป็น บณั ฑติ นักปฏบิ ัตมิ อื อาชพี เรยี นของจริง ปฏิบตั จิ ริง รวมถงึ ชีวิตสงั คม การเรียนของท่แี ห่งนี้มีความเปน็ มติ ร ชว่ ยเหลอื และให้ความร่วมมือ ทีด่ รี ะหวา่ งกัน ทัง้ แตก่ จิ กรรมในสาขา เร่อื ยไปจนถงึ กจิ กรรมระดับ มหาวิทยาลยั และระดับประเทศ นเี่ ป็นตัวอยา่ งรุน่ พี่ ทส่ี ะทอ้ นคุณค่าความเป็นเกษตร ปดิ ท้ายท่ี “มิลค”์ อนามกิ า ทองเหลา ในยคุ 4.0 ทตี่ ั้งใจและฝากไปยงั นอ้ งมัธยมศึกษาในการเลือก สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ เรียนคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร... ที่สาำ คญั อยา่ มองข้ามอาชีพ อาหาร ชน้ั ปี 3 ร่วมแจมไอเดยี วา่ เม่อื ได้ เกษตรฯ ทีข่ บั เคล่อื นและหลอ่ เลยี้ งผูค้ นในโลกใบนี้ มาเรยี นท่แี หง่ น้ี พบว่าเป็นสงั คมการเรียน ท่มี คี วามใกล้ชดิ และได้รับการฟมู ฟักจาก อาจารย์อย่างอบอนุ่ ทสี่ ำาคญั มีเครอื ข่าย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร มากมาย ท่ีพรอ้ มจะสง่ นกั ศกึ ษาไปเรียนรู้ และฝกึ งาน และสว่ นตัวชอบเรยี นวิทยาศาสตร์ สนใจเรอ่ื งอาหาร จงึ เลือกเรียนสาขาน้ี ตงั้ เป้าหมายจะเปน็ ผตู้ รวจสอบคณุ ภาพอาหารใน โรงงานอุตสาหกรรม และวิจัยอาหาร “ทุกสาขาวชิ าชีพมคี ุณคา่ และ มีความนา่ สนใจเฉพาะตัว” สำาหรับคนที่จะเขา้ มาเรยี นในสาขา Food Sci. ตอ้ งมพี ื้นฐานสายวิทยค์ ณติ ทแี่ น่นพอสมควร ร้จู ักอัพเดตความ รูด้ ว้ ยตนเองสม่าำ เสมอ จะทาำ ให้สามารถเรยี นไดอ้ ยา่ งราบรน่ื ภายใต้ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
24 Special บุคคล....ชลธชิ า หนุม่ ศลิ ปกรรม สาวศิลปศาสตร “เปน เกยี รตแิ ละภมู ิใจ” อัญเชญิ ตรามหาวิทยาลยั มทร.ธญั บรุ ี ป 62 อีกหน่ึงกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหนักศึกษาเห็นคุณคาของ สถาบนั อันทรงคุณคา หนาท่ีแหง ความภาคภูมใิ จ เกียรตยิ ศเหนือ สิ่งใดแหงราชมงคล “โครงการคน หาผอู ญั เชญิ ตรามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ”ี คดั เลอื กนกั ศกึ ษาทม่ี คี ณุ สมบตั เิ หมาะสม ในการปฏิบัตหิ นา ท่ีเปนผูอัญเชิญตรามหาวิทยาลัย โดยโครงการดัง กลาวไดทําการคัดเลือกและจัดการประกวดเสร็จส้ินเปนที่เรียบรอย โดยผูไดรับคัดเลือกใหเปนผูอัญเชิญตราฝายหญิง ไดแก “พิม” นางสาวธัญชนก สวุ รรณะ นักศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 3 สาขาการทอ งเทีย่ ว คณะศลิ ปศาสตร และผอู ญั เชญิ ตรามหาวทิ ยาลยั ฝายชาย ไดแก “ไทค” นายธนพล แสงทอง นกั ศึกษาช้นั ปท่ี 4 สาขานาฏศลิ ปไ ทย ศึกษา นกั ศกึ ษาคณะศิลปกรรมศาสตร จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
25 พมิ เล่าว่า ในการประกวดคร้ังนเ้ี ปน็ ครัง้ ที่ 2 โดยเมื่อปที แ่ี ลว้ ตนเองได้มา ประกวด และไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ จากประสบการณ์เมอ่ื ปที แี่ ลว้ จึงกลบั ไปพฒั นา ตนเองและลงประกวดอีกคร้ัง เพราะวา่ ผูอ้ ัญเชิญตรามหาวิทยาลยั เปน็ รางวัลที่เป็น เกียรติตอ่ ตนเองและครอบครัว ซึ่งผเู้ ข้าร่วมประกวดตอ้ งมีคุณสมบตั ทิ ่ีเหมาะสม ท้ัง ในเรอื่ งของการเรยี น โดยผลการเรยี นสะสมไม่ตาำ่ กว่า 3.00 ปราศจากรายวิชาทต่ี ดิ F และ W รูปร่างหนา้ ตาบคุ ลิกทา่ ทางมีความสงา่ เป็นเกียรติและภมู ใิ จท่ไี ด้รับคดั เลือก ใหท้ ำาหน้าท่ีอญั เชิญตรามหาวิทยาลัย จะทาำ หนา้ ท่ีให้ดที ีส่ ุดเหมาะสมกบั ท่ีกรรมการได้ คัดเลอื ก “บคุ ลิกภาพ” เป็นเรอ่ื งท่ีสำาคญั ในการเรียนสายงานบรกิ าร นอกจากหนา้ ตา ท่ีเป็นสิง่ แรกท่ีทุกคนไดเ้ ห็น บุคลกิ ท่าทางในการวางตัวให้ถูกกาลเทศะยังเป็นเสนห่ แ์ ก่ ตวั เราด้วย ซึ่งตอนนเ้ี ปน็ นกั ศกึ ษาการวางตวั ตอ้ งให้อยู่ในกฎระเบียบของมหาวิทยาลยั ตลอดจนถงึ การใช้ชีวิตในมหาวทิ ยาลยั ต้องมีสติ ฝากถงึ ในเรอื่ งของการเลอื กคบเพอ่ื น เปน็ สิง่ สาำ คัญ ตอ้ งคบเพ่ือนท่ีดี หลังจากสาำ เรจ็ การศกึ ษาอยากเปน็ แอรโ์ ฮสเตส ให้ บรกิ ารบนเครอ่ื งบนิ มองว่างานบรกิ ารเปน็ งานทตี่ นเองชอบ ด้วยตอ้ งอาศัยทักษะ ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะในเรอ่ื งของบคุ ลิกภาพ การพูด สิง่ เหล่าน้ีเป็นเสนห่ ท์ ท่ี าำ ใหต้ นเองอยาก ทำางานสายวชิ าชีพนี้ ไทค์ เลา่ วา่ อยากเขา้ ประกวดผู้อัญเชิญตราตง้ั แต่เรยี นอยปู่ ี 2 แตด่ ว้ ยเกรด เฉลีย่ ไมถ่ งึ 3.00 ตนเองจึงพยายามตงั้ ใจเรียนจนเกรดเฉล่ยี ถึงเกณฑจ์ ึงสามารถลง ประกวดไดใ้ นปีนี้ ผอู้ ญั เชิญตรามหาวิทยาลยั เป็นท่สี ดุ ในการเข้ามาเรียนทน่ี ่ี เป็นเกยี รติ และภมู ิใจตอ่ ตนเอง ปัจจบุ ันเรียน เอกโขนยักษ์ สาขานาฏศลิ ป์ไทยศึกษา อนาคต อยากเป็นคุณครูสอนนักเรียน ในเร่อื งการเรยี นตนเองชอบทำากจิ กรรม ปี 2559 ได้รบั ตำาแหนง่ รองชนะเลิศเดือนคณะศิลปกรรมศาสตร์ ทำางานช่วยสโมสรนกั ศกึ ษาคณะ และปี 2561 เข้ามาทำางานฝา่ ยศิลปวัฒนธรรม องค์การนักศกึ ษา นอกจากนยี้ ังทำางาน พเิ ศษ หารายได้เพ่ือแบง่ เบาภาระทางบา้ น คอื เป็นตัวแทนขายผลิตภัณฑ์ดูแลผวิ ทางออนไลน์ การทำาเวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ดกี วา่ ปล่อยเวลาท้ิงไป ขอบคณุ คณะ กรรมการท่ีไดค้ ัดเลือกใหท้ าำ หน้าทอ่ี ัญเชญิ ตรามหาวทิ ยาลยั จะเปน็ แบบอยา่ งใหก้ บั เพอื่ น ๆ และน้อง ๆ ในมหาวทิ ยาลัย แบบอยา่ งในเรอ่ื งของการแต่งกาย แตง่ กายใหถ้ กู ระเบียบ ถ้าทาำ จนเปน็ นิสัยสง่ิ เหลา่ นีจ้ ะตดิ ตวั ออกไป เป็นการฝึกตนเอง ซ่ึงตนเองตอ้ ง สำาเรจ็ การศึกษาออกไปสอนนักเรียน จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
26 สก๊ปู นวตั กรรม....ชลธิชา มทร.ธัญบุรี ท้าทาย GOOGLE ชูแนวคิดบา้ นปราชญ์เปร่ือง ดว้ ยปญญาประดษิ ฐ์ (AI) \"แนวคิดบานอัจฉริยะแบบใหม (New Smart Home Concept) หรอื บา นปราชญเปร่อื ง ดวยปญญาประดิษฐ ท่ีเจตนาใชคําวา ปราชญ เพราะการควบคุมสั่งการทางไฟฟาเกิดจากองค ความรูในสมองของบาน\" รองศาสตราจารย ดร.กฤษณชนม ภูมิกิตติพิชญ นักวิจัยเจาของ ผลงานบานปราชญเปรื่อง ผูอํานวยการบัณฑิต ศึกษา และอาจารยประจําสาขาวิชาวิศวกรรม ไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร เลาใหฟงเกี่ยวกับ งานวิจัยช้ินลาสุด ‘บานปราชญเปร่ืองดวยปญญา ประดิษฐ' โดยไดรับทุนวิจัยจากโครงการขอรับการ สง เสรมิ และสนบั สนนุ จากเงนิ กองทนุ วจิ ยั และพฒั นา กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคม เพื่อประโยชนส าธารณะ ในหวั ขอวจิ ยั เรอ่ื ง “บา นไรเ บรกเกอร 4.0 ปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมการ ใชไฟฟา และการปองกันภยั ” รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติ พิชญ์ เล่าวา่ ‘บ้านปราชญเ์ ปรอ่ื งด้วยปญญาประดษิ ฐ์' คือการสรา้ งตวั บ้านใหเ้ ป็นอัจฉริยะ มกี ระบวนการคดิ และประมวลผลคำาส่ังภายในตู้รวมไฟฟ้าก่อนการส่ง คำาส่งั ไปดำาเนินการดว้ ยปัญญาประดิษฐ์ เป็นการนำา ตู้รวมไฟฟ้าสมองกลอัจฉริยะท่ีเคยพัฒนามาระดับหน่ึง มาต่อยอดทาำ เป็นสมองหรือ CPU หลักของบา้ น ซึ่งจะ ทำาใหเ้ กดิ 1. ความปลอดภยั 2. ความสะดวกสบาย และ 3. การควบคมุ สง่ั การได้ดว้ ยไอคอนสญั ลักษณ์ โดยบ้าน ปราชญ์เปรื่องด้วยปญั ญาประดษิ ฐ์ คอื การทำาใหค้ วาม เป็นอจั ฉริยะของบา้ นเกดิ ขึ้นในมมุ มองของไฟฟา้ กำาลัง คือ จับที่ตัวคลื่นไฟฟ้าโดยตรง การ ควบคุม ป้องกนั และจัดการไฟฟา้ น้นั กระทาำ ร่วมกบั การอา่ นข้อมูลที่ปรากฎในคลื่นไฟฟา้ ทีจ่ า่ ยไปยังเคร่อื งใช้ไฟฟ้าของผู้ใชไ้ ฟฟา้ ท่ีจะทาำ ให้รขู้ ้อมลู ทุกอย่างดา้ นไฟฟ้า และการมี อยใู่ นวงจรไฟฟ้าของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ นั้น ทาำ ให้การจัดการเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ และการใชไ้ ฟฟา้ เป็นไปอยา่ งปลอดภยั เหนอื กวา่ บา้ นอจั ฉรยิ ะ และสิ่งน้ีคือการทำาให้สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ และ สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาบรรจบกัน (Electrical and ICT Convergence) ซึง่ เปน็ การ เปล่ียนแปลงแบบเดยี วกับโทรศัพท์บา้ นที่มาสโู่ ทรศัพทม์ อื ถือ การเปลย่ี นบ้านให้ปราชญเ์ ปรื่อง และคิดไดเ้ องที่จะยตุ กิ ารสงั่ การท่ีไมป่ ลอดภยั แจง้ เตือน ดาำ เนินการทาำ งานตามคาำ สั่งที่ปลอดภัย และแสดงผลลพั ธแ์ บบทเ่ี รียกวา่ บา้ นปราชญเ์ ปร่ือง เปน็ การจดั การไฟฟา้ ภายในบา้ นดว้ ยสมอง กลฝังในบ้านที่ปลอดภัยในขณะที่สร้างความสะดวกสบายและไม่สูญเสียการควบคุมแบบเดียว กบั ระบบบ้านอัจฉริยะ นน่ั คอื เราทำาทกุ อย่างท่ีบา้ นอัจฉรยิ ะทาำ ได้ แต่บา้ นอัจฉรยิ ะทาำ ทกุ อย่างท่ี เราทำาไม่ได้ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
27 ส่วน Google และกลุ่มผ้นู าำ เทคโนโลยีด้านบา้ นอจั ฉริยะ หลายรายทำาในส่วนของการจดั การไฟฟ้า คอื การพัฒนาเครอ่ื งใช้ ไฟฟ้าอจั ฉรยิ ะท่ีควบคุมส่งั การผา่ นศนู ย์อจั ฉริยะ หรอื HUB และ สั่งการปิดเปดิ ทางอ้อมผ่านสายข้อมูลหรือ Data Channel เพือ่ ไปสัง่ เปดิ ปิดสวิทช์ไฟฟา้ แตล่ ะตวั โดยส่วนใหญ่ไมไ่ ดไ้ ปแตะใน การตรวจสอบดูลักษณะรูปแบบการเปล่ียนแปลงของคล่ืนไฟฟ้า โดยตรง เป็นเพยี งการนำาข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟา้ ทีอ่ ่านผา่ น มิเตอร์มาใช้ประโยชน์ในเรื่องของการประหยัดไฟฟ้าและการ ควบคมุ การปิดเปดิ สวิตช์ ซ่งึ หากสายข้อมลู ผิดปกตสิ ง่ คาำ สัง่ ผดิ ก็ จะเป็นอนั ตรายตอ่ ผู้ใช้ไฟฟ้า โดยระบบอจั ฉรยิ ะไม่ร้ถู ึงอันตราย นัน้ หากพิจารณาการพัฒนาด้านดจิ ิทลั ของผูน้ าำ อย่าง Google กบั บ้านอจั ฉรยิ ะในแง่ของความปลอดภัยทางไฟฟา้ นั้น ยงั ขาดการ วเิ คราะหเ์ ชงิ Data Analytic ของคลื่นไฟฟ้า อันเป็นหวั ใจสาำ คัญ ของการใชไ้ ฟฟา้ การออกแบบระบบปฏิบัติการบนตู้รวมไฟฟ้าท่ีเป็น สมองของบ้าน ทาำ ใหส้ ามารถเพิ่มเติมเครื่องใชไ้ ฟฟ้าได้โดยไม่ กระทบต่อการใช้งาน Application บนเครื่องมอื สื่อสารของ ผ้ใู ช้ไฟฟ้า แต่อย่างใด เนือ่ งจาก Application จะส่งั การผา่ น Management Layer และอปุ กรณท์ ่ีต่อเพ่มิ เขา้ มาในระบบไฟฟา้ จะเชื่อมต่อถงึ กนั ในชั้น Device Connectivity Layer โดยมี Device Functionality Layer ทีจ่ ะส่งการทำางานของเครื่องใช้ ไฟฟ้าในระบบในรปู แบบของ Roles ให้กับ Application โดยไม่ ต้องกงั วลเรอ่ื ง Protocol หรือตา่ งระบบเนือ่ งจากตราสนิ ค้า เช่น Role ทม่ี ชี อ่ื วา่ สวติ ช์ไฟ ไม่วา่ จะเปน็ สวิตชแ์ บบไหนจากยีห่ อ้ สินค้า ชนิดใด ก็จะมีการทำางานอยู่ 2 อยา่ งคือ ปดิ เปดิ เมือ่ มีการสัง่ การ จาก Application เปดิ ไฟ Role ก็จะส่งคำาสัง่ ไปท่ี Port ที่ Role สวิตช์ไฟนน้ั กำาหนดไว้ เป็นตน้ แม้ Google Home Hub จะทำาได้คลา้ ยๆ กัน แตก่ าร สง่ ข้อมูลไปทกุ คาำ ส่งั ตอ้ งส่งผา่ น Data Channel โดยไม่สนใจ สภาพของระบบไฟฟา้ ว่ามีความเสีย่ งหรอื ไม่ ในขณะทตี่ รู้ วมไฟฟ้า ของบ้านปราชญ์เปรื่องจะสั่งการโดยตรงไปยังอุปกรณ์ที่ไม่ว่าจะ เป็นอปุ กรณ์อัจฉริยะหรอื อุปกรณร์ นุ่ เก่าได้ หรอื จะส่งผา่ น Data Channel ก็ได้ และจะดำาเนนิ การตามคาำ ส่งั ก็ต่อเมือ่ สภาพของ ระบบไฟฟา้ ปลอดภัย และหากมอี ะไรไม่ปกติ กจ็ ะทำาการสัง่ ตดั การจา่ ยไฟฟา้ ทันที ในแงข่ องผใู้ ช้ไฟฟ้าทส่ี ่งั การผ่าน Application ก็จะมองว่าบ้านปราชญ์เปรื่องกับบ้านอัจฉริยะเหมือนกันในแง่ ของผลลพั ธ์การส่งั การ แต่สาำ หรบั การประมวลผลและการจัดการ ภายในระบบนน้ั ต่างกัน เพราะในระบบบา้ นปราชญเ์ ปร่ือง บา้ นช่วยเราคดิ กอ่ นตัดสินใจ “ในฐานะเราคอื หนงึ่ ในมหาวิทยาลยั ท่ีเน้นด้านการ ทำาการวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพือ่ ตอบโจทย์ภาคอตุ สาหกรรม และการสรา้ งความร่วมมือกับภาคเอกชนเพ่ือใหเ้ กดิ การนำาไปใช้ เชงิ พาณชิ ย์ ในวันนีเ้ ราจึงไดร้ ว่ มมือทำางานกับทีมวจิ ยั สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาให้คาำ ปรึกษากบั ภาคเอกชนในการ ผลักดันแนวคดิ บา้ นปราชญเ์ ปร่อื งสู่พาณิชย์นี้ เพ่อื สรา้ งความแตกตา่ งจากผู้พัฒนาบา้ นอัจฉรยิ ะท่วั ไป” รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณช์ นม์ ภมู กิ ติ ติพชิ ญ์ กล่าวทิ้งท้าย จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
28 สกปู๊ นวัตกรรม....ชลธชิ า นศ. มทร.ธัญบรุ ี ออกแบบนวตั กรรม ช่วยเกษตรกรผูเ้ ล้ียงววั นม จ.ราชบรุ ี นักศกึ ษาชั้นปท่ี 4 หลกั สูตรอุตสาหกรรมการผลติ คณะครุศาสตร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ออกแบบและ พัฒนาเครือ่ งยอ ยหญา เนเปย ร และตูอ บมูลววั ใหเกษตร ฟารม เกษตรกร ผเู ล้ียงววั นม ตําบลดอนกระเบ้ือง อําเภอบานโปง จังหวดั ราชบุรี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ชยั รตั น์ หงษท์ อง อาจารย์ประจำาสาขาอตุ สาหกรรมการผลติ เคร่ืองย่อยหญา้ เนเปยี ร์ และอาจารย์ท่ีปรกึ ษาผลงาน เล่าวา่ การออกแบบและพฒั นานวตั กรรมทงั้ สองชิ้น เป็นผลงาน ของนักศกึ ษาช้นั ปที ี่ 4 หลกั สตู รอุตสาหกรรมการผลิต โดย เคร่ืองย่อยหญ้าเนเปียร์ ขนาด เครื่องยนต์ 9.5 แรงมา้ โดยใช้เชือ้ เพลิงกา๊ ซชวี ภาพ เปน็ ผลงานของ นางสาววรี ยา กนั จันทึก นายเอกชยั ไกรแสงราธ และนายกรวชิ ญ์ สังข์ศลิ ป การสร้างเครอื่ งยอ่ ยหญ้าเนเปียร์โดยใช้ ก๊าซชวี ภาพ เปน็ การชว่ ยผ่อนแรงและลดระยะเวลาในการย่อยหญ้าเนเปยี รใ์ หเ้ กษตรกร สว่ น ตอู้ บมูลวัวโดยใช้กา๊ ซปิโตรเลย่ี มเหลว ผลงานของนายสหรฐั เหมสลุ กั ษณ์ นายมนูญ มงคล และนายสันติสุข สินมาก ตู้อบมลู วัวโดยใชแ้ ก๊ส LPG ช่วยเกษตรกรลดเวลาในการอบมูล ววั ในการทำาปุย หลังจากนำาไปใช้จรงิ เปน็ ทเ่ี กษตรกรพอใจเป็นอยา่ งมาก ทางสาขาจงึ ไดม้ อบ สิ่งประดิษฐ์ให้กบั ทางฟาร์มเกษตรกรผเู้ ล้ยี งววั นม ตำาบลดอนกระเบื้อง อำาเภอบา้ นโปง่ จงั หวดั ราชบุรี เพอื่ นำาไปใชต้ ่อไป เคร่อื งยอ่ ยหญา้ เนเปียร์ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
นางสาววรี ยา กันจันทึก ตัวแทนผอู้ อกแบบและพัฒนา เลา่ วา่ เครอ่ื งยอ่ ยหญา้ เนเปียร์ 29 ขนาดเครอ่ื งยนต์ 9.5 แรงมา้ โดยใช้เช้อื เพลงิ ก๊าซชวี ภาพ สว่ นประกอบทีส่ าำ คัญ คือ ตน้ กำาลงั ใช้เครื่องยนต์เบนซนิ ขนาด 9 แรงม้า ความเร็วรอบที่ใช้ 2,500 รอบตอ่ นาที ทีป่ ลายเพลาตดิ ตง้ั ตู้อบมลู วัวตอู้ บมลู ววั มู่เลข่ นาด 3 นิว้ เพอื่ ทำาการสง่ ถ่ายกาำ ลังดว้ ยสายพานขนาดรอ่ งเบอร์ A - 59 นว้ิ จาำ นวน 2 เสน้ ไปทีม่ เู่ ลข่ นาด 7.5 นิว้ ซึ่งเป็นของชดุ ใบมดี ใบมีดทั้งหมด 6 ใบ ความเรว็ รอบที่ใชง้ าน 1,000 รอบต่อนาที ชดุ ป้อนตน้ หญา้ เนเปยี ร์มตี วั ป้อนขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 60 มม. มี 8 ร่อง ยาว 295 มม. จำานวน 2 ตัวขบกันเพอ่ื ปอ้ นหญา้ เนเปียร์เข้าสใู่ บมดี และโครงของเครือ่ งยอ่ ยหญา้ เนเปยี ร์ มีขนาด 580 x 480 x 640 มม. โดยเครื่องย่อยหญา้ เนเปียร์โดยใช้กา๊ ซชวี ภาพสามารถ ใชเ้ ชือ้ เพลงิ จากกา๊ ซปิโตรเลียมเหลวและน้ำามนั เบนซนิ ได้ จากการทดสอบเคร่อื งย่อยหญา้ โดย ใช้กา๊ ซชีวภาพสามารถรับปรมิ าณหญา้ เนเปียรไ์ ดค้ รั้งละ 3 กโิ ลกรมั ทำาการทดสอบ 3 ชดุ การ ทดสอบ 1 ชดุ จะยอ่ ยหญา้ 5 ครง้ั (คร้ังละ 3 กโิ ลกรมั ) 1 ผลการทดสอบไดเ้ วลาเฉลยี่ 44.81 วนิ าที ตอ่ การยอ่ ยหญ้าเนเปยี ร์ 15 กิโลกรัม คิดเป็นเงิน คอื 0.11 บาท โดยเครื่องยอ่ ยหญา้ เนเปียร์โดยใช้ก๊าซชีวภาพจะเหมาะสมกับเกษตรกรท่ีมีบ่อก๊าซชีวภาพ เป็นการประหยัด เชื้อเพลงิ และลดต้นทุนไดม้ ากขนึ้ ตวั แทนการศกึ ษาต้อู บแห้งมูลวัวโดยใชก้ ๊าซปิโตรเลี่ยมเหลว นายสหรัฐ เหมสุลกั ษณ์ เล่าวา่ ในการศึกษาและขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ จึงไดอ้ อกแบบและพัฒนาตอู้ บแหง้ มลู ววั โดยใชแ้ ก๊ส LPG ขนาดความกว้าง 80 เซนตเิ มตร ยาว 83 เซนตเิ มตร และความสงู 150 เซนตเิ มตร ดา้ นบนของ ตูอ้ บมชี ุดระบายความร้อนโดยใช้มอเตอร์ Mitsubishi ขนาด ¼ แรงม้า เปน็ ตน้ กาำ ลังขบั ใบพดั ขนาด เสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 20 เซนตเิ มตร และความเร็วลม 14 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง สว่ นด้านล่าง เปน็ แหล่งความรอ้ นจากหัวเตาแก๊สยี่หอ้ KB 8 ขั้นตอนการทดลองตอู้ บมลู ววั จะใส่มลู ววั เตม็ ถาดแตล่ ะถาดสามารถใส่ได้ปริมาณ 3 กิโลกรัมต่อถาด โดยวางเรียงทัง้ หมด 6 ช้ัน รวมจาำ นวน นำ้าหนกั มลู วัวทัง้ หมด 18 กโิ ลกรมั ทาำ การทดลองทงั้ หมดท่ี 3 อุณหภูมิ คอื 140, 130 และ 150 องศาเซลเซียส ซึ่งทดสอบการอบจะทาำ ทัง้ หมด 5 คร้ัง ใช้เวลาในการอบมลู วัวเฉลย่ี อยูท่ ี่ 4 ชว่ั โมง ทุก ๆ 30 นาที ทาำ การสลับถาด ซ่งึ มีหลกั การสลบั ถาดดงั นี้ คอื นำาถาดที่ 1 ออก และนำาถาดท่ี เหลือเลือ่ นขน้ึ ไปด้านบนแล้วนาำ ถาดที่ 1 เอากลับมาใสไ่ วแ้ ทนถาดท่ี 6 หลงั จากการอบน้าำ หนกั ของมูลวัวทง้ั หมดเฉล่ียอยูท่ ี่ 4.88 กิโลกรัม คา่ ใชจ้ ่ายในการอบเฉลีย่ ตอ่ ครงั้ การทดลองคอื 7.82 บาท ผลการทดสอบการหาประสทิ ธภิ าพของตู้อบมูลววั พบวา่ อุณหภูมิท่ี 140 องศาเซลเซียส เป็นอณุ หภมู ทิ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพทีด่ ีท่ีสุด โดยคณะผู้วิจัยได้เดินทางไปมอบ เคร่ืองย่อยหญ้าเนเปียร์ ขนาดเครื่องยนต์ 9.5 แรงม้า โดยใช้เช้ือเพลิงก๊าซชีวภาพ และตู้อบมูลวัวโดยใช้ก๊าซปิโตรเล่ียมเหลว ให้ นายบุญเลิศ ชัยมัง ตัวแทนรับมอบ ณ ฟาร์มเกษตรกรผู้เล้ียงวัวนม ตำาบลดอน กระเบื้อง อำาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
30 ประกายความคดิ ...ชลธิชา เครอื่ งแขวนฟางข้าว ศิลปะประดิษฐ์ สู่นวัตกรรมชุมชน อีกหน่ึงงานผลงาน ศิลปะประดิษฐ์ “เครื่องแขวนไทย จากฟางข้าว” ไอเดียของนักศึกษาและอาจารย์สาขาเทคโนโลยี งานประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การสร้างสรรค์ ศิลปะประดิษฐ์ สู่นวัตกรรมชุมชน อาจารยว์ จิ ติ ร สนหอม อาจารยป์ ระจาำ หลกั สตู ร ศลิ ปะประดษิ ฐใ์ นงานคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ เลา่ วา่ เครอื่ งแขวนไทยเปน็ ศลิ ปะเชงิ ชา่ งดอกไมข้ องคนไทยมาชา้ นาน มกี ารนาำ ดอกไมข้ อง ไทยท่ีมีกลิ่นหอมประดิษฐ์เป็นรูปแบบตามประเภท ของเครอื่ งแขวนเชน่ วมิ าน ระยา้ โคม เพอ่ื ใชป้ ระดบั ตกแตง่ ชอ่ งประตหู นา้ ตา่ ง อาคาร บา้ นเรอื น เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลนิ เมอ่ื ไดม้ องเหน็ และไดร้ บั กลน่ิ หอม จากดอกไมเ้ ปน็ การบาำ บดั ใหร้ สู้ กึ ผอ่ นคลาย จากการ เรยี นการสอนในรายวชิ าเครอื่ งแขวนไทย ของหลกั สตู รศลิ ปะประดษิ ฐใ์ นงานคหกรรมศาสตร์ สาขา วชิ าคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ ไดน้ าำ เอาผลงาน กระดาษฟางขา้ ว ของกลมุ่ ผู้ สงู อายบุ า้ นกระแชง อาำ เภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี จากการบรกิ ารวชิ าการของคณะ ใหก้ บั ชมุ ชน มาบรู ณาการเขา้ กบั รายวชิ าเครอื่ งแขวนไทย เปน็ การนาำ นวตั กรรมทางความคดิ ในการผสมผสานงาน วสั ดงุ านประดษิ ฐท์ มี่ กี ระดาษฟางขา้ วเปน็ วสั ดหุ ลกั นาำ แนวความคดิ จากสงิ่ ทเี่ หน็ ในธรรมชาติ สถานทตี่ า่ ง ๆ ลวดลาย ศลิ ปะและวฒั นธรรม ผา่ นการเรยี น การสอนในวชิ าเครอ่ื งแขวนไทย ไดเ้ กดิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาองคค์ วามรใู้ หส้ อดคลอ้ ง กบั ยคุ สมยั ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงไปกบั สอื่ ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยี ผสมผสานกบั เอกลกั ษณท์ างดา้ น ศลิ ปะประดษิ ฐภ์ มู ปิ ญั ญาของไทยผนวกกบั แนวคดิ สมยั ใหมท่ ส่ี รา้ งสรรคผ์ ลงานทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณใ์ น รปู แบบรว่ มสมยั สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาล Thailand 4.0 บรู ณาการการเรยี นการสอนรว่ ม กบั งานดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมโดยมกี ารนาำ หลาย ๆ วชิ าความรผู้ สมผสานเปน็ องคค์ วามรดู้ า้ นวชิ าชพี คหกรรมศาสตร์ ศลิ ปะประดษิ ฐแ์ สดงเปน็ ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาใหเ้ กดิ องคค์ วามรเู้ ผยแพรใ่ หก้ บั นกั ศกึ ษา ศษิ ยเ์ กา่ และบคุ คลทวั่ ไปไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรตู้ อ่ ไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
สภาคณาจารย์และข้าราชการ...ดร.ศรชยั 31 อาจารยเ์ รืองศกั ดิ์ ภธู รธราช ประธานสภา คณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ มทร.ธัญบรุ ี และคณะฯ ให้การ ตอ้ นรับอาจารย์ ดร.ฉลวย เสาวคนธ์ และอาจารย์ชัชพล เกษ วริ ยิ ะกิจ ท่ปี รึกษาสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ และอาจารย์ ดร.ธนวัฒน์ จอมประเสริฐ ประธานสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ และคณะกรรมการ สภาคณาจารย์และขา้ ราชการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ศึกษาดูงานสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี และรว่ มแลกเปล่ยี นในหวั ข้อ “ทศิ ทางการทำางานของสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ มทร. ธัญบรุ ี กับการเตรยี มความพร้อมเขา้ สมู่ หาวทิ ยาลยั ในกำากับ” ณ ห้องประชมุ มงั คลอุบล ชั้น 1 อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 48 พระชันษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี สภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี จดั โครงการประชมุ สัมมนาคณาจารยแ์ ละ ข้าราชการมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี (ปค.มทร.) ณ โรงแรมเจริญธานี จงั หวัดขอนแก่น ภายในโครงการ ประกอบ ด้วยกิจกรรม การประชุมประธานสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ มทร. 9 แห่ง การบรรยาย “จากสภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ สู่ การเป็นสภาอาจารย์และพนกั งาน” โดยประธานสภาคณาจารย์ มทร.ธญั บรุ ี กจิ กรรมอภปิ รายหวั ขอ้ “ทิศทางการทำางานของสภา คณาจารย์กับมหาวทิ ยาลัยในกำากบั ” โดยอาจารยว์ ิศษิ ฏ์ บุญสชุ าติ สภาคณาจารย์และข้าราชการกิจกรรมแบง่ กลมุ่ ระดมความคิดเห็น เรอ่ื งการมสี ว่ นรว่ มในการเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในกาำ กบั และการสรปุ ผล การระดมความคิดเหน็ และกิจกรรมการศึกษาดูงานมหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน (วทิ ยาเขตขอนแก่น) จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
32 สมั ภาษณ์ศิษยเ์ ก่า....กองบรรณาธิการ อาจารยว ัชระ ดาํ จุติ อาจารยประจาํ หลักสตู รสุขภาพและความงาม วทิ ยาลยั การแพทยแผนไทย “หนา ท่ีในการสอนและผลติ เดก็ ทํากิจกรรม สรา งภูมิคมุ กนั ใหม หาวิทยาลยั ถึง เปนเพียงคนเลก็ ๆ จะทํางานใหเต็มทีแ่ ละมสี วนรวมสนบั สนุนมหาวทิ ยาลัยไป ตลอด” สวัสดีค่ะอาจารย์ แนะนําตัวให้ สวัสดีครับ ผมอาจารย์วัชระ ดำาจุติ ทุกคนได้รู้จักกันหน่อยค่ะ สำาเร็จการศึกษาปริญญาตรี ปีการศึกษา 2554 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต ศิ ษ ย์ เ ก่ า จ า ก วิ ท ย า ลั ย ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (การแพทย์แผนไทยกับแพทย์ทางเลือก) วิทยาลัย วิทยาศาสตร์สาธารณสุข และ ปริญญาเอก สาขา วิชาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (การแพทย์แผนไทย กับแพทย์ทางเลือก) วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำาหลักสูตรสุขภาพและ ความงาม วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยครับ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
ทําไมอาจารย์ถึงเลือกเรียนสาขานี้ 33 และศึกษาต่อที่ มทร.ธัญบุรีคะ ด้วยคุณแม่ป่วยเป็นโรค SLE เวลากินยาแผนปัจจุบันแต่ละครั้งเยอะมาก ตอนนั้นจึงอยากทำาอะไรใหม่ๆ อยากเรียนแพทย์แผนไทย หลังจากเรียนจบ ม.6 โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง จึงได้หาข้อมูลและย่ืนคะแนน O-NET กับ A-NET ไปหามหาวิทยาลัย จากการหาข้อมูลทาง มทร.ธัญบุรี มีการเปิดสอนสาขาแพทย์ แผนไทยประยุกต์ เป็นสาขาที่น่าสนจึงได้ยื่นพอร์ตโฟลิโอมาทางมหาวิทยาลัย ตอน นั้นสอบติดหลายมหาวิทยาลัย แต่เลือกเรียนที่นี่ เพราะมองว่า การเรียนไม่ได้ขึ้นอยู่ กับชื่อเสียงของสถาบัน ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ชอบและอยากศึกษามากกว่า บวกกับคุณพ่อ สำาเร็จการศึกษาจากราชมงคลวิทยาเทเวศร์ จึงเข้ามาศึกษาที่ มทร.ธัญบุรี อยากให้อาจารย์เล่าถึงบรรยากาศ ผมยังจำาได้ทุกวันนี้ วันแรก และความประทบั ใจ ในช่วงท่ีเรียนท่นี ี่ ที่เข้ามาสัมภาษณ์ อาคารเรียนเป็น หน่อยค่ะ ไม้ บรรยากาศเหมือนโรงเรียนประถม ข้างอาคารมีต้นธูปฤาษี ลอยเข้ามาใน อาคาร ตอนนั้นตื่นเต้นมากครับ ซึ่ง ตอนที่ผมเข้ามาเรียน ผมเป็นนักศึกษารุ่น 10 ของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย เนื่องจาก หลักสูตรเคยสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นรุ่น 2 ของวิทยาลัยการ แพทย์แผนไทย ที่ได้ตั้งเป็นวิทยาลัย ในส่วนของความประทับใจความเป็นกันเองของ อาจารย์ที่สอน เมื่อมีปัญหาสามารถปรึกษาอาจารย์ได้ อยู่แล้วสบายใจ ไม่อึดอัดและ กดดัน เป็นบ้านหลังเล็ก ๆ มีความอบอุ่น คนในบ้านสนิทสนม ให้นักศึกษามีพื้นที่ มี โอกาสแสดงความสามารถ โดยผู้บริหารให้ความสำาคัญกับนักศึกษา ระหว่างที่เรียนอาจารย์ทํากิจกรรม แน่นอนครับ ผมชอบทำากิจกรรมมาตั้งแต่เรียนโรงเรียนวิเชียรมาตุ เข้ามา หรือเข้าประกวดโครงการอะไรบ้าง เรียนตอนปี 1 เป็นกรรมาธิการติดตามผลงานกิจกรรมนักศึกษา ตอนปี 2 ตำาแหน่งรอง ไหมคะ ประธานสภานักศึกษาคนที่ 1 หน้าท่ีดูแลกิจกรรมนักศึกษาในเรื่องของงบประมาณ ทำากิจกรรมและเรียนไปด้วย และเมื่อตอนปี 4 ได้รับรางวัลการนำาเสนอผลงาน “การ วิจัยเกี่ยวกับฤทธิ์ทางชีวภาพ ฤทธิ์ต้านเอนไซม์ไทโรซิเนส ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของ มะแขว่น” ท่ี ม.รังสิต ภูมิใจครับที่ได้เป็นส่วนหน่ึงของ มทร.ธัญบุรี ครับ ให้อาจารย์เล่าถึงเส้นทางในการ เม่ือตอนปี 4 ต้องออกฝึกงานในโรงพยาบาล โดยกระบวนการในการทำางาน เข้ามาเป็นอาจารย์สอนนักศึกษา เหมือนหมอคนหนึ่ง ตั้งแต่การตรวจคนไข้ โดยวันหน่ึงต้องตรวจคนไข้จำานวนมาก ตอน หนอ่ ยค่ะ น้ันรู้สึกว่าไม่ชอบงานลักษณะแบบนี้ โดยในใจลึก ๆ อยากเป็นคุณครู ซ่ึงตนเองรับรู้ และได้เห็นอาชีพครูมาต้ังแต่เด็ก ๆ เพราะว่า คุณพ่อและคุณแม่เป็นครู จึงตัดสินใจ ในฐานะของรุ่นพี่ อยากฝากอะไร เรียนต่อในระดับปริญญาโทและเอก หลังสำาเร็จการศึกษาจึงได้สอบเข้ามาเป็นอาจารย์ สําหรับน้องๆ บ้างคะ ที่ มทร.ธัญบุรี เม่ือปีการศึกษา 2561 ครับ มทร.ธัญบุรี ไม่เพียงแค่สร้างนักศึกษาให้มีความเช่ียวชาญวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี แต่ที่นี่สอนสร้างคนให้มีความอดทน ให้ลงมือปฏิบัติ ระหว่างที่เรียนอยาก ให้ทุกคนค้นหาตัวเองให้เจอ ชอบและรักอะไร แล้วนำาสิ่งท่ีได้รับจากการเรียนไปปรับใช้ ให้สอดคล้องกับสายงานที่เราต้องการ 2 สิ่งที่ผมคิดเสมอเม่ือรู้สึกท้อ คือ 1. ถ้าทำาไม่ สำาเร็จ คนท่ีเฝ้ารอความสำาเร็จท่ีบ้านจะเป็นอย่างไร ต้องทำาให้สำาเร็จ 2. ถ้าคนที่เรียน ก่อนเราทำาได้ เราต้องทำาได้ซิ 2 ข้อน้ีผมจะท่องตลอดระหว่างท่ีมีอุปสรรคครับ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
34 เมนอู รอ่ ย....กองบรรณาธกิ าร ขนมเทยี นแกว ใบปา นไสข า วไรซเ บอร�่ อีกเมนูท่สี ามารถทำาเองได้ท่ีบ้าน ขนมเทียนแกว้ ใบปา่ นไส้ ขา้ วไรซเ์ บอร่ี ผลงานของผู้ชว่ ยศาสตราจารยม์ ารนิ สาลี และนักศกึ ษา สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ วนั นี้ คอลมั นเ์ มนูอรอ่ ยมสี ูตรสว่ นผสมและเคล็ดลบั ความอร่อยมาบอก สว่ นผสมแป้ง ส่วนผสมไส้ เทา้ ยายมอ่ ม 675 กรมั ถ่วั เขยี วเลาะเปลอื ก 300 กรัม แปง้ ถวั่ เขยี ว 45 กรัม ฟกั เช่อื มแหง้ หนั่ สี่เหล่ยี ม 300 กรมั นำ้าตาลทราย 35 กรมั นำ้าตาลทราย 1 ถ้วยตวง นำา้ เปลา่ 1.7 ลติ ร เกลือ 2 ชอ้ นชา นา้ำ อญั ชนั 3 ช้อนโต๊ะ พรกิ ไทยป่น 1 ชอ้ นโตะ๊ ใบปา่ นอบแหง้ บดละเอยี ด 10 กรัม ข้าวไรซ์เบอร่ีหุงสกุ 100 กรัม กระเทยี มเจยี ว 1 ช้อนโตะ๊ นำา้ มนั พชื 1 ถ้วยตวง วิธที ำา 1. ล้างถั่วเขียวแชน่ ้าำ รอ้ น 1 ชัว่ โมง เทนำา้ ออก นำามานง่ึ รองดว้ ยผา้ ขาวบางใยรงั ถึง จนสุก นาำ มาบดละเอยี ด 2. ปนั ขา้ วไรซเ์ บอรก่ี ับนำา้ มนั ผสมลงในถว่ั ทีบ่ ดแล้ว ใสล่ งในกระทะ ใส่นา้ำ ตาลทราย เกลือ กวน จนนา้ำ ตาลละลาย 3. ใสฟ่ กั กระเทียมเจยี ว พริกไทย เกลือ ผดั ให้เขา้ กนั พกั จนเย็น นำามาปันเปน็ ก้อนขนาดเส้น ผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 2 เซนตเิ มตร การเตรียมใบตอง: ตัดใบตองเป็นวงกลมเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 7 นิ้ว วางสลับทางใบตอง ซอ้ น 2 ช้นั วิธที าำ ตวั แปง้ : ผสมสว่ นผสมแป้งท้ังหมดเขา้ ดว้ ยกนั ตง้ั ไฟกวนไฟกลาง กวนจนแป้งสกุ ใส ตักแป้ง 1 ช้อนโตะ๊ ใส่ใบตองที่วางซอ้ นกนั 2 ชนั้ ทาำ เป็นกรวยวางไส้ หมุ้ ไสใ้ หม้ ิดห่อเป็นรูปสามเหลีย่ มแบบขนม เทียน นึ่งไฟแรง 10 นาที *สว่ นผสมดงั กล่าวจะไดข้ นมเทียนแก้วใบป่านไส้ขา้ วไรซ์เบอร่ี 50 อัน จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
ขอบคุณยง่ิ จากใจ....กองบรรณาธกิ าร 35 จุลสารราชมงคลธัญบุรี | เมษายน - มิถุนายน 2562
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: