อาศิรวาท รัศมีเก็จกอ่ งแก้ว แววใส แสงรัตนะใดใด ไปแ่ มน้ พระบารมีเกริกเกียรตไิ กล ฉายท่ัว สกลเฮย ทวยราษฎรท์ ุกเขตแคว้น แซซ่ อ้ งสดดุ ี แสงแหง่ พระบารมีทเ่ี ฉิดฉายเกริกก�ำ จายโลกประจักษเ์ ป็นสักขีทูนเทดิ “พระองค์ภา” สง่าทวีชืน่ ชวี ผี องไทยลว้ นชวนช่นื ชม พระปรีชาโลกจารจดดา้ นกฎหมายสาธารณกุศลมากมายทรงสงั่ สมพระกรณียกิจเลอค่าน่านิยมธ หนุนเกื้อเพ่ือสงั คมสารพัน พระปฏภิ าณไหวพริบด้านภาษาทรงเจรจางานการทูตด้วยสร้างสรรค์สากลโลกปล้มื ฤดปี ีตคิ รันสมเป็นพระม่ิงขวัญปวงประชา ราชมงคลธญั บุรีร่วมจารกึนอ้ มสำ�นกึ พระการณุ ยอ์ ่นุ เกศากราบแทบบาททูลเกลา้ ฯถวายปรญิ ญาเฉลิมพระเกยี รติ “พระองคภ์ า” เนานิรันดร์ ควรมคิ วรแลว้ แตจ่ ะโปรด เกล้ากระหมอ่ มมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี(นายโสภณ สาทรสัมฤทธิ์ผล ประพนั ธ)์
คําประกาศพระเกยี รติคุณ พระเจาหลานเธอ พระองคเ จาพชั รกิตยิ าภา ในโอกาสทมี่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ขอประทานถวายปริญญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ กิตตมิ ศกั ดิ์ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเป็นพระราชธิดาพระองค์โตในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ซึ่งประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุทั้งทรงเป็นพระราชนัดดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนาถบพิตร เมื่อพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เจริญวัยขึ้น พระองค์ได้ทรงศึกษาไปตามลําดับจนสําเร็จปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Doctor of the Science of Law(J.S.D.)) จากมหาวิทยาลัยคอร์แนล ประเทศสหรัฐอเมริกา จากนั้นพระองค์จึงได้เสด็จนิวัติกลับประเทศไทย แล้วเริ่มเข้ารับราชการเป็นอัยการผู้ช่วย โดยทรงปฏิบัติพระกรณียกิจสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรเป็นอเนกประการ ตําแหน่งหน้าที่ในทางราชการนั้น พระองค์ทรงเริ่มรับราชการในตําแหน่งอัยการผู้ช่วยสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายอัยการ สํานักอัยการสูงสุด ตามคําสั่งสํานักอัยการสูงสุดที่๑๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ให้รบั โอนและบรรจุพระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพัชรกิติยาภา เพื่อบรรจุเป็นข้าราชการ ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งพระองค์ทรงปฏิบัติราชการด้วยพระวิริยะอุตสาหะจนเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการเรื่อยมา หลังจากพระองค์ทรงปฏบิ ัติหนา้ ท่ใี นฐานะอยั การ เพ่ือสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเดจ็พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนาถบพิตรอย่างเต็มความสามารถ จนเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยแล้ว พระองค์จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วย กล่าวคือ ทรงดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูตเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติไทยและเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติต่าง ๆ เช่น ตําแหน่งเอกอัครราชทูตประจําคณะกรรมาธิการแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย ตั้งแต่วันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕(ตามคําสั่งสํานักงานอัยการสูงสุดที่ให้โอนพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
ข้าราชการอัยการ ไปบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงการต่างประเทศและคณะรัฐมนตรีมีมติรับโอนข้าราชการอัยการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕) ล่วงมาจนถึงวันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ทรงดำ�รงตำ�แหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผมู้ ีอำ�นาจเตม็ ประจ�ำ สาธารณรฐั ออสเตรีย โดยมีพระราชสาสน์ ตราตง้ั ลงวนั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕หลังจากนั้นจึงมพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตงั้ ใหท้ รงด�ำ รงต�ำ แหน่งเอกอคั รราชทตู วิสามัญผู้มีอำ�นาจเต็มประจำ�สาธารณรัฐสโลวัก (โดยมีถิ่นพำ�นัก ณ กรุงเวียนนา) อีกตำ�แหน่งหนึ่ง โดยมีพระราชสาส์นตราตั้ง ลงวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖จึงมีพระบรมราชโองการ แต่งตั้งให้ทรงดำ�รงตำ�แหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำ�นาจเต็มประจำ�สาธารณรัฐสโลวีเนีย (โดยมีถิ่นพำ�นัก ณ กรุงเวียนนา) อีกตำ�แหน่งหนึ่ง โดยมีพระราชสาส์นตราตั้ง ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงดำ�รงตำ�แหน่งเอกอัครราชทูตเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ ดูแลทุกข์สุขของคนไทยที่มีถิ่นพำ�นักในประเทศที่พระองค์ทรงดำ�รงตำ�แหน่ง และเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างชาติไทยกับนานาอารยประเทศนั้น พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจอย่างมไิ ดย้ อ่ ทอ้ ตอ่ ความเหนอ่ื ยยาก จนเปน็ ทส่ี รรเสรญิ ยกยอ่ งจากนานาประเทศ และสมดงั พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนาถบพิตร ทุกประการ ในภายหลงั จึงมคี �ำ สง่ั ส�ำ นกั งานอัยการสงู สุด ที่ ๑๖๓๓/๒๕๕๗ ใหร้ ับโอนพระเจา้ หลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา กลับเข้ารับตำ�แหน่งข้าราชการอัยการ โดยให้ทรงดำ�รงตำ�แหน่งอัยการจังหวัดประจำ�สำ�นักงานอัยการสูงสุด สำ�นักงานอัยการจังหวัดหนองบัวลำ�ภู (ข้าราชการอัยการ ขั้น ๔) ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งพระองค์ได้ทรงทุ่มเทพระวิริยะอุตสาหะปฏิบัติราชการอย่างเต็มความสามารถเสมอมา จนได้รับพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ทรงดำ�รงตำ�แหน่งอัยการผู้เชี่ยวชาญ (ข้าราชการอัยการขั้น ๕) สำ�นักงานอัยการภาค ๒สำ�นักงานอัยการสูงสุด ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึงปัจจุบัน พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภามิได้ทรงบำ�เพ็ญพระกรณียกิจในหน้าที่ราชการแต่เพียงเท่านั้น หากทรงบำ�เพ็ญพระกรณียกิจด้านอื่น ๆ เพื่อความผาสุกของอาณาประชาราษฎร์ และมวลมนุษยชาติอีกด้วย เช่น พระกรณียกิจด้านสาธารณกุศล และพระกรณียกิจด้านกฎหมาย เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๘ เกดิ อุทกภยั ครัง้ ใหญใ่ นกรงุ เทพมหานคร ประชาชนเดอื ดรอ้ นเป็นจำ�นวนมากและเหลือกำ�ลังของหน่วยราชการและองค์กรการกุศลจะช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงดังนัน้ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ โสมสวลีพระวรราชาทนิ ัดดามาตุ จึงทรงจดั ใหม้ อี าสาสมคั รเพอ่ื นพ่ึง (ภาฯ) เพ่ือดูแลผปู้ ว่ ย ณ คลองมหาสวัสดิ์เขตตลิง่ ชนั จำ�นวน ๑๘ ราย ทงั้ ด�ำ เนินกิจกรรมมาอย่างตอ่ เน่ือง จนจดั ต้ังเป็น “มูลนิธอิ าสาเพอื่ นพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก” เม่ือวันท่ี ๒๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีวตั ถุประสงค์เพอื่
สนับสนุนให้รัฐและเอกชนร่วมกันช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ รับบริจาคสิ่งของและเงินจากผู้ทุกข์ยากน้อยกว่าไปให้แก่ผู้ทุกข์ยากมากกว่า กระตุ้นให้ผู้แข็งแรงกว่าช่วยเหลือผู้อ่อนแอกว่าทั้งการประทังชีวิตและฟื้นฟูสภาพจิตใจ เป็นต้น งานสาธารณกุศลด้านกฎหมายเป็นอีกพระกรณียกิจที่พระองค์ทรงบำ�เพ็ญเพื่อประชาชนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคอยช่วยเหลือประชาชนให้ได้รับความคุ้มครองหรือการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ� หรือถูกสังคมเอารัดเอาเปรียบ เช่น โครงการกำ�ลังใจในพระด�ำ รพิ ระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจา้ พัชรกิติยาภา และมูลนิธิณภาฯ ในพระด�ำ รพิ ระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาเสด็จเยย่ี มเยยี นและประทานสง่ิ ของแกผ่ ตู้ อ้ งขงั หญงิ และเดก็ ตดิ ครรภผ์ ตู้ อ้ งขงั หญงิ ณ ทณั ฑสถานหญงิ กลางกรุงเทพมหานคร ทำ�ให้ทรงเห็นปัญหาของผู้ต้องขังหญิงที่ต้องขาดโอกาสต่าง ๆ ในชีวิตโดยเฉพาะความรักความอบอุ่นจากครอบครัว รวมทง้ั ทารกบริสุทธิไ์ ร้ความผดิ ที่ถอื กำ�เนดิ ขึ้นในเรอื นจำ�จากครรภ์ของแมท่ เ่ี ปน็ ผตู้ อ้ งขงั ซง่ึ ท�ำ ใหข้ าดโอกาสดา้ นตา่ ง ๆ ในชวี ติ อนั น�ำ มาซง่ึ ปญั หาตอ่ ไปในอนาคต หลังจากนั้นอีก ๕ ปี เมื่อพระองค์ทรงสำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา จึงทรงก่อตั้งโครงการกำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ขึ้นเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ณ ทัณฑสถานหญิง กรุงเทพมหานครซึ่งเป้าหมายสำ�คัญของโครงการนี้ คือ กลุ่มผู้ต้องขังหญิง กลุ่มเด็กที่ติดครรภ์ผู้ต้องขัง กลุ่มเด็กและเยาวชนที่กระทำ�ผิด และกลุ่มผู้ขาดโอกาสอื่น ๆ ในกระบวนการยุติธรรม ทั้งประสงค์ให้สังคมไทยเปิดโอกาสแก่บุคคลที่เคยก้าวพลาดได้กลับมาเป็นคนดีของสังคม จากโครงการนี้เองจึงเป็นบันไดสำ�คัญให้พระองค์มีบทบาทสำ�คัญในการเสนอและยกร่างข้อกำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�สำ�หรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิง (Enhancing Life for Female Inmates: ELFI) ต่อสหประชาชาติ ในขณะทีม่ ูลนธิ ิณภาฯ ในพระด�ำ รพิ ระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกติ ิยาภา ก่อตงั้ ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เป็นตัวกลางในการแสวงหาโอกาสและช่วยเหลือกลุ่มผู้ด้อยโอกาส สร้างให้สังคมตระหนักว่าคนกลุ่มนี้มีศักยภาพทำ�งานให้แก่สังคมได้ โดยกลุ่มเป้าหมายกลุ่มแรกของมูลนิธิคือกลุ่มผู้ต้องขังและผู้พ้นโทษทั้งชายและหญิง โดยจัดโครงการฝึกอบรมวิชาชีพและการผลิตสินค้าต่าง ๆ ทั้งจัดฝึกอบรมในเรือนจำ� และจัดฝึกอบรมที่มูลนิธิ เพื่อให้คนกลุ่มนี้มีทักษะอาชีพผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐาน แสดงศักยภาพของตนผ่านผลิตภัณฑ์ที่วางจำ�หน่าย ยี่ห้อ “จัน” อันมาจากคำ�ว่า“จันทรา”ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ต้องขังไม่มีโอกาสได้พบเห็น คำ�ว่า“จันทรา”จึงกลายเป็นแรงบันดาลใจของตราสินค้า และช่วยให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสกลุ่มนี้มีรายได้เพื่อยังชีพ นับว่าแนวการทำ�งานของมูลนิธิณภาฯ ในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา สอดคล้องกับการดำ�เนินงานของโครงการกำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เป็นอย่างดี สัญลักษณ์ของมูลนิธิณภาฯ ในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา คล้ายเครื่องหมาย infinity อันหมายถึง “การให้โอกาสอย่างไม่มีที่สิ้นสุด” ทั้งเสียงยังสัมพันธ์กับ
คำ�ว่า“นภา”แสดงนัยถึงความกว้างใหญ่ไพศาล จิตใจที่พร้อมให้อภัยและให้โอกาสตามแนวความคิดส�ำ คญั วา่ “ทแ่ี หง่ นจ้ี ะมองเหน็ และใหโ้ อกาสทกุ คนอยา่ งเทา่ เทยี มกนั โดยไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ ”หรอื นยั ประการทส่ี องคอื “ณ”และ“ภาฯ”(อันเป็นพระนามย่อของพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา)มารวมกันเป็นคำ�ว่า “ณภาฯ” ซึ่งมีความหมายโดยนัยว่า “อยู่กับพระองค์ท่านและก้าวไปพร้อมกัน ณ‘ณภาฯ’” อันแสดงให้เห็นถึงน้ำ�พระทัยและความมุ่งมั่นในการช่วยเหลือราษฎร พระกรณียกิจด้านกฎหมายที่พระองค์ทรงปฏิบัติมีอยู่หลายประการ ทั้งการประทานทุนการศึกษาสำ�หรับผู้ต้องการศึกษาต่อปริญญามหาบัณฑิตด้านกฎหมาย ณ Cornell Law Schoolมหาวิทยาลัยคอรแ์ นล ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทรงจัดต้งั “ทุนพชั รกิตยิ าภาเพอ่ื การศึกษากฎหมาย”ซึ่งรับสมัครเพื่อคัดเลือกจากผู้ที่จบปริญญาบัณฑิตด้านกฎหมาย และสอบไล่ได้เนติบัณฑิตของเนติบัณฑิตยสภาตามเงื่อนไขที่ทุนดังกล่าวกำ�หนดไว้ เพื่อให้ผู้สำ�เร็จการศึกษาได้นำ�ความรู้มาแก้ไขปัญหาของประเทศที่ต้องอาศัยกฎหมายเป็นเครื่องมือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา มิได้ทรงทุ่มเทด้านการศึกษาสาขากฎหมายแต่เพียงด้านเดียว หากแต่พระองค์ยังสนพระทัยปัญหายาเสพติดและอาชญากรรม ทรงช่วยส่งเสริมการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมแก้ปัญหาผู้ต้องขังหญิงโดยเฉพาะผู้ที่กำ�ลังตั้งครรภ์ สนับสนุนการต่อต้านอาชญากรรมในสังคมด้วย จากการที่ได้ทรงเอาพระทัยใส่งานด้านสาธารณกุศลและด้านกฎหมายด้วยความวิริยะอุตสาหะ ทั้งทรงอุทิศพระองค์เพื่อปวงชนชาวไทย รวมถึงสนับสนุนกิจการต่าง ๆ ขององค์กรระหว่างประเทศมาโดยตลอด จึงเป็นที่กล่าวขานถึงพระปรีชาสามารถและพระจริยวัตรอันงดงามของพระองค์ ส่งผลให้หลายองค์กรต่างทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลต่าง ๆ เช่น กองทุนการพัฒนาเพื่อสตรีแห่งสหประชาชาติ (UNIFEM) สำ�นักงานภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทูลเกล้าฯ ถวายตำ�แหน่ง “ทูตสันถวไมตรี” (Goodwill Ambassador) ในการต่อต้านความรุนแรงต่อสตรีด้านหลักนิติธรรมประจำ�ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสำ�นักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UN Office on Drugs and Crime – UNODC) ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล Medal of Recognition ในฐานะที่ทรงมีบทบาทสำ�คัญในระดับนานาชาติ ตลอดระยะเวลาที่ทรงประจำ�การอยู่ ณ คณะทูตถาวร ณ นครนิวยอร์ก พระองค์ทรงปฏิบัติพระภารกิจในฐานะนักการทูตด้วยพระจริยวัตรอันงามสง่าและพระปรีชาด้านภาษาอังกฤษในระดับที่ดีเลิศ ประกอบกับพระปฏิภาณไหวพริบอันเป็นที่ประจักษ์แก่ชาวต่างชาติ สังเกตได้จากการที่ทรงเป็นองค์ผู้แทนประเทศไทยในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ และการเจรจาการทูตพหุภาคีในหลายเวทรี ะดบั โลก พระกรณยี กจิ ตา่ ง ๆ ซง่ึ บรรลผุ ลส�ำ เรจ็ ไดโ้ ดยทกั ษะการสอ่ื สารภาษาองั กฤษนเ้ี องจึงเป็นแรงบันดาลใจสำ�คัญให้แก่เยาวชนและคนไทยทั่วไปในการศึกษาเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อันจะนำ�ไปสู่การพัฒนาประเทศให้ก้าวเข้าสู่ความเป็นอารยประเทศที่เจริญรุ่งเรือง พระปรีชาด้านภาษาอังกฤษของพระองค์นั้นเป็นที่ประจักษ์กันโดยทั่วไปนับแต่ครั้งที่พระองค์ทรงฝึกงานในประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งบริษัทที่ปรึกษากฎหมายชั้นนำ� กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
และสำ�นักงานอัยการประจำ�นครนิวยอร์ก จนทรงสำ�เร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคอร์แนลหลังจากนั้นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชานุญาตให้พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาเสด็จไปทรงปฏิบัติพระภารกิจในฐานะเลขานุการเอกประจำ�คณะทูตถาวรแห่งประเทศไทยประจำ�สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ซึ่งพระกรณียกิจต่าง ๆ ล้วนแสดงให้เห็นถึงการสั่งสมประสบการณ์ในการเจรจาการทูตระดับพหุภาคีอันมีผลต่อการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการยุติธรรมในประเทศต่อไป ด้วยพระกรุณาคุณอันล้นพ้นที่มีต่อพสกนิกรชาวไทย สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ขอประทานถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร แด่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติให้ปรากฏในวงการวิชาการและเป็นสิริมงคลแก่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สืบไป
คำ�กราบทูล ของ นายกสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ขอประทานถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎบี ัณฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สาร ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร คร้งั ที่ ๓๒ ประจ�ำ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ณ หอประชุมมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ขอประทานกราบทลู ทราบฝ่าพระบาท เกล้ากระหม่อม นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ในนามสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ขอประทานถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้วยพระปรีชาทั้งด้านการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและเพื่อการเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาอารยประเทศและทรงเป็นแรงบันดาลใจสำ�คัญให้แก่เยาวชนและพสกนิกรชาวไทยทั่วไปในอันที่จะศึกษาเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อันจะนำ�ไปสู่การพัฒนาประเทศให้ก้าวสู่ความเป็นอารยประเทศที่เจริญรุ่งเรืองต่อไป ด้วยพระกรณุ าคณุ อันล้นพน้ ดงั กลา่ ว สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี จงึ มมี ติเป็นเอกฉันท์ ขอประทานถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร แด่ฝ่าพระบาท เพื่อเฉลิมพระเกียรติคุณให้ขจรไพศาล ปรากฏและเป็นสิริมงคลแก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สืบไป ควรมคิ วรแลว้ แต่จะโปรด
พระองคห ญิงผทู รงปรีช�ด� นภ�ษ�องั กฤษ พระประวัติและพระกรณยี กจิพระเจา หลานเธอ พระองคเจา พชั รกติ ิยาภาพระประวัติสว นพระองค พระนาม พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกติ ิยาภา ประสตู ิ วันพฤหัสบดีที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ พระท่ีน่งั อมั พรสถาน พระราชวังดสุ ติ ชันษา ๓๙ ป พระบดิ า สมเดจ็ พระเจา อยหู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระมารดา พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ท่ปี ระทบั วงั ศุโขทยั แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสติ กรุงเทพมหานครพระประวตั ิการศกึ ษา โรงเรียนราชินี อนุบาล โรงเรยี นจติ รลดา ประถมศกึ ษา และ และโรงเรยี นฮีธฟล ด ประเทศอังกฤษ มธั ยมศกึ ษาตอนตน - ปรญิ ญานติ ศิ าสตรบัณฑติ (เกียรตินิยมอนั ดับสอง) มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คณะนติ ิศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี - ปริญญารัฐศาสตรบัณฑติ (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั หนึ่ง) มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าชเนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) สมยั ท่๕ี ๗ เนติบณั ฑติ ยสภาMaster of Laws (LL.M.) มหาวทิ ยาลัยคอรแ นล สหรฐั อเมริกาDoctor of the Science of Law (J.S.D.) มหาวทิ ยาลยั คอรแ นล สหรฐั อเมริกา ๙
พระองคห ญิงผูทรงปรชี าดา นภาษาองั กฤษพระประวตั กิ ารทรงงาน ดานกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๙ อยั การผชู วยสถาบนั พฒั นาขา ราชการฝายอยั การ สํานกั งานอยั การสูงสดุ พ.ศ. ๒๕๕๐ อยั การประจาํ กอง (ขาราชการอัยการชนั้ ๒) สํานักงานคดียาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๑ อัยการจงั หวัดผชู วย (ขาราชการอยั การชัน้ ๒) สาํ นกั งานอยั การจังหวดั อดุ รธานี พ.ศ. ๒๕๕๒ รองอัยการจงั หวัดอดุ รธานี (ขาราชการอัยการชนั้ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ รองอยั การจังหวัดพัทยา (ขาราชการอัยการชน้ั ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ รองอยั การจังหวดั หนองบวั ลําภู (ขาราชการอัยการช้ัน ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ อัยการจงั หวดั ประจาํ สาํ นกั งานอยั การสงู สุด สํานกั งานคมุ ครองสทิ ธแิ ละ ชว ยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน (ขาราชการอยั การช้ัน ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕ เอกอคั รราชทูตประจาํ คณะกรรมาธกิ ารแหง สหประชาชาติวา ดวยการปอ งกัน อาชญากรรมและความยตุ ธิ รรมทางอาญา ณ กรงุ เวยี นนา สาธารณรฐั ออสเตรยี พ.ศ. ๒๕๕๕ เอกอัครราชทตู วสิ ามัญผูมอี าํ นาจเต็มประจาํ สาธารณรัฐออสเตรีย พ.ศ. ๒๕๕๖ เอกอัครราชทูตวิสามัญผูมอี าํ นาจเต็มประจาํ ประเทศสโลวกั อกี ตาํ แหนง หน่ึง พ.ศ. ๒๕๕๖ เอกอคั รราชทตู วสิ ามญั ผมู อี าํ นาจเตม็ ประจาํ ประเทศสโลวเี นยี อกี ตาํ แหนง หนง่ึ พ.ศ. ๒๕๕๗ อยั การจังหวัดประจําสาํ นกั งานอัยการสูงสดุ (ขา ราชการชนั้ ๔) สาํ นักงาน อัยการจังหวดั หนองบวั ลําภู สาํ นกั งานอยั การสูงสดุ พ.ศ. ๒๕๕๘ อยั การจงั หวัดประจาํ สํานกั งานอยั การสงู สุด (ขาราชการอัยการชั้น ๔) สาํ นักงานคดียาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๖๐ อัยการจงั หวัดคุม ครองสทิ ธิและชวยเหลอื ทางกฎหมายและการบังคับคดี จังหวัดระยอง (ขา ราชการอยั การช้นั ๔) พ.ศ. ๒๕๖๐ อัยการผูเชีย่ วชาญ (ขา ราชการอยั การชั้น ๕) สํานกั งานอัยการภาค ๒ สํานกั งาน อัยการสูงสดุ ดา นการศกึ ษา ทรงเปน อาจารยพ เิ ศษ หลักสูตรปรญิ ญาโท คณะนิติศาสตร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ดานสาธารณกุศล มูลนธิ ิอาสาเพ่ือนพงึ่ (ภาฯ)ยามยาก สภากาชาดไทย โครงการกําลงั ใจในพระดาํ ริพระเจาหลานเธอ พระองคเจาพชั รกติ ิยาภา มลู นิธิณภาฯ ในพระดําริพระเจา หลานเธอ พระองคเ จาพัชรกิตยิ าภา มูลนธิ ิกมุ าร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา เครือขายคนรกั นองหมา กองทนุ กาํ ลังใจ ศนู ยควบคมุ สุนัข กรงุ เทพมหานคร (ประเวศ) ๑๐
พระองคหญงิ ผูทรงปรชี าดานภาษาอังกฤษพระเกยี รติยศ พระอิสริยยศ พระเจาหลานเธอ พระองคเจา พัชรกติ ยิ าภา (๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึงปจจบุ นั ) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณไทย พ.ศ. ๒๕๒๗ เหรยี ญรตั นาภรณ รัชกาลที่ ๙ ช้นั ที่ ๑ (ภ.ป.ร.๑) พ.ศ. ๒๕๓๔ เครอ่ื งราชอิสริยาภรณจ ุลจอมเกลา ช้ันปฐมจุลจอมเกลา (ป.จ.) ฝายใน พ.ศ. ๒๕๓๘ เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณอันเปน ที่สรรเสริญยิง่ ดิเรกคณุ าภรณ ช้ัน ๑ ปฐมดิเรกคุณาภรณ (ป.ภ.) พ.ศ. ๒๕๓๙ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ นั มเี กยี รตยิ ศยง่ิ มงกฎุ ไทย ชน้ั สงู สดุ มหาวชริ มงกฎุ (ม.ว.ม.) พ.ศ. ๒๕๔๘ เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณอันเปนท่เี ชิดชยู ่งิ ชางเผือก ชนั้ สงู สุด มหาปรมาภรณ ชา งเผือก (ม.ป.ช.) พ.ศ. ๒๕๔๙ เหรยี ญราชรจุ ทิ อง (ร.จ.ท.๙) พ.ศ. ๒๕๕๕ เหรยี ญท่ีระลกึ พระราชพิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณต างประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๗ เคร่ืองอสิ ริยาภรณก ติ ตคิ ณุ แหง สาธารณรัฐออสเตรีย ชัน้ ท่ี ๒ พระยศทางทหาร พ.ศ. ๒๕๔๓ รอยตรหี ญิง และ นายทหารพิเศษ ประจาํ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเลก็ รกั ษา พระองค พ.ศ. ๒๕๔๕ รอยโทหญงิ และนายทหารพิเศษ ประจาํ กองพนั ทหารมา ที่ ๒๙ รักษาพระองค พ.ศ. ๒๕๔๗ รอ ยเอกหญิง พ.ศ. ๒๕๖๑ พลตรหี ญงิ และนายทหารพเิ ศษประจาํ กรมทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภรกั ษาพระองค กองบญั ชาการทหารมหาดเล็กราชวลั ลภรกั ษาพระองค หนวยบญั ชาการ ถวายความปลอดภัยรักษาพระองค และนายทหารราชองครกั ษพ ิเศษ ๑๑
พระองคหญงิ ผูทรงปรชี าดานภาษาอังกฤษพระเกียรตคิ ุณพ.ศ. ๒๕๔๙ ปริญญากิตติมศกั ดิ์ วิทยาลัยปองกนั ราชอาณาจักรพ.ศ. ๒๕๕๑ ปรญิ ญานติ ศิ าสตรดุษฎีบณั ฑิตกติ ติมศกั ดิ์ สาขาวิชานติ ศิ าสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานีพ.ศ. ๒๕๕๒ ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ กติ ติมศกั ดิ์ สาขาวชิ าอาชญาวทิ ยา การบริหารงาน ยุตธิ รรมและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลพ.ศ. ๒๕๕๓ ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศกั ด์ิ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าชพ.ศ. ๒๕๕๓ ปรญิ ญานิตศิ าสตรดุษฎบี ณั ฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาวิชานติ ิศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอด็พ.ศ. ๒๕๕๓ ปรญิ ญานิติศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิตกติ ตมิ ศักดิ์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหมพ.ศ. ๒๕๕๓ ปรญิ ญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑติ กิตติมศักด์ิ สาขาวชิ านติ ศิ าสตร มหาวิทยาลัย ราชภฏั กาฬสินธุพ.ศ. ๒๕๕๓ ปรญิ ญาศิลปศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ กิตตมิ ศักด์ิ สาขาการบรหิ ารงานยุติธรรม มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตรพ.ศ. ๒๕๕๔ ปรญิ ญานิติศาสตรดุษฎบี ัณฑิตกิตตมิ ศักดิ์ สาขาวิชานติ ศิ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั เขตภาคเหนอื ๘ แหง คอื มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาํ แพงเพชร มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลําปางและมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถพ.ศ. ๒๕๕๔ ปรญิ ญานิตศิ าสตรดุษฎีบณั ฑติ กิตติมศักดิ์ สาขาวชิ านติ ิศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลยัพ.ศ. ๒๕๕๔ ปรญิ ญานติ ิศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาวิชานิตศิ าสตร มหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตรพ.ศ. ๒๕๕๙ ปริญญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิตกิตติมศกั ด์ิ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา เจา คุณทหารลาดกระบงั ๑๒
พระองคห ญิงผูทรงปรีชาดานภาษาอังกฤษ รางวัลเชิดชูพระเกียรตยิ ศ รางวลั นักศึกษากฎหมายดเี ดนประจาํ ป ๒๕๔๔ คณะกรรมการรางวลั สญั ญา ธรรมศกั ด์ิ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร มมี ติเปนเอกฉันทใ หถ วาย รางวัลนักศึกษากฎหมายดีเด่นประจําปี ๒๕๔๔ เป็นกรณีพิเศษแด่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา ดวยทรงเปนตัวอยางในดานการศึกษาและดานกิจกรรมนักศึกษา ทรงเขารวมกิจกรรม เสรมิ หลักสูตรและกิจกรรมตา งๆ รว มกับนักศึกษาโดยไมถือพระองค ทรงปฏิบตั เิ ฉกเชนนักศกึ ษาทวั่ ไป รางวัล Medal of Recognition สาํ นักงานปอ งกนั ยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแหงสหประชาชาติ (UN Office on DrugsandCrime–UNODC) ทูลเกลาฯ ถวายรางวลั เกียรตยิ ศสูงสุด เน่ืองจากทรงมบี ทบาทสําคญั ในระดับ นานาชาติดานกฎหมายและวิถีชีวิตความเปนอยูตอเด็กและสตรี ทรงริเริ่มจัดตั้งกองทุนพัชรกิติยาภา เพื่อการศึกษากฎหมาย การรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรี โครงการกําลังใจในพระดําริฯ โครงการจัดทํามาตรฐานผตู องขังหญิง หรอื ELFI (เอลฟ) ทูตสันถวไมตรี (Goodwill Ambassador) ดร.จีน เดอคนู า ผูอํานวยการกองทนุ สหประชาชาติเพ่ือการพัฒนาสตรี (United Nations DevelopmentFund for Women–UNIFEM) สํานักงานภูมิภาคเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้กราบทูลเชิญพระเจา หลานเธอ พระองคเจา พัชรกติ ยิ าภา ทรงเปนองค “ทูตสันถวไมตรี” (Goodwill Ambassador) ดว ยทรงชว ยเหลอื กลมุ ผตู อ งขงั สตรแี ละเดก็ ตดิ ครรภผ ตู อ งขงั หญงิ ทรงชว ยเหลอื ผตู อ งขงั ใหม โี อกาสกลบั ตวั เปน พลเมอื งดี ๑๓
พระองคหญงิ ผูท รงปรีชาดานภาษาองั กฤษ พระอจั ฉรยิ ภาพดานภาษาอังกฤษ พระเจา หลานเธอ พระองคเจา พัชรกติ ิยาภา ทรงพระปรชี าสามารถทง้ั ทางดา นนติ ิศาสตรรัฐศาสตร และศิลปศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชภาษาอังกฤษเพื่อประกอบพระกรณียกิจตาง ๆทั้งพระกรณยี กิจสว นพระองค พระกรณียกจิ ตามหนาที่ราชการ หรอื พระกรณียกจิ พเิ ศษอ่ืนๆ เชนการปฏิบัตพิ ระกรณยี กจิ ท่ีคณะทตู ถาวรแหง ประเทศไทย ประจาํ องคการสหประชาชาติ ณ นครนวิ ยอรกการปฏิบัติพระกรณียกิจในฐานะเอกอัครราชทูตประจําคณะกรรมาธิการแหงสหประชาชาติ วาดวยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรียการปฏิบัติพระกรณียกิจในฐานะเอกอัครราชทูตวิสามัญผูมีอํานาจเต็มประจําสาธารณรัฐสโลวักและเอกอัครราชทูตวิสามัญผูมอี าํ นาจเต็มประจาํ สาธารณรฐั สโลวาเนีย พระเจา หลานเธอ พระองคเจา พชั รกติ ยิ าภา ทรงเปน ผทู ีม่ ที ักษะดา นการสื่อสารภาษาองั กฤษอยางเยี่ยมยอด ทั้งสําเนียง การเลือกใชคํา การเรียบเรียงประโยคและถอยคํา การใชอวัจนภาษาประกอบวจั นภาษา ฯลฯ ซงึ่ ลวนแตท าํ ใหการเสนอสารของพระองคไ ปสสู าธารณชนแตละครั้งนั้นประสบความสาํ เรจ็ และงามสงา อนั เปน ทปี่ ระจักษอ ยหู ลายวาระ ๑๔
พระองคห ญิงผทู รงปรีชาดานภาษาอังกฤษ ๑๕
พระองคหญงิ ผูท รงปรีชาดา นภาษาอังกฤษ เมือ่ ครงั้ ทรงบรรยายพิเศษของการจัดสัมมนาเรอ่ื ง “สวัสดภิ าพผตู องขังหญิง” (The Treatment ofFemale Offenders) ในหัวขอ “Putting the Bangkok Rules into Practice: A Framework for InternationalCooperation” เม่ือเดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ ณ กรุงโตเกยี ว ประเทศญี่ปุน พระองคทรงกลาวนาํ ประเดน็ วา“แมโลกนีจ้ ะรจู ักคําวา สทิ ธมิ นษุ ยชน กันท่ัวไป ทวา ผูต อ งขงั หญงิ ท่วั โลกซ่งึ กาํ ลงั มจี ํานวนเพ่มิ มากขน้ึแมจะยังนอยเมื่อเทียบอัตราสวนกับผูตองขังชายก็ตาม กลับไมไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันกับผตู อ งขงั ชาย การประชมุ นีจ้ งึ สามารถกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ัตติ อผูตองขงั หญงิ ในอนาคต” ขอ ความนี้ชวยทําใหผูเขารวมสัมมนาตางตระหนักถึงความจริงอันนาเศราซึ่งเกิดขึ้นในทุกหนทุกแหงบนโลกนี้วาแมแ ตใ นเรอื นจาํ ซง่ึ เปน สถานทท่ี ท่ี กุ คนตอ งถกู จาํ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพกย็ งั มคี วามเหลอ่ื มลาํ้ ทางเพศอยเู สมอ จากนั้นพระองค์จึงทรงกล่าวถึงปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Rules) ความโดยสรุปว่าการที่สหประชาชาติยอมรับปฏิญญากรุงเทพใหเปนสวนหนึ่งของกฎบัตรสหประชาชาติวาดวยสวัสดิภาพและการคุ้มครองผู้ต้องขังหญิง ซึ่งลงมติเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นั้น แสดงว่าเรอื นจาํ ท่ัวโลกกําลงั เปลีย่ นแปลงแนวคิดทม่ี ีตอ ผตู อ งขงั หญงิ แตส ่ิงสําคัญคอื จะนําแนวคดิ ดงั กลา วมาใชใหเ ปนรูปธรรมไดม ากนอยเพยี งใด แนวพระดําริดังกลาวนช้ี วยปลกุ เรา ความรสู ึกของผฟู ง ใหค ลอ ยตามอนั จะนาํ ไปสกู ารเปลีย่ นแปลงแนวปฏบิ ัติตอผูตองขงั หญงิ ใหเ ปนรูปธรรมตอไป ๑๖
พระองคห ญิงผทู รงปรีชาดานภาษาอังกฤษ ๑๗
พระองคหญงิ ผูทรงปรีชาดานภาษาองั กฤษ นอกจากนี้พระองคยังไดทรงแสดงทัศนะวา การตัดสินจําคุกควรเปนทางเลือกสุดทายสําหรับผตู อ งขงั หญงิ เพราะผตู อ งขงั หญงิ จาํ เปน ตอ งไดร บั การปฏบิ ตั ทิ ล่ี ะเอยี ดออ นกวา ผตู อ งขงั ชาย ทง้ั พระองคยงั ทรงกลา วถึงบตุ รทีต่ ิดครรภผูต องขังหญงิ วา “เมือ่ ขาพเจา เขา ไปตรวจเยยี่ มสภาพความเปนอยขู องผูตองขังหญิง ณ ทณั ฑสถานหญิงกลาง กรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๔ นน้ั ขา พเจาไดเ ล็งเห็นความยากลําบากของผู้ต้องขังหญิง โดยเฉพาะผู้ที่มีบุตรติดครรภ์มารดานั้นมักขาดความอบอุ่นจากครอบครัวหรือโอกาสเยี่ยงเด็กทั่วไป ขาพเจาตระหนักวากรมราชทัณฑพึงปรับเปลี่ยนนโยบายการจดั การในเรอื นจาํ ตามเพศของผตู อ งขงั ” ถอ ยความทพ่ี ระองคต รสั นน้ั นอกจากจะทาํ ใหผ ฟู ง ตระหนกั ถงึความละเอยี ดออ นอนั แตกตางกนั อยา งสิน้ เชิงระหวางผตู องขังชายและหญิงแลว พระองคย งั ไดห ยิบยกเอาเดก็ ซ่งึ ยงั ไรเ ดยี งสาอนั เปน บุตรตดิ ครรภผตู องขงั หญงิ เหลานน้ั วา การให “เด็กไรเดียงสา” ตองอยูใน“ทัณฑสถาน” กบั มารดายอมทาํ ใหเ ด็กเสียโอกาสหลายอยา งอนั พึงมพี งึ ไดตามวยั และขาดความอบอุนจากครอบครัว ไม่ว่าจะอยู่ในทัณฑสถานร่วมกับมารดาหรืออยู่นอกทัณฑสถานโดยไร้มารดาก็ตามซง่ึ ทาํ ใหผ ฟู ง โดยทว่ั ไปเลง็ เหน็ ผลกระทบทอ่ี าจลมื นกึ ถงึ ไปดว ยวา การลงโทษสตรกี ค็ อื การทาํ รา ยเดก็ นน่ั เอง ๑๘
พระองคหญิงผูท รงปรีชาดานภาษาองั กฤษ พระองค์ยังกล่าวต่อไปถึงโครงการ “กําลังใจ ในพระดําริฯ” ซึ่งพระองค์ทรงจัดตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๕๔๙วา “โครงการนม้ี จี ดุ มงุ หมายเพอ่ื เปน ทพ่ี ง่ึ ทางใจการดแู ลสขุ ภาพขน้ั พน้ื ฐานและแสวงหาโอกาสใหแกผูตองขังหญิง ทั้งในขณะที่ถูกคุมขังและหลังจากพนโทษแลวเพื่อใหผูตองขังเหลานั้นมีโอกาสกลบั ไปเปน พลเมอื งทด่ี ขี องสงั คม ทง้ั ยงั ดาํ เนนิ การชว ยเหลอื ผตู อ งขงั หญงิ ตง้ั ครรภ การบรบิ าลผตู อ งขงั หญงิและเด็กซึ่งตองอาศัยรวมกับมารดาในทัณฑสถาน รวมไปถึงการฝกอบรมและพัฒนาทักษะวิชาชีพ”ทําใหประจักษชัดวานอกจากจะทรงเปนนักคิดแลว พระองคยังทรงเปนนักปฏิบัติดวย ทั้งทรงทําใหเกิดเป็นรูปธรรมแล้วในประเทศไทย ทั้งนี้ย่อมสามารถสะกดใจของที่ประชุมได้ว่าแม้ประเทศไทยจะเปน เพยี งประเทศเลก็ ๆ ทไี่ มไ ดยง่ิ ใหญอยางประเทศมหาอาํ นาจอน่ื ในโลกกย็ งั มงุ ม่ันทาํ ส่งิ ทย่ี ง่ิ ใหญอันหลายประเทศไมกลาทํา เชน การรักษาสิทธขิ องผูตอ งขงั การดแู ล ชว ยเหลอื การฝก อบรมและมอบชวี ิตใหมใ หแ กผ ูพน โทษ ๑๙
พระองคหญิงผทู รงปรชี าดานภาษาองั กฤษ นอกจากการกลา วปาฐกถาในงานดงั กลา วขา งตน แลว พระเจา หลานเธอ พระองคเ จา พชั รกติ ยิ าภายงั ทรงแสดงปาฐกถา ทรงกลา วเปดงาน ทรงประทานสัมภาษณ ฯลฯ ในวาระตางๆ อกี หลายวาระซง่ึลวนแตแสดงใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารไดบรรลุวัตถุประสงคทางวิชาชีพ กอใหเ กดิ ประโยชนแกม วลมนุษยชาติและพสกนิกรของพระองคเปนอยา งย่งิ ๒๐
๒๑
พระองคหญงิ ผทู รงปรีชาดา นภาษาอังกฤษAnnouncement to Honor Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha on Occasion ofReceiving an Honorary Doctorate of Arts in English for Communication Program from Rajamangala University of Technology Thanyaburi Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha is the first daughter of His Royal Highness Crown Prince Maha Vajiralongkorn (the royal title at that time) born to Her Royal Highness Princess Soamsawali, and she is the first grandchild of the late King Bhumibol Adulyadej. While living in the United States of America, Princess Bajrakitiyabha studied and subsequently earned a Doctor of the Science of Law (J.S.D.) from Cornell University in Ithaca, in the United States of America. Then Princess Bajrakitiyabha returned to Thailand and started working in government service as an assistant prosecutor while also performing royal duties to serve the late King Bhumibol Adulyadej and His Majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun. During her official duties, Princess Bajrakitiyabha started to work as an assistant prosecutor for the Public Prosecution Official Training Institution, Office of the Attorney General according to the Office of the Attorney General Order No. 19/2006 dated August 16th, 2006 to appoint Princess Bajrakitiyabha a government official from September 1st, 2006. Princess Bajrakitiyabha performed her duties and responsibilities with significant efforts and continually progressed in her government career. After having worked as a prosecutor and gaining trust from the late King Bhumibol Adulyadej, Princess Bajrakitiyabha was appointed as an ambassador to perform royal duties of international relations in order to benefit the Thai nation and to promote relationships with other countries, including serving on the United Nations Commission on Crime Prevention and Criminal Justice in Vienna, Austria from January 10th, 2012 (according to the Office of the Attorney General Order to transfer Princess Bajrakitiyabha, performing public prosecutor, to be appointed as a civil servant of Ministry of Foreign Affairs, and the Cabinet had a resolution to appoint four public prosecutors as civil servants of Ministry of Foreign Affairs on January 15th, 2012). On September 21st, 2012, there was a royal command to appoint Princess Bajrakitiyabha Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to the Republic of Austria by presenting a Letter of Credence dated October 1st, 2012. After that, there was a royal command to appoint Princess Bajrakitiyabha as Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to the Slovak Republic (with a permanent residence in Vienna) by presenting a Letter of Credence dated January 7th, 2013. On February 5th, 2013, there was a royal command to appoint Princess Bajrakitiyabha as Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to the Republic of Slovenia (permanent Residence in Vienna) by presenting a Letter of Credence dated February 6th, 2013. ๒๒
พระองคหญงิ ผูทรงปรีชาดา นภาษาอังกฤษ While performing her duty as Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary, PrincessBajrakitiyabha continued to benefit the Thai nation and looked after Thai residents living in thecountries in which she was performing her duties. Additionally, Princess Bajrakitiyabha promotedrelationships between Thailand and other countries in spite of the challenges she faced. Therefore,she was praised and admired by people of other countries as was the late King BhumibolAdulyadej’s expectation. Later, by the Office of the Attorney General Order No. 1633/2014, Princess Bajrakitiyabhawas transferred back and appointed to be the Provincial Chief Public Prosecutor attached tothe Office of the Attorney General, Office of Provincial Public Prosecution of Nongbua Lamphu(Public Prosecutor – Level 4) from October 1st, 2014. Princess Bajrakitiyabha had persistentlydedicated herself to her duties so that there was a royal command to appoint her as Expert PublicProsecutor (Public Prosecutor – Level 5) of the Office of Public Prosecution Region 2, the Officeof the Attorney General from October 1st, 2017 to present. Princess Bajrakitiyabha has performed royal duties not only for the government, but alsofor the happiness of Thai residents and mankind such as public charities and laws. In addition toher royal duties for the Thai government, Princess Bajrakitiyabha also participated in charitable andlegal activities for the benefits of the Thai people and nation, and mankind and humanity. In 1995, when Bangkok was heavily flooded, a great number of people were affected, andgovernment organizations and charities could not provide help thoroughly. Princess Soamsawalirecruited volunteers and initiated “Friends in Need of ‘PA’” to care for eighteen patients at KlongMahasawat, Talingchan. Since this activity has continued, “Friends in Need of ‘PA’” or “PrincessPa Foundation” was therefore founded on November 2nd, 2001. The foundation aims to encouragegovernment and private organizations to help people affected by natural disasters, to receivedonations for the poor from the richer, and to encourage the stronger people to help the disabledfor both physical survival and psychological rehabilitation. Public charities and laws are several of Princess Bajrakitiyabha’s outstanding royal dutiesthat are continuously dedicated to Thai citizens. She has lent her support to Thais to have legallyfair protection and equal treatment. To promote social equality, she initiated several royal projectsincluding Kamlangjai (support and encouragement) and Nabha Foundation under HRH PrincessBajrakitiyabha’s Patronage. ๒๓
พระองคหญิงผูทรงปรีชาดานภาษาอังกฤษ On July 14th, 2001, Princess Bajrakitiyabha visited and presented care packages forfemale inmates in prison and their children at Bangkok Women’s Correctional Institution. Hence,Princess Bajrakitiyabha realized that the inmates lacked important opportunities. They weredeprived of love and care from their families. In addition, innocent babies born to inmates in prisonwere also deprived of many chances in their lives, possibly leading to difficulties in their lives inthe future. Five years later after the completion of her doctorate, she initiated a royal project entitled“Kamlangjai” (support and encouragement) on October 31st, 2006 at Bangkok Women’sCorrectional Institution, Bangkok to support vulnerable groups including women in prison,pregnant inmates, children born to inmates, children and juvenile offenders, and disadvantagedpersons in the criminal justice system. She also advocated for members of Thai society to givethem a chance to re-enter society upon release. This project has been a driving force for PrincessBajrakitiyabha to propose and draw up a draft of the ‘Enhancing Life for Female Inmates’ or ELFIproject to the United Nations. The Nabha Foundation, according to HRH Princess Bajrakitiyabha’s initiative, wasestablished to be a means of providing opportunities and giving help to those inmates. Thefoundation encourages society to perceive the inmates as potential workers. The first targetgroups were current and former male and female inmates and included providing them trainingcourses on careers and various goods production. The purpose of these courses was to developtheir work skills so that they could produce standard products sold under the brand “Chan”.This name originated from “Chantra” which those inmates would never see. Therefore,the word “Chantra” has become an inspiration of the brand name that gives opportunity tothe disadvantaged to start a new life. Both Nabha foundation and the royal project “Kamlangjai”were consistently implemented under HRH Princess Bajrakitiyabha’s initiatives. The emblem of the Nabha Foundation under HRH Princess Bajarakittiyabha’s initiative,a mathematical sign, resembles a horizontal number 8, representing infinity. It symbolizeseverlasting and untiring provision of opportunity. Its name is, in addition, a homophone to “Nabha,”meaning the infinite blue sky, indicating the always forgiving and giving opportunities. The ideaevinces the underpinned essence of opportunity equally granted to everyone to the infinite extent.“Na,” or “Here” in Thai, and “Bha,” an abbreviation of HRH Princess Bajarakittiyabha all togetherimply “living here with HRH Princess Bajarakittiyabha and moving forward with Nabha Foundation. ๒๔
พระองคหญิงผทู รงปรีชาดานภาษาองั กฤษ In addition, HRH Princess Bajarakittiyabha’s law-related missions include awarding royalscholarships to Thai students pursuing a master’s degree in Law at Cornell Law School, Cornell Universityin the United States of America. HRH Princess Bajarakittiyabha’s Scholarship for Law Educationwas established for the purpose of recruiting eligible, merit-based applicants who earn a bachelor’sdegree in Law, and have completed the Bar Professional Training Course and Pupillage. The graduatesare subsequently expected to have expertise in using laws as instruments for national problem resolution. Not only to law education has HRH Princess Bajarakittiyabha brought tremendous contribution,she also indulges in extensive efforts to reduce drug abuse and addiction, and crime. In particular,she has highlighted initiatives to revolutionize the criminal justice system, having allowed for drasticimprovements in the living conditions of pregnant inmates. That way, inmates are well-prepared fora better life after their release. Her persistent dedication to public charities and legal issues, and giving support to internationalactivities has proved concrete. Because of her credentials, HRH Princess Bajarakittiyabha has beenconferred many awards, some of which include being appointed as a UN Women National Ambassadorto Thailand by UNIFEM and as a UNODC Goodwill Ambassador for the Rule of Law for Southeast Asiaby the UNODC Regional Representative. Her medal of Recognition being crowned by UNDOC is evidenceof her significant role in addressing and implementing women’s protection against violence and crime. During her duty as a UN Women National Ambassador to Thailand at the Thai PermanentMission to the United Nations in New York, HRH Princess Bajarakittiyabha’s active ambassadorshipand personal credentials, while exceptionally visible, have accentuated her English language proficiency.Her intellectual capabilities in multilateral negotiations on the world stage draws great appreciationfrom other international representatives, along with the achievements they attain. Her leadership inthis area has enlivened English language learning motivation among Thai people and helped advancethe development of Thailand. HRH Princess Bajarakittiyabha’s distinguished language expertise has been widely witnessedsince her internship in a renowned law firm in Washington D.C. and in the office of the AttorneyGeneral in New York City. On completion of her doctorate, HRH Crown Prince Mahavajiralongkorn,now His Majesty the KING Rama X, appointed her major secretary to work at the Thai PermanentMission to the United Nations. All in all, her fruitful project initiatives are deserving of all aforementioned acknowledgementsthrough her delegatory multilateral negotiations to improve the Thai Justice System. It is a privilege forRajamangala University of Technology Thanyaburi to pay tribute to HRH Princess Bajarakittiyabha onher outstanding merits of leadership in her own respectable field by conferring upon her the Degree ofHonorary Doctorate in English to accompany others in acknowledging her English proficiencycontributions. The celebration of her achievement will, in turn, be an honorable blessing for RajamangalaUniversity of Technology Thanyaburi. ๒๕
พระองคห ญงิ ผูท รงปรีชาดา นภาษาองั กฤษHer Royal Highness Princess Bajrakitiyabha’s Biography and Royal DutiesHer Royal Highness’s Biography Her Royal Highness Princess BajrakitiyabhaHer Royal Highness’ Name On Thursday 7 December 1978 atHer Royal Highness’ Birth Amphorn Sathan Residential Hall, Dusit PalaceHer Royal Highness’ Age 39 years oldHer Royal Highness’ Father His Majesty King Maha VajiralongkornHer Royal Highness’ Mother Bodindradebayavarangkun Her Royal Highness Princess SoamsawaliHer Royal Highness’s EducationKindergarten,Elementary and Junior High School Rajini SchoolHigh School Chitralada School and Heathfield School in EnglandBachelor’s Degree Bachelor of Laws at the Faculty of Law, Thammasat University (Second Class Honors) Bachelor of Arts in International Relations, SukhothaiThammatirat University (First Class Honors)Barrister-at-Law The Thai Bar under the Royal PatronageMaster of Laws (LL.M.) Cornell University in the United States of AmericaDoctor of the Science of Law (J.S.D.) Cornell University in the United States of America ๒๖
พระองคห ญงิ ผทู รงปรีชาดานภาษาอังกฤษHer Royal Highness’s Royal Work Law 2006 Prosecutor Assistant at the Office of the Attorney General 2007 Division Public Prosecutor (2nd Official Attorney) Department of Narcotics Litigation 2008 Provincial Prosecutor Assistant (2nd Official Attorney) Office of Provincial Public Prosecutor Udon Thani 2009 Deputy Attorney at the Office of Provincial Public Prosecutor UdonThani (3rd Official Attorney) 2010 Deputy Attorney at the Office of Provincial Public Prosecutor Pattaya (3rd Official Attorney) 2010 Attorney at the Office of Attorney General at the Office of Civil Rights Protection, Legal Aid and Legal Execution (4th Official Attorney) 2012 Ambassador to the United Nations Commission on Crime Prevention and Criminal Justice in Vienna, Austria 2012 Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to Austria 2013 Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to Slovak 2013 Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to Slovenia 2014 Attorney at the at the Office of Provincial Public Prosecutor NongBua Lamphu (4th Official Attorney) at the Office of Attorney General 2015 Attorney at the Office of Attorney General, Department of Narcotics Litigation 2017 Attorney at the Provincial Department Rayong of Civil Rights Protection, Legal Aid and Legal Execution (4th Official Attorney) 2017 Specialist Attorney (5th Official Attorney) at the Regional Office Area 2 of the Office of the Attorney General Education Part-time Faculty for the Master’s Degree of Laws Program at Thammasat University ๒๗
พระองคห ญงิ ผูท รงปรีชาดา นภาษาอังกฤษPublic Charities Friends in Need of PA or Princess Pa Foundation, Thai Red Cross “Kamlangjai” or “Inspire” project under the patronage of Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha Na Bha Foundation under the patronage of Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha The Children’s Foundation, Phramongkutklao Hospital under the patronage of HRH Princess Bajrakitiyabha Dog Lover Network under the patronage of HRH Princess Bajrakitiyabha Kamlangjai Foundation The Stray Dog Control Shelter in Prawet District, BangkokHonors Royal Rank Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha (from December 7th, 1978 to present) National Honors 1984 King Rama IX Royal Cypher Medal with the First Class 1991 The Most Illustrious Order of Chula ChomKlao with the Primary Chula ChomKlao 1995 The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn with the First Class 1996 The Most Noble Order of the Crown of Thailand with Knight Grand Cordon (Special Class) 2005 The Most Exalted Order of the White Elephant with the Knight Grand Cordon (Special Class) 2006 King Rama IX Rajaruji Medal 2012 Commemorative Medal on the Occasion of Her Royal Highness’ 5th Cycle Birthday Anniversary 28th, July 2012 Foreign Honor 2014 Grand Decoration of Honor for Services to the Republic of Austria Royal Rank 2000 Acting Sub Lieutenant and a member of the special forces of the First Regiment the King’s Own Bodyguard 2000 Sub Lieutenant ๒๘
พระองคหญิงผูท รงปรชี าดานภาษาอังกฤษ 2002 Lieutenant and a member of the special forces of the 29th Calvary Battalion of the King’s Own Bodyguard 2004 Captain 2018 Major General and a member of the special forces of the First Regiment the King’s Own Bodyguard, Royal Thai Aide-De-Camp Department and the special King’s Own BodyguardHer Royal Highness’s Honors in Education Honorary Degree 2006 Honorary Degree from Institute of Administration Development 2007 Honorary Doctoral Degree of Laws Program from Udon Thani Rajabhat University 2008 Honorary Degree of Doctor of Philosophy Program in Criminology, Justice Administration and Society from Mahidol University 2010 Honorary Degree of Doctor of Public Administration Program From Sukhothai Thammathirat Open University 2011 Honorary Doctoral Degree of Laws Program from 8 Rajabhat universities in the North: Kamphaeng Phet Rajabhat University, Chiang Rai Rajabhat University, Chiang Mai Rajabhat University, Nakhon Sawan Rajabhat University, Pibulsongkram Rajabhat University, Lampang Rajabhat University, Uttaradit Rajabhat University 2011 Honorary Doctoral Degree of Laws Program from Chulalongkorn University 2011 Honorary Doctoral Degree of Laws Program from Thammasat University 2016 Honorary Doctoral Degree of Arts in English Program from King Mongkut’s Institute of Technology LadkrabangHer Royal Highness’s Honor Awards Outstanding Lawyer Award in 2001 The committee of Sanya Dharmasakti Award of Thammasat University had a consensusto present the Outstanding Lawyer Award in 2001 to Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabhaas one of the best examples of a hard-working student and being a good participant as a generalstudent attending student affairs’ activities. ๒๙
พระองคห ญิงผูทรงปรีชาดานภาษาองั กฤษ Medal of Recognition Award UN Office on Drugs and Crime–UNODC presented the Most Honor Award to Her RoyalHighness Princess Bajrakitiyapha who played a key role in drafting and presenting the UnitedNations Minimum Standards for the Treatment of Female Offenders, under the name “EnhancingLife of Female Inmates” (ELFI) or “Kamlangjai” which was under the initiative project of Her RoyalHighness Bajrakitiyapha. Goodwill Ambassador Dr. Jean Derkuna, the director of United Nations Development Fund for Women – UNIFEM,Office of South East Asia presented the Goodwill Ambassador to Her Royal Highness PrincessBajrakitiyapha for giving notable assistance and preparation to female offenders and pregnantinmates so that they can integrate well in the society upon release. ๓๐
พระองคห ญิงผทู รงปรีชาดานภาษาอังกฤษ ๓๑
พระองคหญิงผูท รงปรชี าดา นภาษาองั กฤษ Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha’s Remarkable Talents for English Language Her Royal Highness Princess Bajrakitiyabha has remarkable expertise in jurisprudence,political science, and the arts. In addition, she uses excellent English to perform various royalduties, including personal duties, official duties, and other special duties as Permanent Missionof Thailand for the United Nations in New York, an ambassador of UN Commission on CrimePrevention and Criminal Justice in Vienna, the Republic of Austria, Ambassador Extraordinaryand Plenipotentiary to Slovak Republic, and Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary to theRepublic of Slovenia. Her Royal Highness has excellent communication skills in English, includingaccent, word choice, sentence structure and expressions, using nonverbal language together withverbal language, therefore her messages to the public are remarkably successful and graceful. ๓๒
พระองคห ญิงผทู รงปรีชาดานภาษาอังกฤษ ๓๓
พระองคห ญิงผูทรงปรีชาดา นภาษาองั กฤษ When Her Royal Highness gave a special lecture on the topic of “Putting the BangkokRules into Practice: A Framework for International Cooperation” as part of a seminar titled“The Treatment of Female Offenders” in August 2013 in Tokyo, Japan, she remarked that“Although the phrase ‘human rights’ is commonly known throughout the world, the number offemale prisoners is increasing all over the world, yet it is far less than the number of male prisoners,and they are treated unequally compared to male prisoners”. Through this seminar, guidelinesfor treating female prisoners in the future would be defined. According to HRH’s message,the participants would realize that sadness occurs all over the world, including prisons whereeveryone’s rights and freedoms are restricted, and inequality between men and women is found.Then, Her Royal Highness mentioned the “Bangkok Rules” and the United Nations’ acceptanceof the Bangkok Rules as part of the “United Nations Rules for Treatment of Women Prisonersand Non-custodial Measures for Women Offenders”, which was voted on in December 2010, andhas since showed that worldwide, prisons are changing the concepts toward women prisoners.Importantly, the mentioned concepts will be adopted concretely. ๓๔
พระองคห ญิงผทู รงปรชี าดา นภาษาอังกฤษ Her Royal Highness Princess also expressed her opinion that imprisonment should be thelast choice for female offenders as female inmates need to receive more proper treatment duringtheir imprisonment term than male inmates. Her royal Highness Princess Bajrakitiyabha alsomentioned the children of female inmates and that “when I visited Central Women’s CorrectionInstitute, Bangkok in 2001, I found many difficulties and inadequate care of children born tofemale inmates or children of female inmates. They received less love and care than otherchildren. I realized that the correction institutes need to provide better assistance and supportto pregnant inmates, inmates who are already mothers, and their children”. Moreover, Her RoyalHighness Princess Bajrakitiyabha indicated that imprisonment of mothers with young childrenseemed to indirectly punish the children as they lacked opportunities to live and learn like otherchildren outside of the prison setting. Her Royal Highness’s speech showed much sympathy. ๓๕
พระองคห ญิงผูทรงปรีชาดานภาษาอังกฤษ HRH Princess Bajarakittiyabha further stated that the “Kamlangjai Project was foundedunder her initiative in 2006. The project reaches out to incarcerated Thai women to provideaid during imprisonment, and to prepare them to be good citizens of society upon release.The project emphasizes help for pregnant prisoners and their babies, ensuring that the prisonersare given occupational training for equal opportunity and that the babies are given adequate healthcare”. HRH Princess Bajarakittiyabha’s devotion affirms her theoretical and practical masteryin consolidating the focus of her ideas into tangible rehabilitation and reintegration programs inThailand. Consequently, the Main Committees of the General Assembly are enamored of heravid dedication to the improvement of Thai women prisoners’ life conditions. Although Thailandherself may seem to be a small, perhaps insignificant, country, HRH Princess Bajarakittiyabha’s ardent support for the betterment of overall operations in prisons as well as correctionalprocedures for female prisoners has made it obvious that the country is determined to contributeto all inmates’ life transformation and to the upgrade of their civil rights, educational qualifications,and occupational skills, which will serve them well upon release. ๓๖
พระองคห ญิงผูทรงปรชี าดา นภาษาองั กฤษ In addition to the aforementioned speech, HRH Princess Bajarakittiyabha has deliveredmany other speeches, presided over numerous opening ceremonies, and granted variousinterviews, all of which have highlighted her excellent English language proficiency and herextraordinary communication skills, which contribute great benefits to both Thai citizens and tohumankind. ๓๗
พระองคห ญงิ ผทู รงปรีชาดา นภาษาอังกฤษ บรรณานกุ รมวกิ พิ เี ดยี สารานกุ รมเสร.ี (2561). พระเจา หลานเธอ พระองคเ จา พชั รกติ ยิ าภา. คน เมอ่ื 24 พฤษภาคม 2561, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/พระเจาหลานเธอ_พระองคเ จาพัชรกติ ิยาภาBajrakitiyabha Mahidol, Her Royal Highness Princess. (n.d.). Special Lecture: Putting The Bangkok Rules into Practice: A Framework for International Cooperation. Retrieved 17 August 2018, from https://www.unafei.or.jp/publications/pdf/RS_No90/No90_08SL_Princess.pdf.
พระองคหญงิ ผูทรงปรชี าดานภาษาอังกฤษคณะผจู ดั ทาํนายวรี ะศกั ด์ิ วงษส มบตั ิ นายกสภามหาวทิ ยาลยั ทป่ี รกึ ษารองศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ปน ปฐมรฐันายวริ ชั โหตระไวศยะ อธกิ ารบดี ทป่ี รกึ ษาผชู ว ยศาสตราจารยร งุ ฤดี อภวิ ฒั นศรผชู ว ยศาสตราจารยส รุ วงค ศรสี วุ จั ฉรยี รองอธกิ ารบดี ทป่ี รกึ ษาผชู ว ยศาสตราจารย ดร. ปารชิ าต คลน่ื สวุ รรณผชู ว ยศาสตราจารยไ พศาล สขุ เกษม คณบดคี ณะศลิ ปศาสตร ประธานกรรมการผชู ว ยศาสตราจารย ดร.กนั ทรนิ รกั ษส าครผชู ว ยศาสตราจารยน พรตั น พเิ ภก รองประธานผชู ว ยศาสตราจารยส ายฝน บชู านายโสภณ สาทรสมั ฤทธผ์ิ ล รองประธานนายฌานศิ วงศส วุ รรณนางสาวปารฉิ ตั ร พยงุ ศรี รองประธานนางสาวกนกวรรณ กศุ ลวตั รนายกอ งเกยี รติ คณุ าสถติ ยช ยั กรรมการนายธนั ยพงศ ปานอาํ ไพนายรฐั บรู ณ ชายผา กรรมการMr.Gary Vernon Mc GillMr.Olaf Black กรรมการดร.วสิ ทุ ธ์ิ สนี วล กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานกุ าร
พระองคหญงิ ผทู รงปรชี าดานภาษาอังกฤษ บรรณาธกิ ารบรหิ าร ผชู ว ยศาสตราจารยร งุ ฤดี อภวิ ฒั นศร กองบรรณาธกิ าร ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.กนั ทรนิ รกั ษส าคร ผชู ว ยศาสตราจารยน พรตั น พเิ ภก ผชู ว ยศาสตราจารยส ายฝน บชู า นายโสภณ สาทรสมั ฤทธผ์ิ ล นายฌานศิ วงศส วุ รรณ นางสาวปารฉิ ตั ร พยงุ ศรี นางสาวกนกวรรณ กศุ ลวตั ร นายกอ งเกยี รติ คณุ าสถติ ยช ยั นายธนั ยพงศ ปานอาํ ไพ นายรฐั บรู ณ ชายผา Mr.Gary Vernon Mc Gill Mr.Olaf Black ดร.วสิ ทุ ธ์ิ สนี วล ฝา ยศลิ ปอ อกแบบปกและรปู เลม นางสาววภิ าพร เกษม ประสานงานและจดั พมิ พต น ฉบบั นางณฐั ชา กรี ตกิ าํ จร พมิ พ : บรษิ ทั ดา นสทุ ธาการพมิ พ จาํ กดั๓๐๗ ซอยลาดพรา ว ๘๗ ถนนลาดพรา ว แขวงคลองเจา คณุ สงิ ห เขตวงั ทองหลาง กรงุ เทพฯ ๑๐๓๑๐ โทร. ๐๒ - ๙๖๖ - ๑๖๐๐ - ๖ โทรสาร. ๐๒ - ๙๖๖ - ๑๖๐๙
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: