Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Workshop07

Workshop07

Published by วันวิสา จุมพล, 2021-12-16 04:23:58

Description: Workshop07

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 6 สีในสื่อส่ิงพมิ พ์ หัวข้อเรื่อง 6.1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั สี 6.2 ทฤษฎีสี 6.3 การประยกุ ตใ์ ชส้ ีใหส้ อดคลอ้ งกบั เป้าหมายของการออกแบบ 6.4 ระบบสี 6.5 โหมดสีในโปรแกรม 6.6 การใส่สีวตั ถุ 6.7 การใส่สีดว้ ยเครื่องมือ 6.8 การระบายสีแบบไลโ่ ทน 6.9 การสร้างภาพโปร่งแสง สมรรถนะย่อย การแสดงความรู้เก่ียวกบั สี่สี่ในส่ือสิ่งพิมพ์ การออกแบบสีไหนสื่อสิ่งพิมพต์ ามแบบท่ีกาหนด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทัว่ ไป เพ่ือให้ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความรู้เบ้ืองตน้ ของสีทฤษฎีสีการใชส้ ีกบั งาน ออกแบบระบบสี่โหมดสีการใส่สีวตั ถุการใส่สีรูปภาพดว้ ยเครื่องมืออา้ ยดอกเพอ้ ทลู การระบายสี แบบไลโ่ ทนและการสร้างภาพโปรงแสง

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1.อธิบายความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั สีได้ 2.อธิบายหลกั การใชส้ ีในงานออกแบบและนาหลกั การต่างๆของสีไปใชใ้ นงานออกแบบได้ 3. อธิบายเก่ียวกบั ระบบส่ีได้ 4. อธิบายการเลือกใชโ้ หมดสีในการทางานได้ 5. เลือกใชห้ มสู ีในการทางานดว้ ยโปรแกรมอะโดบีอินดีไซน์ซีเอสหกได้ 6. อธิบายการใชเ้ ครื่องมือในการเติมสีและเรียกใชเ้ คร่ืองมือในการเติมสีใหก้ บั วตั ถุใด 7. เติมสีใหก้ บั วตั ถดุ ว้ ยคดั เลือกฟิ กเกอร์กล่องเครื่องมือผา่ นแนวคลั เลอร์และผา่ นแนวสวอทชเ์ ชต ได้ 8. เติมสีวตั ถุดว้ ยการใชเ้ คร่ืองมืออา้ ยดอกพลอร์ได 9.ระบายสีแบบไลโ่ ทนให้วตั ถุผา่ นแนวเกรเดียนและเคร่ืองมือเกรเดียนสวอทชท์ ูลได้ 10 อธิบายการสร้างภาพโปรงแสงดว้ ยผา้ แนวเอฟเฟคได้ 11.สร้างภาพโกงแสงดว้ ยผา้ แนวเอฟเฟค 12.มีเจตคติท่ีดีตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการตรงตอ่ เวลาต้งั ใจทางานรอบคอบมี วินยั และปรับปรุงแกไ้ ขเมื่อผิดพลาด เนื้อหาสาระ โลกถกู จรรโลงและแตง่ แตม้ ดว้ ยสีสนั ท่ีหลากหลายท้งั สีสนั ตามธรรมชาติและสีสนั ท่ีมนุษย์ รังสรรคข์ ้ึนหากโลกน้ีไมม่ ีสีหรือมนุษยไ์ ม่สามารถรับรู้เก่ียวกบั สีไดส้ ่ิงน้นั อาจเป็นปัญหา ความบกพร่องที่ย่งิ ใหญข่ องธรรมชาติ พส่ีมีความสาคญั ต่อวฏั จกั รแห่งโลกและเก่ียวขอ้ งกบั วิถีชีวิตมนุษยจ์ นแยกกนั ไมอ่ อกมนุษยไ์ ดต้ ระหนกั แลว้ วา่ สีน้นั ส่งผลต่อความรู้สึกนึกคดิ อารมณ์จินตนาการและการส่ือความหมายและความสาคญั สาราญใจในชีวิตประจาวนั ดงั น้นั จึงอาจกล่าวไดว้ ่ามีสีมีอิทธิพลตอ่ มนุษยเ์ ป็นอยา่ งมากและมนุษยก์ ็ใชป้ ระโยชนจ์ ากสี่อยา่ ง อเนกอนนั ต์ ไดใ้ นการสร้างสรรคส์ ่ิงต่างๆอยา่ งไม่มีท่ีส้ินสุด

6.1ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกี่ยวกบั สี 6.1.1 ความหมายของสี สีเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่หนา้ มหศั จรรยม์ ีอยใู่ นแสงแดดเป็นคลื่นแสงชนิดหน่ึง ที่จะปรากฏให้ เห็นเม่ือแรงสองพนั ละอองน้าในอากาศและเกิดการหกั ฮ้ีเกิดเป็นแถบสีต่างๆเจ็ดส่ีเรียงติดกนั เรียกแถบสี ท่ีเรียงติดกนั น้ีว่าสเปคต่าลกั ษณะเป็นสีรุ้งให้เห็นนายทอ้ งฟ้าคือสีมว่ งสีม่วงน้าเงินสีน้าเงินสีเขียวสี เหลืองสีสม้ และสีแดง แต่ละสีมีความถ่ีของคล่ืนแสงไมเ่ ท่ากนั สีแดงมีความท่ีต่าท่ีสุด และมีชว่ งคล่ืน ยาวที่สุด คล่ืนแสงจะมีความถ่ีสูงข้ึนเร่ือยๆ จากสีแดงไปสีสม้ จนถึงสีม่วงท่ีมีความถี่สูงสุดคลื่นแสงมี ความต่ามากกวา่ สีแดงหรือสูงกว่าสีม่วงยงั มีอยอู่ ีกมากมาย เชน่ แสงอินฟาเลท่ีมีความถี่ต่ากว่าสีแดงหรือ แสงอลั ตร้าไวโอเลตสีหรือ Color ตามพจนานุกรมฉบบั พระราชบณั ฑิยสถาน พ.ศ 2542 หมายถึง ลกั ษณะของสีท่ีปรากฏแก่สายตาใหเ้ ป็นสีขาวสีดาสีแดงสีเขียวเชน่ สีทาบา้ นสียอ้ มผา้ เป็นตน้ สีในทาง วิทยาศาสตร์หมายถึงคล่ืนแสงความเขม้ ของสีในสายตาสามารถมองเห็นสีในทางศิลปะสีหมายถึง ทศั น ธาตอุ ยา่ งหน่ึงที่เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของงานศิลปะและใชใ้ นการสร้างงานศิลปะโดยจะทาให้ผลงาน มีความสวยงามชว่ ยสร้างบรรยากาศมีความสมจริงเดน่ ชดั และน่าสนใจมากข้ึนทศั นธาตหุ มายถึง ส่วนประกอบของศิลปะท่ีมองเห็นไดป้ ระกอบดว้ ยจุดเสน้ รูปร่างรูปทรง

6.1.2 ความสาคัญของสี สีเป็นองคป์ ระกอบสาคญั อยา่ งหน่ึงทางดา้ นงานศิลปะมีอิทธิพลตอ่ ความรู้สึกอารมณ์และจิตใจไดม้ ากกวา่ องคป์ ระกอบอื่นๆในชีวิตของมนุษยม์ ีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กบั ส่ิงต่างๆอยา่ งแยกไมอ่ อกโดยสามารถ นาไปใชใ้ นดา้ นตา่ งๆดงั น้ี 1 ใชใ้ นการจาแนกสิ่งต่างๆเพื่อใหเ้ ห็นชดั เจน 2 ใชใ้ นการจดั องคป์ ระกอบสิ่ง ต่างๆเพ่ือให้เห็นความสวยงามกลมกลืนเช่นการแต่งกายการจดั ตกแตง่ บา้ นเป็นตน้ 3 ใชใ้ นการจบั กมุ จดั พวกดว้ ยการใชส้ ีต่างๆเช่นสีเครื่องแบบต่างๆสีของกล่มุ คณะเป็นตน้ 4 ใชใ้ นการส่ือความหมายเป็น สญั ลกั ษณ์หรือใชบ้ อกเลา่ เร่ืองราว 5 ใชใ้ นการสร้างสรรคง์ านศิลปะเพ่ือให้เกิดความสวยงามสร้าง บรรยากาศสมจริงและความน่าสนใจ 6 เป็นองคป์ ระกอบในการมองเห็นส่ิงต่างๆของมนุษย์ 6.1.3 ประเภทของสี สีมีอยทู่ วั่ ไปในสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั เราสีที่ปรากฏอยใู่ นโลกสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ 1.สีที่เกิดในธรรมชาติมีอยู่ 2 ชนิดคือ สีที่เป็นแสงคือสีที่เกิดจากการหกั เหของแสงเช่นสายรุ้งสีจากแทง่ แกว้ ปริซึมเป็นตน้ 2 สีท่ีอยใู่ นวตั ถหุ รือเน้ือสีคอื สีที่มีอยใู่ นวตั ถุตามธรรมชาติทว่ั ไปเชน่ สีของพืชสตั วห์ รือแร่ตา่ งๆเป็นตน้

สีท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน สีที่ไดจ้ ากการสงั เคราะห์ เพื่อใชป้ ระโยชน์ในงานตา่ งๆ ไดแ้ ก่ งานศิลปะ อุตสาหกรรม การพาณิชย์ และใชช้ ีวิตประจาวนั โดนสงั เคราะห์จากวสั ดุธรรมชาติ และจากสารเคมี ที่เรียกว่า สีวิทยาศาสตร์ ซ่ึงสีที่ไดจ้ ากการสงั เคราะห์สามารถนามาผสมกนั ใหเ้ กิดเป็นสี ตา่ งๆ ไดอ้ ีกมากมาย 6.1.4 ประโยชน์ของสี 1.ภาพสีทาให้เกิดความน่าสนใจมากกวา่ ภาพขาวดา 2.สีชว่ ยทาให้ภาพมีลกั ษณะเสมือนจริง 3.สีทาให้ผดู้ รู ู้สึกเกิดอารมณ์ร่วมกบั งาน นกั ออกแบบจึงมกั ใชส้ ีเพื่อทาให้ผชู้ มเกิดความรู้สึกตามท่ี ตนตอ้ งการ 4.สีทาให้เกิดความเขา้ ใจ และสามารถจดจาภาพไดม้ ากกว่างานขาวดา 5.สีทาให้เกิดความประทบั ใจแก่ผดู้ ู 6.2 ทฤษฎีสี ในสมยั เริ่มแรก มนุษยร์ ู้จกั ใชส้ ีเพียงไมก่ ่ีสี สีเราน้นั ไดม้ าจากพืช สตั ว์ ดิน แร่ธาตตุ า่ งๆ เป็นสิ่งท่ีพบ ทวั่ ไปในธรรมชาติ ตอ่ มาเมื่อมนุษยม์ ีวิวฒั นาการมากข้ึน สีจึงไดถ้ ูกนามาใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวางจาก เดิมที่เคยใชส้ ีเพียงไม่ก่ีสีเป็นสีตามธรรมชาติ ไดน้ ามาซ่ึงการประดิษฐ์ คิดคน้ และผลิตสีใหม่ๆ ออกมาเป็นจานวนมากทาใหเ้ กิดการสร้างสรรคค์ วามงามอยา่ งไม่มีขีดจากดั

6.2.1 ความหมายของทฤษฎีสีทฤษฎีสีหมายถึงลกั ษณะการกระทบตอ่ สายตาให้เกิดเป็นสีมีผลถึง จิตวิทยาคือมีอานาจใหเ้ กิดความเขม้ ของแสงที่กระตนุ้ อารมณ์และความรู้สึกการท่ีไดเ้ ห็นสีดว้ ย สายตากจ็ ะส่งความรู้สึกไปยงั สมองทาให้เกิดความรู้สึกต่างๆตามอิทธิพลของสีอยา่ งเชน่ สดช่ืนร้อน หนาวต่ืนเตน้ เศร้าเป็นตน้ สีที่มีความหมายอยา่ งมากเพราะศิลปิ นตอ้ งการให้สีเป็นสื่อสร้างความ ประทบั ใจในผลงานของศิลปะและสะทอ้ นความประทบั ใจน้นั ให้แก่ผดู้ มู นุษยเ์ กี่ยวขอ้ งกบั สีตา่ งๆอยู่ ตลอดเวลาเพราะทุกส่ิงท่ีอยรู่ อบตวั น้นั ลว้ นมีสีแตกตา่ งกนั มากมาย 6.2.2 แสงสีกับการมองสีทีเ่ รามองเห็น สามารถเปลี่ยนไปตามสภาพแวดลอ้ มของสีและสภาพของแสงโดยในที่ท่ีมีแสงสวา่ งจดั ๆ สีจะดู อ่อนหรือจืดจางลง แต่ถา้ เป็นในท่ีที่มีแสงสวา่ งนอ้ ยลงสีท่ีเรามองเห็นกจ็ ะเขม้ ข้ึนและในท่ีไม่มีแสง สว่างเลยเราก็จะมองเห็นสีตา่ ง ๆ เป็นสีดาถึงแมจ้ ะมีความเขม้ ของแสงเหมือนกนั แต่ถา้ มี สภาพแวดลอ้ มของสีท่ีแตกตา่ งกนั เช่นสีแสดท่ีอยบู่ นพ้ืนสีดาจะดูออ่ นกวา่ สีแสดที่อยบู่ นพ้ืนสีขาว และสีท่ีอยบู่ นพ้ืนสีท่ีต่างกนั จะดูมีความเขม้ ตา่ งกนั สีที่อยบู่ นพ้ืนสีเขม้ จะมองเห็นเด่นชดั กวา่ สีที่อยู่ บนพ้ืนสีสวา่ งเป็นตน้ 6.3 หลักการประยุกต์ใช้สีให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการออกแบบ ในงานออกแบบหรือการจดั ภาพหากผใู้ ชร้ ู้จกั ใชส้ ีให้มีสภาพโดยรวมเป็นวรรณะร้อนหรือวรรณะ เยน็ กจ็ ะสามารถควบคมุ และสร้างสรรคภ์ าพให้เกิดความประสานกลมกลืนงดงามไดง้ ่ายข้ึนเพราะสี มีอิทธิพลต่อมวลปริมาตรและชอ่ งว่างที่มีคณุ สมบตั ิที่ทาให้เกิดความกลมกลืนหรือขดั แยง้ ได้ สามารถขบั เนน้ ให้ให้เกิดจุดเดน่ และการรวมกนั ให้เกิดเป็นหน่วยเดียวกนั ไดผ้ ใู้ ชส้ ีตอ้ งนาหลกั การ ตา่ ง ๆ ของสีไปกบั เป้าหมายในงานเพราะสีมีผลตอ่ การออกแบบคอื เมื่อตอ้ งนาหลกั การต่าง ๆ ของสี ไปประยกุ ตใ์ ชส้ ีใหส้ อดคลอ้ งกบั เป้าหมายของการออกแบบมีผลต่อการออกแบบดงั น้ี

6.3.1 สร้างความรู้สึก สีจะใหค้ วามรู้สึกตอ่ ผพู้ บเห็นท่ีแตกต่างกนั ไปท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ประสบการณ์และภมู ิหลงั ของ แต่ละคน สีบางสีสามารถรักษาบาบดั โรคจิตบางชนิดไดก้ ารใชส้ ีภายในหรือภายนอกอาคารจะมีผลต่อการ สมั ผสั และสร้างบรรยากาศได้ 6.3.2 สร้างความน่าสนใจ สีมีอิทธิพลต่องานศิลปะการออกแบบสีชว่ ยสร้างความประทบั ใจและความน่าสนใจเป็นอนั ดบั แรก ที่พบเห็น 6.3.3 สีบอกสัญลกั ษณ์ของวตั ถุ ซ่ึงเกิดจากประสบการณ์หรือภูมิหลงั เชน่ สีแดงสญั ลกั ษณ์ของไฟหรืออนั ตรายสีเขียวสญั ลกั ษณ์แทน พีชหรือความปลอดภยั เป็นตน้ 6.3.4 สีช่วยให้เกิดการรับรู้และจดจา งานศิลปะการออกแบบตอ้ งการใหผ้ พู้ บเห็นเกิดการจดจาในรูปแบบและผลงานหรือเกิดความ ประทบั ใจการใชส้ ีจะตอ้ งสะดดุ ตาและมีเอกภาพ 6.3.5 สีช่วยให้เกดิ ทศั นวสิ ัยทดี่ เี ม่ือนามาใช้งานร่วมกันดังนี้ 1. สีออ่ นตดั กบั สีแก่ 2. สีออ่ นติดกบั สีสดใส 3. สีอนุ่ ตดั กบั สีเยน็ 4. สีท่ีตดั กนั เองอยแู่ ลว้ ตามปกติ ไดแ้ ก่ (1) สีดาบนพ้ืนเหลือง (2) สีเหลืองบนพ้ืนดา

(3) สีแดงบนพ้ืนขาว 4 (4) สีเหลืองบนพ้ืนน้าเงิน (5) สีสม้ บนพ้ืนน้าตาล (6) สีชมพูบนพ้ืนดา 6.4 ระบบสี การใชส้ ีกบั งานกราฟิ กในคอมพิวเตอร์มีรายละเอียดหลายอยา่ งท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะระบบสีของ คอมพิวเตอร์ (Color Model) จะเก่ยี วขอ้ งกบั การแสดงผลแสงท่แี สดงบนจอคอมพิวเตอรโ์ ดยมี ลกั ษณะการแสดงผลคอื ถา้ ไม่มแี สดงผลสใี ดเลยบนจอภาพจะแสดงเป็นสดี าหากสที กุ สแี สดงผล พรอ้ มกนั จะเหน็ สบี นจอภาพเป็นสขี าวสว่ นสอี ่นื ๆ เกดิ จากการแสดงสหี ลาย ๆ สี แต่มีค่าแตกต่างกนั สีที่ใชใ้ นดา้ นกราฟิ กทวั่ ไปมี 4 ระบบ 6.4.1 ระบบสีอาร์จบี ี (RGB = Read, Green, Blue) ระบบสอี ารจ์ ีบเี ป็นระบบสขี องแสงซ่งึ เกดิ จากการหกั เหของแสงผ่านแทง่ แกว้ ปริซมึ จะเกิดแถบสที ่ี เรียกว่าสรี ุง้ (Spectrum) ซง่ึ แยกสตี ามท่สี ายตามองเหน็ ได้ 7 สคี อื แดงแสดเหลอื งเขยี วนา้ เงนิ คราม ม่วงซ่งึ เป็นพลงั งานอยใู่ นรูปของรงั สที ่มี ีชว่ งคล่นื ท่สี ายตาสามารถมองเหน็ ได้แสงสมี ว่ งมคี วามถ่คี ล่นื สงู ท่สี ดุ คลน่ื แสงท่มี ีความถ่สี งู กว่าแสงสมี ว่ งเรียกว่าอลั ตราไวโอเลต (Ultra Violet) คลน่ื แสงสแี ดงมี ความถ่คี ลน่ื ต่าท่สี ดุ คลน่ื แสงท่ตี ่ากวา่ แสงสแี ดงเรียกว่าอินฟราเรด (Infrared) คลน่ื แสงท่มี คี วามถ่สี งู กวา่ สมี ว่ งและต่ากวา่ สแี ดงนน้ั สายตาของมนษุ ยไ์ ม่สามารถรบั ไดแ้ ละเม่อื ศกึ ษาดูแลว้ แสงสที งั้ หมด เกดิ จากแสงสี 3 สคี ือสแี ดง (Red) สนี า้ เงนิ (Blue) และสเี ขียว (Green) ทงั้ สามสถี ือเป็นแม่สขี องแสง เม่อื นามาฉายรวมกนั จะทาใหเ้ กดิ สใี หม่อีก 3 สคี อื สแี ดงสฟี า้ และสเี หลอื งซ่งึ ถา้ ฉายแสงสที ง้ั หมด รวมกนั จะไดแ้ สงสขี าวจากคณุ สมบตั ขิ องแสงนไี้ ดน้ ามาใชป้ ระโยชนท์ ่วั ไปในการฉายภาพยนตรก์ าร บนั ทกึ ภาพวิดีโอภาพโทรทศั นก์ ารสรา้ งภาพเพ่อื ก.

6.4.2 ระบบซีเอม็ วายเค (CMYK = Cyan, Magenta, Yellow, Black) ระบบสีซีเอม็ วายเคเป็นระบบสีชนิดท่ีเป็นวตั ถคุ อื สีแดงเหลืองน้าเงิน แตไ่ มใ่ ช่สีน้าเงินที่เป็นแม่สีใน ระบบซีเอม็ วายเคเกิดจากการผสมของแมส่ ีของแสงคือแสงสีน้าเงิน + แสงสีเขียว-สีฟ้าแสงสีน้าเงิน + แสงสีแดง = แสงสีแดง + แสงสีเขียว-สีเหลืองสีแดงอมมว่ งสีฟ้าสีแดงอมม่วงและสีเหลืองนามาใชใ้ น ระบบการพิมพแ์ ละมีการเพ่ิมเติมสีดาเขา้ ไปเพ่ือใหม้ ีน้าหนกั เพิ่มข้ึนเมื่อรวมสีดา (Black = K) เขา้ ไปจงึ มีสสี โี ดยท่วั ไปจงึ เรียกระบบการพิมพว์ ่าระบบการพมิ พส์ ส่ี ซี ่งึ เป็นการพมิ พภ์ าพในระบบท่ที นั สมยั ท่สี ดุ และไดภ้ าพใกลเ้ คียงกบั ภาพถ่ายมากท่สี ดุ โดยทาการพิมพท์ ลี ะสจี ากสเี หลอื งสแี ดงสีนา้ เงนิ และสีดา ถา้ ลองใชแ้ วน่ ขยายสอ่ งดผู ลงานพมิ พช์ นิดนจี้ ะพบว่าเกดิ จากจดุ เลก็ ๆ ส่สี อี ยเู่ ต็มการท่สี ายตา มองเห็นภาพมีสตี ่าง ๆ ไดน้ นั้ นอกจากส่สี เี กิดจากการผสมของเมด็ สเี หลา่ นใี้ นปรมิ าณตา่ ง ๆ คดิ เป็น เปอรเ์ ซ็นตข์ องปริมาณเมด็ สซี ง่ึ กาหนดเป็น 10-20-30-40-50-60 70-80-90 จนถงึ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์

6.4.3 ระบบสีเอชเอสบี (HSB = Hue Saturation Brightness) ระบบสีเอชเอสบีเป็นระบบสีพ้ืนฐานในการมองเห็นดว้ ยของสายตามนุษยป์ ระกอบดว้ ยลกั ษณะของสี 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ฮิว (Hue) แซาวเรชนั (Saturation) และไบรตเ์ นส (Brightness) ฮิว (Hue) คือสตี ่าง ๆ ท่สี ะทอ้ นมาจากวตั ถแุ ลว้ เขา้ สสู่ ายตาทาใหส้ ามารถมองเหน็ วัตถเุ ป็นสตี า่ ง ๆ ไดซ้ ่งึ แตล่ ะสจี ะแตกตา่ งกนั ตามความยาวของคล่นื แสงท่มี ากระทบวตั ถแุ ละสะทอ้ นกลับท่ีสายตาฮวิ ถกู วดั โดยตาแหนง่ การแสดงสบี นมาตรฐานวงลอ้ (Standard Color Wheel) จะถกู แทนดว้ ยองศา 0 ถงึ 360 องศา แต่โดยท่วั ไปแลว้ มกั จะเรียกการแสดงนน้ั ๆ เป็นช่อื ของสเี ชน่ สเี ขยี วสีแดงสนี า้ เงนิ เป็น ตน้ 2. แซตทวิ เรช่ัน (Saturation) คือความสดของสีโดยค่าความสดของสีจะเร่ิมที่ 0 ถึง100 ถา้ กาหนด แซวเรชนั่ ท่ี 6 สีจะมีความสดนอ้ ย แตถ่ า้ กาหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก.ถา้ ถกู วดั โดยตาแหน่งบน มาตรฐานวงลอ้ สคี ่าแซตทิวเรชนั จะเพ่มิ ขนึ้ จากจดุ กง่ึ กลางจนถงึ เสน้ ขอบโดยคา่ ท่ีเสน้ ขอบจะมีสที ่ี ชดั เจนและอ่มิ ตวั ท่สี ดุ 3. ไบรต์เนส (Brightness) คือระดบั ความสว่างของสีโดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 2 ถึง 100 ถา้ กาหนดที่ 0 ความสวา่ งจะนอ้ ยซ่ึงจะเป็นสีดา แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 สีจะมีความสว่างมากท่ีสุด

ยิง่ มีค่าไบรตเ์ นสมากจะทาใหส้ ีน้นั สว่างมากข้ึนเชน่ การเพ่ิมปริมาณสีดาเขา้ ไปในสีน้นั ใหด้ เู ขม้ ข้ึน ไดแ้ ก่ การทาสีแดงอิฐเม่ือเติมลงไปในสีแดงจะเกิดความเขม้ ของสีเป็นสีแดงอิฐเป็นตน้ 2. แซตทวิ เรชั่น (Saturation) คือความสดของสโี ดยคา่ ความสดของสจี ะเร่มิ ท่ี 0 ถงึ 100 ถา้ กาหนดแซวเรช่นั ท่ี 6 สจี ะมคี วามสด นอ้ ย แต่ถา้ กาหนดท่ี 100 สจี ะมคี วามสดมากถา้ ถกู วดั โดยตาแหน่งบนมาตรฐานวงลอ้ สคี า่ แซต ทิวเรชนั จะเพ่ิมขนึ้ จากจดุ กง่ึ กลางจนถงึ เสน้ ขอบโดยค่าท่เี สน้ ขอบจะมีสที ่ชี ัดเจนและอ่มิ ตวั ท่สี ดุ 3. ไบรตเ์ นส (Brightness) คอื ระดบั ความสว่างของสโี ดยค่าความสวา่ งของสจี ะเร่มิ ท่ี 2 ถงึ 100 ถา้ กาหนดท่ี 0 ความสวา่ งจะนอ้ ยซ่งึ จะเป็นสดี า แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 สจี ะมคี วามสว่างมากท่สี ดุ ย่งิ มี คา่ ไบรตเ์ นสมากจะทาใหส้ นี น้ั สว่างมากขนึ้ เชน่ การเพ่มิ ปริมาณสดี าเขา้ ไปในสีนนั้ ใหด้ เู ขม้ ขนึ้ ไดแ้ ก่ การทาสแี ดงอิฐเม่อื เติมลงไปในสแี ดงจะเกดิ ความเขม้ ของสเี ป็นสแี ดงอิฐเป็นตน้ 6.4.4 ระบบสแอลเอบี (LAB) ระบบสแี อลเอบเี ป็นค่าสที ่กี าหนดขนึ้ โดยซไี อดี (CIE = Commission Internationale de ครอบคลมุ ทกุ สใี นอารจ์ ีบี (RGB) และซีเอม็ Eclairage) ใหเ้ ป็นมาตรฐานกลางของ การวดั สที กุ รูปแบบวายเค (CMYK) และใชไ้ ดก้ บั สที ่เี กิดจากอปุ กรณท์ กุ อย่างเช่นจอภาพ เคร่อื งพมิ พส์ แกนเนอรเ์ ป็นตน้ สว่ นประกอบของโหมดสี ไดแ้ ก่ แอล (L) หรือลมู ินานซ์ (Luminance) เป็นการกาหนดความสว่างซ่งึ มคี ่าตงั้ แต่ 0 ถงึ 100 ถา้ กาหนด ท่ี 0 จะกลายเป็นสดี า แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 จะเป็นสขี าวเอ (A) เป็นค่าของสที ่ไี ลจ่ ากสเี ขียวไปยงั สแี ดงบี (B) เป็นค่าของสที ่ไี ลจ่ ากสนี า้ เงินไปถงึ เหลอื ง

การใช้โหมดสีในโปแกรมอโดบีอินดีไซน์ซีเอส 6 มีจานวน 3 โหมด ไดแ้ ก่ โหมดสีอาร์จีบี (RGB โหมด สซี เี อ็มวายเค (CMYK) และโหมดสแี อลเอบี (Lab) 6.5.1 โหมดอาจบี ี (RGB) โหมดสีอาร์จีบีมีการกาหนดค่าความเขม้ ของสี 3 สีคือสีแดงสีเขียวและสีน้าเงินที่มาผสมกนั ทาให้เกิดสี ต่าง ๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ลา้ นสีซ่ึงใกลเ้ คียงกบั ทสี่ ายตาสามารถมองเห็นไดป้ กติสีท่ีได้ จากการผสมน้ีจะข้ึนอยกู่ บั ความเขม้ ของสีโดยถา้ มีความเขม้ มากเมื่อนามาผสมกนั จะทาให้เกิดเป็นสี ขาวเรียกระบบสีน้ีวา่ การผสมสีแบบบวก (Additive) ภาพท่อี ย่ใู นโหมดอารจ์ จี ะเป็นการซอ้ นสหี ลกั 3 ชน้ั สามารถมองทะลผุ ่าน 3 สจี นกลายเป็นภาพ 6.5.2 โหมดสีซีเอ็มวายเค (CMYK) โหมดสซี เี อ็มวายเคมกี ารกาหนดค่าสจี ากเปอรเ์ ซน็ ตค์ วามเขม้ ของสมี าสผมกนั 4 สคี อื สฟี า้ สบี านเย็น สเี หลอื งและสดี าหรือสขี าวเป็นระบบสที ่ใี ชก้ บั เคร่อื งพมิ พท์ ่พี มิ พอ์ อกทางกระดาษหรือวสั ดุผวิ เรียบ อ่ืน ๆ การนาสีมาผสมกนั จะเกิดเป็นสีดา แต่จะไมด่ าสนิทเน่ืองจากหมึกพิมพม์ ีความไมบ่ ริสุทธ์ิจึงเป็น การผสมสีแบบลบ (Subtractive)

6.5.3 โหมดแอลเอบี (Lab) การใชโ้ หมดแอลเอบี (Lab) มีค่า 3 คา่ ท่ผี ใู้ ชต้ อ้ งกาหนดคอื ค่าความสวา่ ง (L) สว่ นประกอบท่แี สดง การไลส่ จี ากสเี ขยี วไปถงึ สแี ดง (a) และสว่ นประกอบท่แี สดงการไลส่ จี ากสนี า้ เงินไปถึงสเี หลอื ง (5) 6.5.4 การเปลี่ยนโหมดสีของวตั ถุ การเปลี่ยนการทางานของโหมดสีผใู้ ชส้ ามารถทาการเปลี่ยนไดด้ ว้ ยการใชพ้ าเนลคลั เลอร์ (Panel Color) ดงั ขน้ั ตอนต่อไปนี้

1. คลิกเลือกพาเนลคลั เลอร์ 2. คลิกเลือกสญั ลกั ษณ์ 3. เลือกโหมดสีท่ีตอ้ งการ ไดแ้ ก่ แอลเอบี (LAB) ซเี อ็มวายเค (CMYK) และอารจ์ บี ี (RGB) 6.6.1 การใส่วตั ถุ จากกล่องเคร่ืองมือการใส่สีวตั ถจุ ากกลอ่ งเครื่องมือประกอบดว้ ย6.6 การใส่สีวตั ถุเม่ือผใู้ ชส้ ร้างวตั ถุ ไดต้ ามตอ้ งการแลว้ การเพ่ิมสีสนั ใหว้ ตั ถุมีความสวยงามสามารถใส่สีพ้ืน(Filt และเสน้ (Stroke) คลั เลอรฟ์ ิ กเกอร์ (Color Picker) จากกลอ่ งเคร่อื งมือพาเนลคลั เลอร์ (Panel Color) 6.6.1 การใส่สีวัตถุจากกล่องเครอื่ งมอื การใส่สีวตั ถุจากกลอ่ งเคร่ืองมือ ประกอบดว้ ย

6.6.2 การใส่สีวตั ถุจากคลั เลอร์ฟิ กเกอร์ (Color Picker) 1. คลกิ เลอื กวตั ถทุ ่ตี อ้ งการใสส่ ี 2. คลิกเลือกสีพ้ืนและสีเสน้ จากกล่องเคร่ืองมือ 3. ปรากฏหนา้ ตา่ งคลั เลอร์ฟิ กเกอร์ 4. คลิกเพ่ือกาหนดคา่ สีหรือเลื่อนสไลดเ์ พื่อเลือกโทนสีเลือก 5. กาหนดคา่ สีสาหรับส่ิงพิมพห์ รือกาหนดคา่ สีสาหรับเวบ็ ไซต์ 6. แสดงโทนสีทีเลือก 7. คลิกตกลงเพ่ือเลือกใชส้ ีตามท่ีกาหนดคา่ 8. จะไดว้ ตั ถมุ สี ที ่กี าหนด

6.6.3 การใส่สีวตั ถุจากพาเนลคลั เลอร์ (Panel Color) 1. คลิกเลือกวตั ถทุ ่ีตอ้ งการใส่สี 1.คลิกเลือกพาเนลคลั เลอร์ 3.กาหนดสีพ้ืนและสีเสน้ จากกลอ่ งเคร่ืองมือ 4. เลื่อนแถบสไลดเ์ พ่ือผสมสี 5. คลิกเลือกสีที่ตอ้ งการ 6. วตั ถุจะมีสีตามท่ีกาหนดค่าไว้

6.6.4 การใส่สีวตั ถุจากพาเนลสวอตเซส (Panel Swatches) 1. การเพม่ิ สีเขา้ ไปในพาเนลสวอตเชส (1) คลิกเลือกสีจากพาเนลคลั เลอร์ (2) คลิกเลือกที่สวอตเชส (3) คลิกเมาส์เพื่อเพิ่มสีในพาเนล (4) สีใหม่จะเพิ่มในพาเนลสวอตเชส

2. การลบสีออกจากพาเนลสวอตเชส (1) คลิกเลือกพาเนลสวอตเซสเลือกสีท่ี ตอ้ งการลบ (2) ลากสีที่ตอ้ งการลบมาที่ถงั ขยะ (3) สีท่ีตอ้ งการลบจะหายไปจากสวอตเชส

3. การใส่สีให้กับวตั ถุด้วยพาเนลสวอตเชส (1) คลิกเลือกวตั ถทุ ี่ตอ้ งการใส่สี (2) คลิกเลือกที่พาเนลสวอตเชส (3) คลิกเลือกสีที่ตอ้ งการ (4) วตั ถจุ ะมีสีตามที่กาหนด

6.7 การใส่สีด้วยเครื่องมืออายดร็อปเพอร์ทลู 1.คลกิ เลอื กวตั ถทุ ่ตี อ้ งการระบายสี 2. คลิกเลือกเคร่ืองมืออายดร็อปเฟอร์ทลู 3.เปิ ดไฟลภ์ าพเพ่ือใชเ้ ป็นสีตน้ แบบและคลิกเลือกสีจากภาพต้นแบบ 4. คลิกวตั ถุเพ่ือระบายสีวตั ถจุ ะมีสีเดียวกบั สีตน้ ฉบบั

6.8 การระบายสีแบบไล่โทน การระบายสีแบบไล่โทนสี (Gradient) จากสหี น่งึ ไปอีกสหี นง่ึ ผใู้ ชส้ ามารถกาหนดสแี ต่ละช่วงและมมุ ของ การไลโ่ ทนสโี ดยใชง้ านคกู่ นั ระหว่างพาเนลเกรเดียนต์ (Gradient Panel) และเคร่อื งมอื เกรเดียนตส์ วอตช์ ทลู (Gradient Swatch Tool) 1.การไล่โทนสีใหก้ ับวตั ถุ การเรียกใชพ้ าเนลเกรเดียนตไ์ ดด้ ว้ ยคาสงั่ วินโดว์ (Window)> เกรเดียนต์ (Gradient) พาเนลเกร เดยี นตม์ ีสว่ นประกอบดงั รูปท่ี 6.44

2. การเพม่ิ จดุ สี การเพ่ิมจุดสีในพาเนลเกรเดียนตส์ ามารถทาได้ 2 วิธีคือ วิธีท่ี 1 ใหค้ ลิกเพ่ิมจุดสีโดยกดคลิกเพิ่มจุดสีบนแถบเพ่ิมจุดสี GRADIENT วิธีที่ 2 ให้คลิกเลือกสีจากสวอตเซสโดย (1)คลิกเลือกพาเนลสวอตเชสเลือกสีท่ีตอ้ งการในพาเนลสวอตเชส (2) ลากสีที่เลือกวางบริเวณแถบเพิ่มจุดสีในพาเนลเกรเดียนต์

(3) จุดสีใหม่จะเพิ่มเขา้ มา 3. การลบจุดสี เม่ือตอ้ งการลบจุดสีบางจดุ สามารถทาไดด้ งั น้ี (1) คลิกจุดสีบนแถบเพ่ิมจุดสี (2) ลากจุดสีออกมาจุดสีจะถูกลบหายไป 4. การไล่โทนสีให้กบั วตั ถุด้วยพาเนลเกรเดยี นต์ (Panel Gradient) การกาหนดไล่โทนสีใหก้ บั วตั ถมุ ีข้นั ตอนการทาดงั น้ี (1) คลิกเลือกวตั ถุ

(2) กาหนดสีพ้ืนแบบไล่สีจากกล่องเคร่ืองมือ (3) ปรากฏพาเนลเกรเดียนตค์ ลิกเลือกลกั ษณะการไลส่ ี (4) คลิกจุดสีเพื่อกาหนดสีและคลิกเลือกสีท่ีตอ้ งการ (5) ปรากฏการไล่โทนสีบนวตั ถุท่ีเลือก

1.การไล่โทนสใี หก้ ับวัตถุดว้ ยเครือ่ งมอื เกรเดยี นตส์ วอตชท์ ลู (Gradient Swatch Tool) การไล่โทนสี่ดว้ ยเคร่ืองมือเกรเดียนตส์ วอตชท์ ูลเป็นการกาหนดทิศทางการกระจายตวั ของการ ไล่ 2 2 od โทนสมี ีขน้ั ตอนการทาดงั นี้ (1) คลิกเลือกวตั ถทุ ี่ตอ้ งการไลโ่ ทนสี (2) คลิกเลือกเครื่องมือเกรเดียนตส์ วอตชท์ ูล (3)คลิกลากเมาส์บนวตั ถุเพื่อเปลี่ยนจุดศูนยก์ ลางและการกระจายตวั ของสีใหม่ (4) สีของวตั ถุมีลกั ษณะแบบไล่โทนสีตามค่าท่ีกาหนด

6.9การสรา้ งภาพโปรง่ แสงการสร้างภาพโปร่งแสง (Opacity) เป็นการทาใหภ้ าพหรอื วตั ถทุ ่ซี อ้ นกนั อยมู่ ีความโปรง่ แสงใส เหมอื นกระจกสามารถมองผ่านเหน็ ทะลถุ งึ ภาพหรือวตั ถทุ ่อี ย่ดู า้ นหลงั สามารถทาได้ดงั นี้ การสร้างภาพโปร่งแสงด้วยพาเนล 1.คลิกเลือกวตั ถุ 2. คลิกเลือกพาเนลเอฟเฟ็กต์ (Panel Effects) 3. กาหนดค่าความโปร่งแสงของวตั ถุ 4. ผลลพั ธ์จะไดภ้ าพโปร่งแสงที่สามารถมองเห็นภาพดา้ นหลงั