Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร่างกายของเรา

ร่างกายของเรา

Published by nawamin.ng, 2021-06-18 03:44:10

Description: ร่างกายของเราออนไลน์

Search

Read the Text Version

รา่ งกายของเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1

ทบทวนความรเู้ ดมิ ลกั ษณะของสง่ิ มีชีวติ : มกี ารเจรญิ เตบิ โต, กนิ อาหารได,้ เคลอ่ื นไหวได,้ ขบั ถา่ ยได,้ มีการสบื พนั ธุ,์ มกี ารตอบสนอง และหายใจได้ สง่ิ มีชีวติ : พชื , สตั ว์ และคน คน : อวยั วะเหมอื น แบง่ ออกเป็น อวยั วะภายนอก,อวยั วะภายใน

อวยั วะของเรา Add a Slide Title - 1



อวยั วะภายนอก รา่ งกายของคนเราประกอบดว้ ย อวยั วะตา่ ง ๆ โดยอวยั วะท่ี เรามองเหน็ และสว่ นใหญ่มผี วิ หนงั หอ่ หมุ้ ไว้ เช่น แขน ขา ตา จมูก ปาก และผวิ หนงั เรยี กว่า อวยั วะภายนอก

ตา หนา้ ท่ี ใชม้ องส่งิ ตา่ ง ๆ หนงั ตาและขนตาไวป้ ้ องกนั อนั ตรายใหก้ บั ตา

หู หนา้ ท่ี ใชฟ้ งั เสยี งตา่ ง ๆ หปู ระกอบดว้ ย ใบหแู ละ รูหู ซ่ึงเป็นทางผ่านของเสยี ง ทาใหเ้ ราไดย้ นิ เสยี ง

จมกู หนา้ ท่ี หายใจและดมกล่นิ

ปาก หนา้ ท่ี พูดและกนิ อาหาร ปาก ประกอบดว้ ย ช่องปากและ รมิ ฝี ซ่ึงภายในช่องปากมฟี นั ไวใ้ ชเ้ ค้ยี วอาหาร และมลี ้นิ ไวร้ บั รสชาตขิ องอาหาร

แขนและมอื หนา้ ท่ี แขนไวช้ ่วยในการเคล่อื นไหวรา่ งกาย มือไวห้ ยบิ จบั ส่งิ ของตา่ ง ๆ แขนและมอื จงึ ทางานรว่ มกนั

ขาและเทา้ หนา้ ท่ี ขาไวช้ ่วยใหเ้ คล่อื นท่แี ละเทา้ ไวร้ บั น้าหนกั ตวั ขาและเทา้ จงึ ทางานรว่ มกนั

ผวิ หนงั หนา้ ท่ปี กคลมุ อยูท่ วั่ ร่างกายของเรา

อวยั วะภายใน

อวยั วะภายใน รา่ งกายของคนเรายงั มีอวยั วะท่เี รามองไม่เหน็ เพราะอยู่ ภายในตวั เรา เช่น สมอง หวั ใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้ เรยี กวา่ อวยั วะภายใน

สมอง หนา้ ท่ี ควบคมุ สงั่ การต่าง ๆ ของรา่ งกาย

ไต หนา้ ท่ี การสรา้ งปสั สาวะซ่ึงจะช่วยขบั ของเสยี

หวั ใจ หนา้ ท่สี ูบฉีดเลอื ดไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย

ปอด หนา้ ท่กี ารหายใจ

ตบั หนา้ ท่กี ารสรา้ งน้าดี กรองสารพษิ เกบ็ สารองอาหาร

กระเพาะอาหาร หนา้ ท่ผี ลติ น้าย่อย ย่อยโปรตนี

ลาไส้ หนา้ ท่ยี อ่ ยและดูดซมึ สารอาหาร

สรุป เร่ือง รา่ งกายของเรา รา่ งกายของเรา ประกอบดว้ ย อวยั วะภายนอก,อวยั วะภายใน อวยั วะภายนอก : ตา, ห,ู จมูก, ปาก, แขน, มือ, ขา, เทา้ และผิวหนงั อวยั วะภายใน : สมอง, ไต, หวั ใจ, ปอด, ตบั , กระเพาะอาหาร, ลาไส้

สรุป เร่อื ง ร่างกายของเรา อวยั วะตา่ ง ๆ ทางานร่วมกนั การอา่ นหนงั สอื ใช้ ตา, มอื และแขน, และปาก เป็นตน้

งานท่นี ักเรยี นจะต้องทา จงเตมิ ช่ืออวยั วะภายนอกและอวยั วะในใหถ้ กู ตอ้ ง อวยั วะภายนอก อวยั วะภายใน 1. 1. 2. 2. 3. 3. 4. 4. 5. 5. 6. 6. 7. 7.

งานท่ีนกั เรยี นจะต้องทา ใหน้ กั เรยี นเตมิ หนา้ ท่ขี องอวยั วะภายนอก อวยั วะ หนา้ ท่ขี องอวยั วะ 1. หู 2. ขาและเทา้ 3. จมูก 4. ตา 5. แขนและมือ 6. ปาก

การดูแลรกั ษาอวยั วะ อวยั วะแต่ละสว่ นของรา่ งกาย มีความสาคญั ตอ่ การดารงชีวติ ดงั น้นั เราจงึ ตอ้ งดูแลรกั ษาอวยั วะทกุ สว่ นใหถ้ กู วธิ ี เพอ่ื ใหม้ ี ความสะอาด และใหเ้ กดิ ความปลอดภยั กบั อวยั วะทกุ สว่ น

การดูแลรกั ษาดวงตา อา่ นหนงั สอื ในบรเิ วณท่มี ีแสงสวา่ งเพยี งพอ ลา้ งหนา้ กอ่ นนอนเพอ่ื ป้ องกนั สง่ิ สกปรกเขา้ ตา

การดูแลรกั ษาดวงตา ดูโทรทศั นห์ รอื โทรศพั ทใ์ นระยะหา่ งท่ีเหมาะสม ไม่ใชม้ อื สกปรกขย้ตี า

การดูแลรกั ษาหู ไม่ตะโกนใสห่ ขู องเพ่อื น ไม่ใชส้ ง่ิ ของหรอื ของแข็งแคะหู ใชผ้ า้ หรอื สาลเี ช็ดท่ใี บหเู บา ๆ หลงั อาบน้า

การดูแลรกั ษาจมูก ไม่สงั่ น้ามูกแรง ๆ ไม่ใชส้ ง่ิ ของหรอื ของแข็งแคะจมูก ไม่อยูใ่ นบรเิ วณท่มี ีควนั หรอื ฝ่ นุ ละอองมาก ๆ

การดูแลรกั ษาปาก แปรงฟันทกุ วนั วนั ละ 2 ครง้ั ไม่ใชฟ้ นั กดั ของแข็ง ๆ หรอื ใชฉ้ ีกถงุ ขนม หลงั กนิ อาหาร ควรบว้ นปากดว้ ยน้าสะอาด

การดูแลรกั ษาแขนและมอื ลา้ งมือและเลบ็ ใหส้ ะอาด ตดั เลบ็ มือใหส้ น้ั อยู่เสมอ (ผูป้ กครองตดั ให)้

การดูแลรกั ษาแขนและมือ ไม่กดั เลบ็ มอื ระมดั ระวงั ไม่ใหม้ อื ไดร้ บั บาดเจบ็

การดูแลรกั ษาขาและเทา้ ลา้ งเทา้ ใหส้ ะอาดและเช็ด ตดั เลบ็ เทา้ ใหส้ น้ั อยูเ่ สมอ สวมใสร่ องเทา้ กอ่ นเดนิ ออกนอกบา้ น เทา้ ใหแ้ หง้ อยูเ่ สมอ (ผูป้ กครองตดั ให)้

งานทนี่ กั เรียนจะตอ้ งทา เขียนอธิบายวธิ กี ารดูแลรกั ษาอวยั วะภายนอกของตนเอง อวยั วะ การดูแลรกั ษาอวยั วะ 1. ตา 2. จมูก 3. หู 4. ปาก 5. แขนและมอื 6. ขาและเทา้

บรรณานุกรม ขนษิ ฐา ชยั รัตนาวรรณ และจตุ ิมา จนั ทรต์ ระกูล. (2558). หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 (พิมพค์ รั้งท่ี 1). นนทบุรี: สานักพมิ พ์เอมพนั ธ์ จากัด. บัญชา แสนทวี นริศรา ศรเี คลือบ และชนิกานต์ นมุ่ มชี ัย. (2551). หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. พระนคร: สานกั พิมพว์ ัฒนาพานิช จากดั . สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ. (2559). ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: ผู้ แตง่ . พลอยทราย โอฮาม่า และมินตรา สิงหนาค. (2560). สื่อการเรียนรู้ รายวิชาพน้ื ฐาน ชดุ แม่บทมาตรฐาน Active learning วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 (พิมพค์ รงั้ ที่ 3). กรงุ เทพมหานคร: สานักอักษรเจริญทัศน์ จากดั .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook