Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แหล่งโบราณคดีจังหวัดนครราชสีมา

แหล่งโบราณคดีจังหวัดนครราชสีมา

Published by nanthan.nan1974, 2022-08-07 05:56:51

Description: แหล่งโบราณคดีจังหวัดนครราชสีมา

Search

Read the Text Version

แหล่งโบราณคดีในจังหวัดนครราชสมี า เปน็ บรเิ วณถิน่ ทป่ี รากฏโบราณวตั ถแุ ละโบราณสถานรวมไปถงึ หลักฐานและรอ่ งรอย ต่างๆทแี่ สดงใหท้ ราบวา่ มกี ารตัง้ ถิ่นฐานการอยูอ่ าศัยการทากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่มี อายุเก่ากว่า 1,000 ปีขึ้นไปในบริเวณพ้ืนทีข่ องจังหวัดนครราชสีมา ได้ปรากฏแหล่ง โบราณคดจี านวนมากซ่งึ เป็นผลสืบเนอื่ งมาจากสภาพภูมปิ ระเทศท่มี ีความอุดมสมบรู ณ์ สงู อนั เป็นปัจจยั สาคญั ในการตงั้ ถ่นิ ฐานของมนุษย์แหลง่ โบราณคดีสว่ นใหญ่ทพี่ บใน จงั หวัดนครราชสมี า

แหลง่ โบราณคดีในจังหวดั นครราชสมี า จะมลี ักษณะการต้งั ถนิ่ ฐานของชุมชนโบราณหลายยคุ หลายสมัยสืบเนอ่ื งตดิ ตอ่ กัน มาบางแห่งอาจมีร่องรอยต้งั แตส่ มยั กอ่ นประวัตศิ าสตรส์ ืบต่อมาเปน็ สายอารยธรรม ทวาราวดแี ละสายอารยธรรมเขมรตามลาดับแต่บางแหลง่ อาจปรากฏเพียงยคุ สมยั เดียวซ่งึ ข้นึ อย่กู บั สภาพพ้ืนที่วา่ มีความเหมาะสมตอ่ การตัง้ ถน่ิ ฐานหรอื ไมร่ วมทัง้ อาจมี ปจั จยั อนื่ ๆเป็นตัวกาหนการค้นพบหลกั ฐานทางโบราณคดีท่ีปรากฏในจงั หวัด นครราชสีมาสามารถจัดแบง่ ตามลักษณะของโบราณวัตถุและโบราณสถานออกเป็นกล่มุ ใหญ่ ดังนี้

แหลง่ โบราณคดสี มยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ ในพื้นที่จงั หวัด นครราชสมี า 1.มกี ารขุดพบเคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้สมยั หินเก่าทที่ าดว้ ยไมก้ ลายเปน็ หนิ ที่อาเภอสูงเนิน และพบกลุม่ หนิ ต้งั เป็นวงกลมทเ่ี รียกว่า “วฒั นธรรมหนิ ใหญ่อยทู่ ่ี บ้านหินตง้ั ตาบล โคราช อาเภอสูงเนนิ ซึ่งมอี ายุประมาณ 3,500-4,500 ปี ลกั ษณะของวฒั นธรรม หินตง้ั เป็นวงกลม คอื การนาเอาหนิ ขนาดใหญ่มาปักฝังลงในพื้นดินโดยวางตาแหน่งให้ จดั เรยี งเปน็ วงกลม สันนษิ ฐานว่าใช้เปน็ ที่ชุมนมุ หรือท่ฟี ้อนรา 2.ภาพเขียนสที เ่ี ขาจันทรง์ าม ตาบลลาดบัวขาว อาเภอสคี ว้ิ มีภาพทแ่ี สดงถึงการ ประกอบพิธีกรรมรว่ มกัน การดารงชีพทั่วไป แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การตงั้ ถน่ิ ฐานของชมุ ชน โบราณ

แหล่งโบราณคดสี มัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ในพนื้ ทจ่ี งั หวดั นครราชสมี า 3.แหล่งโบราณคดสี มยั กอ่ นประวัตศิ าสตรบ์ า้ นปราสาท มอี ายกุ วา่ 3000 ปี ปัจจุบนั ได้ จัดทาเป็นพพิ ิธภณั ฑ์กลางแจ้ง โดยคงสภาพหลมุ ขุดค้นและหลักฐานที่ขุดพบไวใ้ นสภาพ ที่เป็นจรงิ ตามท่ีขุดพบคร้ังแรก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและแหลง่ เรียนรูท้ างดา้ น โบราณคดที ่สี าคัญของจงั หวัดนครราชสีมา 4.แหล่งโบราณคดบี ้านโนนวดั อยู่ทีต่ าบลพลสงคราม อาเภอโนนสงู มกี ารขดุ ค้นซาก โบราณวัตถุ และโครงกระดูกมนษุ ยย์ คุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ อายุกวา่ 4,000 ปี ต้งั แต่ พ.ศ. 2547 และพบรอ่ งรอย หลกั ฐานอืน่ ๆจานวนมากเปน็ แหลง่ โบราณคดีทม่ี ีขนาด ใหญ่ทสี่ ุดในประเทศไทย โดยหลักฐานทงั้ หมดเกบ็ ไว้ทีพ่ ิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติพิมาย

แหล่งโบราณคดสี มยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ในพืน้ ทีจ่ ังหวดั นครราชสีมา 5.ชมุ ชนโบราณสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตรล์ กั ษณะเปน็ เนนิ ดินรปู ร่างรี และกลม หลกั ฐาน สว่ นใหญ่ที่พบคลา้ ยคลงึ กนั คือ เศษภาชนะดนิ เผา เคร่ืองประดบั หนิ โครงกระดูกมนษุ ย์ บริเวณทพ่ี บได้แก่ บา้ นสลกั ได บา้ นพทุ รา ตาบลรังกาใหญ่ อาเภอพิมายบ้านหนองบวั ตะเกยี ด ตาบลหนองบวั ตะเกียด อาเภอด่านขุนทดโนนบ้านกรนิ ตาบลโนนสูงอาเภอโนน สูงบ้านคอหงสอ์ าเภอโนนสงู บา้ นไร่ตาบลโนนทองหลางอาเภอบวั ใหญ่บ้านดงพลวง ตาบลหลมุ ข้าว อาเภอโนนสงู บา้ นหลมุ ข้าว ตาบลหลุมขา้ ว อาเภอโนนสูง และบา้ น สุกร ตาบลหนองหลกั อาเภอ ชุมพวง

แหล่งโบราณคดีสมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ในพืน้ ที่จงั หวัด นครราชสีมา 6.ชุมชนโบราณสมยั สมัยประวตั ศิ าสตร์ตอนตน้ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15-18 พบ รอ่ งรอยการต้ัง ถน่ิ ฐานหลายแหง่ เช่น บ้านโนนอุดม ตาบลโนนอดุ ม อาเภอชุมพวง / บ้าน เสมาใหญ่ ตาบลเสมาใหญ่ อาเภอบัวใหญ่ / บ้านดอนหนั ตาบลกดุ จอก อาเภอ บัวใหญ่ เปน็ ต้น

แหลง่ โบราณคดที ีเ่ ปน็ แหล่งทอ่ งเที่ยวสาคัญของจังหวดั นครราชสมี า 1.อุทยานประวตั ิศาสตรพ์ มิ าย อาเภอพิมาย 2.ปราสาทหนิ พนมวัน วัดพนมวนั ตาบลบ้านโพธิ์ อาเภอเมอื ง 3โบราณสถานกลุ่มอาเภอสูงเนินไดแ้ กว่ ัดธรรมจกั รเสมารามปราสาทหินเมอื งแขก ปราสาทโนนกปู่ ราสาทหินเมอื งเกา่ เมอื งเสมา 4.แหลง่ หินตดั สคี้ ิว้ อาเภอสคี ิ้ว 5.ปรางค์บา้ นพะโค ตาบลกระโทก อาเภอโชคชัย 6.ปรางค์ครบุรี อาเภอครบุรี 7.ถ้าวัวแดง บา้ นเฉลียงโคก ตาบลเฉลียง อาเภอครบุรี

แหล่งโบราณคดที ีเ่ ปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วสาคญั ของจงั หวดั นครราชสีมา 8.วัดปรางค์ บา้ นพุดซา ตาบลพุดซา อาเภอเมือง 9.ปราสาทนางรา บา้ นนางรา ตาบลนางรา อาเภอประทาย 10. อุทยานธรณโี คราช แหล่งท่องเทยี่ วเชิงธรณี แห่งแรกในอสี าน มหานครแห่งบรรพ ชวี ินเนน้ การอนุรกั ษ์รว่ มกับการท่องเท่ยี วเชิงธรณแี บบยั่งยืนอกี ทง้ั ยังเสนอต่อยูเนสโก เพื่อรบั รอง เปน็ The UNESCO triple crowns ไทยจะเปน็ 1 ใน 3 ประเทศ ของโลกทภี่ ายใน 1 จงั หวดั มีรูปแบบอนุรักษข์ องยูเนสโกครบทัง้ 3 โปรแกรม และสง่ิ นีก้ ็ สามารถนามาใช้ประโยชนเ์ รื่องการทอ่ งเท่ยี วไดอ้ ีกด้วย

ตวั อย่างแหล่งโบราณคดีของจังหวดั นครราชสมี า 1. ปราสาทหินพนมวัน

ตั้งอยูท่ ่ีบ้านมะค่า ตาบลบา้ นโพธิ์ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสมี าเดินทางไปตามถนน สายโคราช - ขอนแกน่ ระยะทางประมาณ 15 กโิ ลเมตรจะมีทางแยกขวาตลาดค้าสง่ โชค ทวีไปตามทางลาดยางอีก5 กโิ ลเมตร เปน็ โบราณสถานสมัยขอม สร้างราวพุทธ ศตวรรษที่ 16 - 17 เพ่อื เปน็ เทวสถาน ต่อมาภายหลังดัดแปลงเป็นพทุ ธสถานตัว ปราสาทหินผสมวัน สร้างเป็นปรางคม์ ีฉนวน(ทางเดนิ ) ติดตอ่ กนั เปน็ รปู ส่เี หลย่ี มยาว 25.50 เมตร กวา้ ง 10.20 เมตร พระปรางคม์ ปี ระตซู มุ้ 3 ด้าน ซ้มุ ประตดู ้านทศิ เหนอื ประดิษฐานพระพุทธรปู ยนื ปางประธานอภยั 1 องค์ ลักษณะศิลปะแบบอยธุ ยา รอบ ปราสาทเป็นลานกว้างมีระเบียงคดกอ่ ดว้ ยหินกวา้ ง 54 เมตร ยาว 63.30 เมตร ประกอบดว้ ยประตทู างเขา้ 4 ทศิ ปราสาทแหง่ นเ้ี ป็นโบราณสถานที่น่าชม น่าศึกษาแหง่ หนึง่

2. ปราสาทหนิ พมิ าย

อทุ ยานประวัตศิ าสตร์พิมาย ตั้งอย่ใู นตวั อาเภอพิมาย ทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือของ โคราช เป็นระยะทาง 60 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายมติ รภาพ(โคราช - ขอนแก่น) อุทยานวัตศิ าสตร์พมิ ายครอบคลุมพืน้ ท่เี มืองโบราณอนั เป็นทีต่ งั้ ของศาสนสถานท่ี ใหญ่โต และงดงามแหง่ หนงึ่ คือ \"ปราสาทหินพิมาย\" เปน็ แหล่งโบราณคดีที่ ทรงคุณค่าทางประวตั ศิ าสตร์สร้างขึน้ ในราวปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 16 และมาตอ่ เติมอกี ครงั้ ในสมยั พระเจ้าชัยวรมนั ที่ 7 ราวต้นพุทธศตวรรษท่ี 18 ซ่ึงครงั้ น้นั เมอื งพิมายเป็น เมืองใหญ่ของขอมบนแผ่นดนิ ทีร่ าบสงู ปราสาทหนิ พิมาย หนั หน้าไปทางทศิ ใตอ้ นั เป็น ทตี่ ัง้ ของเมอื งหลวงแห่งอาณาจักรขอม แผนผงั ของปราสาทแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คอื ลานชัน้ ใน ซงึ่ ล้อมรอบด้วยระเบยี งคดหรือกาแพงชั้นใน มีทางเดินกวา้ ง 2.35 เมตร เดินทะลุกันไดต้ ลอดทัง้ สด่ี า้ น

หนา้ บนั และทับหลงั ส่วนใหญ่สลักเป็นภาพเลา่ เร่ืองรามายณะ (รามาวตาร) และ หลังคามุงด้วยแผน่ หนิ มีปรางคป์ ระธานสร้างด้วยหนิ ทรายขาวตงั้ อยู่กลางลานฐาน ส่เี หลย่ี มย่อมุมไมส้ บิ สอง กวา้ ง 18 เมตร ความยาวรวมทง้ั มุขหนา้ 32.50 เมตร กฤษณาวตาร หนา้ บันดา้ นหน้าสลักเปน็ ภาพศิวนาฏราช ส่วนทับหลังของประตูห้อง ช้ันในขององคป์ รางค์สลักเปน็ ภาพทางคติพทุ ธศาสนานกิ ายมหายาน ด้านหน้าปรางค์ ประธานเย้อื งไปทางซา้ ย และขวามีปรางค์องค์เล็กอีกสองหลัง องค์ทางซา้ ยสรา้ งดว้ ย ศิลาแลง เรยี กว่า ปรางค์พรหมทัต มฐี านเปน็ รปุ สี่เหลี่ยมย่อมมุ กว้าง 14.50 เมตร สูง 11.40 เมตร ปรางคท์ างดา้ นขวาสร้างดว้ ยหนิ ทรายแดง เรียกว่า ปรางค์หนิ แดง กว้าง 11.40 เมตร สงู 15 เมตร ถัดจากระเบียงคดออกมาเป็นลานชั้นนอกลอ้ มรอบ ดว้ ยกาแพงอกี ช้นั หนงึ่ ประกอบดว้ ยอาคารท่เี รยี กวา่ บรรณาลยั สองหลีัง ต้งั คูก่ ันอยู่ ทางด้านทศิ ตะวันตก มสี ระนา้ อยู่ท้งั สี่มุม ทางเข้าด้านหน้ากาแพงชั้นนอกมสี ะพาน

นาคราชและประตมิ ากรรมรปู สงิ ห์ถดั จากกาแพงชั้นนอกออกไปยงั มีกาแพงเมือง ล้อมรอบอกี ช้ันหนง่ึ ปัจจบุ นั มีให้เหน็ ชดั เจนทางด้านทิศใต้ นอกจากนยี้ ังมโี บราณสถาน นอกเขตกาแพงเมืองทางดา้ นทิศใต้ ไดแ้ ก่ ทา่ นางสระผม กฏุ ิฤาษี และอโรคยาศาล

3. ปราสาทโนนกู่

เปน็ ปราสาทองคข์ นาดเล็กทตี่ ้ังอยูใ่ นเมืองโคราฆปรุ ะ กอ่ ด้วยอฐิ ปนทราย สร้างเปน็ ปราสาทหลงั เด่ยี วตั้งบนฐานสงู ด้านหน้ามีวิหารหนั หน้าเข้าหาปราสาทประธานอนั เป็นท่ี สถิตของพระศวิ ะมหาเทพ ตามคตคิ วามเช่อื ของศาสนาฮินดใู นราวพทุ ธศตวรรษท่ี 16 สภาพปจั จุบันเหลอื เพยี งซากฐานอาคาร ปราสาทโนนกู่ ตงั้ อยู่ทีบ่ า้ นกกกอก หมู่ 7 ตาบลโคราช อาเภอสูงเนนิ ใช้ทางหลวงหมายเลข 2 ถนนมิตรภาพ กม.ที่ 221 - 222 เข้าอาเภอสงู เนนิ ประมาณ 3 กโิ ลเมตร แลว้ เลี้ยวขวาเข้าทางวัดญาณโศภติ วนาราม(วัด ปา่ สูงเนนิ ) ไปอกี ประมาณ 3 กโิ ลเมตร

4. ปราสาทเมอื งแขก

เป็นศาสนสถานแบบศลิ ปะขอมทมี่ ีขนาดใหญ่อกี แหง่ หน่งึ ของโคราช ก่อด้วยอฐิ ปน ทราย มีปราสาท 3 หลงั ต้ังอยบู่ นฐานเดียวกัน หันหน้าไปทางทิศเหนอื ดา้ นนอกเป็น แนวคนู ้าขนานกับแนวคนั ดินเกือบรอบโบราณสถาน ดา้ นเหนือมปี ระตูหรอื โคปุระเปน็ ทางเดนิ เชื่อมไปยงั ด้านใน เมื่อคราวกรมศลิ ปากรบรู ณะ ได้พบทับหลงั สลักลานกา้ นตอ่ ดอกซง่ึ เทยี บได้กบั ลวดลายในศลิ ปะเขมรโบราณสมัยบันทายศรรี าว ปี พ.ศ. 1510 - 1550 ปราสาทเมอื งแขกต้ังอยหู่ า่ งจากปราสาทโนนกไู่ ปประมาณ 500 เมตร ท่ตี ้ัง อาเภอสงู เนนิ ต้ังอยู่ทีบ่ ้านกกกอก หมทู่ ี่ 7 ตาบลโคราช หา่ งจากแยกวดั ญาณโศภิตวนา ราม 3.5 กโิ ลเมตร

5. ปราสาทเมอื งเสมา

ที่แหง่ นห้ี รือคือจดุ เริม่ ต้น ของชาวโคราช ทาไมขาดการดูแลและเอาใจใส่อย่างนตี้ อนนี้ เหลือแค่ซากหินทราย ตอ่ ไปจะเหลอื อะไรให้ดลู ะครับ เมอื งเสมาเปน็ เมือขนาดใหญ่ แผนผงั เมอื งเปน็ รปู ไขก่ ว้าง 1,400 เมตร ยาว 2,000 เมตร มีการค้นพบโบราณวัตถุ ในบริเวณนีม้ ากมาย ปจั จบุ นั เหลือให้เหน็ เพยี งเนนิ ดนิ เป็นแนวยาวคลา้ ยกาแพง และ พระนอนสมัยทวารวดี ทีว่ ดั ธรรมจกั รเสมารามทนี่ ีค่ าดว่าจะเปน็ เมืองโบราณสมัยทวาร วดีชึ่งเป็น ชมุ ชนแรกของโคราช ชาวบ้านเรยี ก เมอื งเสมาเมืองแห่งนี้รุง่ เรอื ง พุทธ ศตวรรษ ท่ี 13-16 จากนนั้ ราวปลายพุทธศตวรรษท่ี 16 ศนู ยก์ ลางการปกครอง เปลย่ี นไปอยู่ท่เี มืองพิมาย เมอื งโบราณแหง่ นจ้ี ึงถูกลดความสาคัญลง และทิง้ รา้ ง ไปใหนทสี่ ดุ

6. ปราสาทเมอื งเกา่

ปราสาทเมอื งเกา่ (ชมอโรคยาศาลพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 7 และบารายหรอื บันนาราย หรือ สระนา้ ศกั ด์สิ ทิ ธ)์ิ เป็นอโรคยาศาลหรอื โรงพยาบาลแหง่ หนง่ึ ในจานวน 102 แหง่ ที่ พระเจา้ ชัยวรมนั ที่ 7 โปรดเกล้าฯ ใหส้ ร้างข้ึนในช่วง พ.ศ. 1724 - 1758 ทวั่ ราชอาณาจกั รขอม สรา้ งจากศลิ าแลงและหินทราย มแี ผนผงั สาเรจ็ รปู ส่เี หลยี่ มผืนผา้ ประกอบด้วยปรางคป์ ระธาน วหิ าร กาแพงแกว้ ซุ้มประตู สระนา้ ปัจจุบนั เหลือเพยี งซาก กองหนิ ปราสาทเมืองเกา่ ตั้งอยู่ในวดั ปราสาทเมืองเกา่ บ้านเมอื งเก่า หมู่ 1 ตาบล โคราช อาเภอสูงเนิน ใชเ้ สน้ ทางเดยี วกบั ปราสาทโนนกู่ โดยอยหู่ า่ งจากปราสาทเมอื ง แขกประมาณ 1 กิโลเมตร

7. พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ มหาวรี วงศ์

พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตมิ หาวรี วงศเ์ ปน็ พพิ ิธภัณฑ์ทถี่ ือกาเนดิ จากการรวบรวม โบราณวตั ถุ ศลิ ปวัตถุ ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อว้ น ติสโส) อดีตพระเถระสาคญั ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ขณะดารงตาแหน่งเปน็ เจา้ อาวาสวัดสุทธจินดา อ. เมือง จ.นครราชสีมา โดยพระองค์ไดส้ ะสมโบราณศลิ ปวัตถจุ ากจงั หวัดตา่ งๆ ซง่ึ ขณะนนั้ ทรง มีอานาจปกครองคณะสงฆอ์ ย่แู ลว้ นามาเกบ็ รักษาไว้ท่ีวดั ต่อมา ดว้ ยความตระหนกั ถึงคุณค่าทางการศึกษาโบราณศลิ ปวัตถเุ หลา่ น้ี ได้มีการมอบ สงิ่ ของทีส่ มเด็จพระมหาวรี วงศ์ (อว้ น ติสโส) รวบรวมได้ใหก้ บั กรมศลิ ปากร เพ่ือ เผยแพร่ให้ประชาชนผสู้ นใจชม ในปี พ.ศ. 2497 กรมศิลปากรได้สรา้ งอาคารชนั้ เดียว ทรงไทยประยุกต์ขน้ึ 1 หลงั ภายในพ้ืนทขี่ องวดั สทุ ธจินดา

รวบรวมได้ใหก้ ับกรมศิลปากร เพือ่ เผยแพร่ให้ประชาชนผสู้ นใจชม ในปี พ.ศ. 2497 กรมศิลปากรไดส้ รา้ งอาคารชัน้ เดียวทรงไทยประยุกต์ข้ึน 1 หลัง ภายในพื้นที่ของวัดสทุ ธ จนิ ดาจัดต้ังพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาตขิ นึ้ ซ่งึ นอกจากจะจดั แสดงของสมเดจ็ พระมหาวีร วงศร์ วบรวมไว้แต่เดมิ แลว้ ยงั จัดแสดงศลิ ปโบราณวัตถุที่ได้จากแหลง่ โบราณคดี โบราณสถานในจังหวัดนครราชสีมาและจงั หวดั ใกล้เคยี งรวมท้ังส่ิงของทปี่ ระชาชน บรจิ าคให้เพม่ิ เตมิ ในภายหลงั ด้วยและต้งั ชือ่ พพิ ิธภัณฑสถานฯท่ีสร้างขน้ึ เพอื่ เป็นเกียรติ แกผ่ ูร้ เิ รมิ่ ก่อตง้ั วา่ \"พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวรี วงศ์\"

8. ศาลหลักเมอื ง

ศาลหลักเมือง ตงั้ อยทู่ ี่หัวมุมส่ีแยกถนนจอมพล ตดั กบั ถนนประจกั ษ์ ใกล้กบั วัดพระ นารายณม์ หาราช ลักษณะเป็นศาลเจา้ แบบจนี ประดิษฐานเสาหลักเมอื งนครราชสมี า เป็นท่สี กั การะบูชาของชาวไทยและจนี สรา้ งขึ้นในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ระหว่าง พ.ศ.2199-2231 ตัวศาลและเสาหลักเมืองทาดว้ ยไม้ ผนังศาลด้านทิศ ตะวนั ออกเปน็ กระเบ้ืองดินเผาปน้ั ลวดลายนูนต่า เป็นเรอื่ งราวการสรู้ บของท้าวสุรนารี และวิถีชีวติ ความเปน็ อยขู่ องคนไทยใน สมยั โบราณ

9. อนสุ าวรยี ท์ า้ ยสรุ นารี (คุณยา่ โม)

เปน็ อนสุ รณแ์ ด่วรี กรรมอันกลา้ หาญของวีรสตรีไทย หรือยา่ โม ซึ่งเปน็ ชือ่ ที่เรยี กกนั ตดิ ปากโดยทัว่ ไป สร้างข้นึ เม่อื พ.ศ. 2476 ตง้ั อยูก่ ลางเมอื ง ชาวต่างถ่ินที่แวะมาเยือน และชาวเมืองโคราชนยิ มมาสักการะและขอพรจากยา่ โมอย่เู สมอนสุ าวรียห์ ล่อดว้ ย ทองแดงรมดา สูง 1.85 เมตร หนัก 325 กโิ ลกรมั แตง่ กายดว้ ยเคร่ืองยศพระราชทาน ในท่ายนื มือขวากุมดาบ ปลายดาบจรดพนื้ มอื ซา้ ยท้าวสะเอว หนั หน้าไปทางทิศ ตะวนั ตกซ่งึ เป็นท่ตี ั้งของกรุงเทพฯ ตง้ั อยู่บนฐานไพทสี ี่เหลีย่ มยอ่ มุมไมส้ ิบสองซึง่ บรรจุ อัฐิของทา่ นท้าวสุ รนารมี ีนามเดิมวา่ คณุ หญิงโม เปน็ ภรรยาปลัดเมืองนครราชสมี า

เมือ่ ปี พ.ศ. 2369 เจ้าอนุวงศแ์ หง่ เวยี งจนั ทนไ์ ดย้ กทพั เข้ายึดเมืองโคราช คุณหญิงโม ไดร้ วบรวมชาวบา้ นเขา้ ส้รู บและตอ่ ตา้ นกองทพั ของเจา้ อนวุ งศแ์ ห่ง เวยี งจนั ทน์ไมใ่ ห้ยก มาตีกรุงเทพฯไดเ้ ป็นผลสาเร็จ พระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอยูห่ ัว จึงทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ สถาปนาคณุ หญงิ โมเป็นทา้ วสรุ นารี ประชาชนพร้อมใจกันจัดงานเฉลิม ฉลองวันแหง่ ชยั ชนะของทา้ วสรุ นารขี ้นึ ระหว่าง วันท่ี 23 มนี าคม ถึงวนั ที่ 3 เมษายน เป็นประจาทุกปเี พอื่ เป็นการระลกึ ถึงคุณความดีของทา่ น

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕/๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook