ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ปฐมนิเทศนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ปี การศึกษา 2563
ระบบต่อมไร้ท่อ มคี วามสําคญั ในการ • การควบคุมปฏกิ ริ ิยาเคมภี ายในเซลล์ เปลยี9 นแปลงของร่างกายเกยี9 วกบั กระบวนการเมตาบอลซิ ึมต่าง ๆ ใน • การขนส่งสารเข้าออกภายในเซลล์ อนั มี ร่างกาย เช่น ผลต่อการเจริญเตบิ โต การใช้พลงั งาน • การสืบพนั ธ์ุ ตลอดจนการตอบสนอง ทางด้านอารมณ์อกี ด้วย ต่อมไร้ท่อจะขบั สารคดั หลง4ั ซึ4งเป็ นสารเคมที ี4 เรียกว่า ฮอร์โมน (Hormone) ทม4ี คี วามสําคญั ต่อ การดาํ เนินชีวติ อย่างมาก สารเคมนี ีจG ะผลติ ออกมา และซึมเข้าสู่ระบบกระแสเลือดไปยงั ส่วนต่างๆ ของ ร่างกายให้ทาํ งานเป็ นไปตามปกติ ฮอร์โมนแต่ละ ชนิดมหี น้าทเ4ี ฉพาะอย่างและมอี ทิ ธิพลต่ออวยั วะ ต่าง ๆ ของร่างกาย
ต่อมไร้ท่อ (Endocrine Gland) หมายถงึ ต่อมทไ0ี ม่มที ่อ ประกอบด้วยกล่มุ เซลล์ทสี0 ร้างและ หลงั0 สารเคมที เ0ี รียกว่า ฮอร์โมน (hormone) แล้วส่งออกนอกตวั เซลล์โดยผ่านทางกระแส ต่ อมไร้ ท่ อ เลือดหรือนําF เหลือง ไปควบคุมหรือดดั แปลงสมรรถภาพของเซลล์ ของอวยั วะเป้าหมาย (target organ) ทอี0 ยู่ไกลออกไปหรืออยู่ ใกล้เคยี งกนั มลี กั ษณะการทาํ งานค่อนข้างช้า แต่ได้ผลการทาํ งานท0ี นาน ซ0ึงฮอร์โมนมคี วามสําคญั ต่อร่างกายและมอี ทิ ธิพลต่อ พฤตกิ รรมของคนเราโดยฮอร์โมนแต่ล่ะชนิดจะทาํ งานไปพร้อม ๆ กนั เพ0ือรักษาสมดุลของร่างกายให้คงทอี0 ยู่เสมอ
หน้าทข9ี องต่อมไร้ท่อ 2. การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของ 4. การรักษาสภาวะภายในร่างกายให้คงทEี ร่างกายทาํ ให้มกี ารเจริญเตบิ โตของ เช่นการควบคุมเกลือแร่ และนํา@ เพืEอรักษา เนื@อเยืEอของร่างกาย การเจริญเตบิ โต สภาพแวดล้อมภายในร่างกายให้สมดุล ตามวยั การแก่ชรา ฮอร์โมนทเEี กยEี วข้อง คือ Growth hormone, Thyroxin ได้แก่ แอลโดสเตอโรน ควบคุม โซเดยี ม ADH (Antidiuretic hormone, Insulin hormone) ควบคุมปริมาณนํา@ เป็ นต้น 1. การสืบพนั ธ์ุ โดยฮอร์โมนจากระบบ 3. การสร้างและการใช้พลงั งาน คือ สืบพนั ธ์ุ เช่น แอนโดรเจน ควบคุม (androgen) เอสโตรเจน (estrogen) โพ กระบวนการ Metabolism ภายในร่างกาย รเจสเทอโรน (progesterone) luteinizing ให้มกี ารใช้พลงั งานของเซลล์ของอวยั วะ hormone follicle stimulating ต่าง ๆ เช่น ควบคุม hormone และ โพรแลกตนิ ฮอร์โมน กระบวนการ Metabolism ของ เหล่านีจ@ ะช่วยควบคุมการเจริญเตบิ โต คาร์โบไฮเดรต ไขมนั และโปรตนี โดยมี การเปลยีE นแปลงตามวยั ของอวยั วะ ฮอร์โมนทเEี กยีE วข้อง คือ อนิ ซูลนิ เอพเิ นฟ สืบพนั ธ์ุ เช่น การสร้างอสุจิ การต@งั ครรภ์ ริน คอตซิ อล การคลอด เป็ นต้น
ความสําคญั ของระบบต่อมไร้ท่อ เป็ นระบบทส*ี ําคญั ระบบหนึ*งของ ร่างกาย ทาํ หน้าทค*ี วบคุมอวยั วะภายใน ร่างกายให้ทาํ งานประสานกนั โดยอาศัยสารเคมที ี* เรียกว่า ฮอร์โมน ซึ*งฮอร์โมนจะถูกขนส่งไปสู่ อวยั วะทวั* ร่างกาย แต่จะออกฤทธNิหรือมผี ล ต่ออวยั วะและเซลล์บางตวั เท่านRัน
2.6 ต่อมเพศ การจาํ แนกต่อม 1. Essential endocrine ( Gonads ) ไร้ท่อตาม gland เป็ นต่อมไร้ท่อที: 2.5 ต่อมไทมสั จาํ เป็ นมาก ถ้าขาดแล้วทาํ ให้ ( Thymus ) ความสําคญั ต่อ ตายได้ ได้แก่ต่อมดงั ต่อไปนีC ชีวติ 1.1 ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid) 2.4 ต่อมไพเนียล 1.2 ต่อมหมวกไตชCันนอก ( Pineal ) (Adrenal cortex) 2.3 ต่อมหมวกไตชCันใน 2.1 ต่อมใต้สมอง 1.3 ต่อมไอส์เลตของตบั อ่อน ( Adrenal medulla ) ( Pituitary ) (Islets of Langerhans ) 2.2 ต่อมไทรรอยด์ 2. Non – Essential ( Thyroid ) endocrine gland เป็ นต่อม ทไี: ม่จาํ เป็ นหรือจาํ เป็ นน้อย มากต่อร่างกาย ได้แก่ต่อม แหล่งทม(ี า : กสุ ุมาวดี คาํ เกลยี3 ง และคณะ. สุขศึกษา 5. กรุงเทพฯ. สํานักพมิ พ์เอมพนั ธ์, 2558. ดงั ต่อไปนีC
อวยั วะทเี( กย(ี วข้องกบั กระบวนการทาํ งานระบบต่อมไร้ท่อ 1. ต่อมพาราไทรอยด์ ลกั ษณะเป็ นก้อนกลมเลก็ ฝังอยู่ด้านหลงั ของเนืFอเย0ือไทรอยด์ในคนมที Fงั หมด 4 ต่อม ข้างละ 2 ต่อม เป็ นต่อม ขนาดเลก็ ฮอร์โมนสําคญั ทส0ี ร้างจากต่อมนีF คือ ผลติ ฮอร์โมนทสี0 ําคญั ช0ือ พาราธอร์โมน ซ0ึงทาํ หน้าทเี0 กยี0 วกบั การ ควบคุมเมตาบอลซิ ึมของ แคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย การสร้างกระดูกและควบคุมบทบาท ของวติ ามนิ ดใี นร่างกาย โดยวติ ามนิ ดจี ะรวมกบั ฮอร์โมนพาราธอร์โมนใน การสลายแคลเซียมออก จากกระดูกเพื0อรักษาระดบั ปกตขิ องแคลเซียมในพลาสมา ถ้าหากมฮี อร์โมนนีมF ากเกนิ ไปจะมผี ลทาํ ให้เกดิ การสะสมของแคลเซียมทไี0 ต ทหี0 ลอดเลือด มกี ารดงึ เอาแคลเซียมจากกระดูกและฟันออกมา ทาํ ให้เกดิ อาการกระดูกเปราะบางและหักง่าย ทาํ ให้เป็ นโรคกระดูกพรุน ฟันหักและ ผุง่าย ถ้าต่อมพาราไทรอยด์บกพร่องไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ จะมผี ลทาํ ให้สูญเสียการดูดกลบั ทท0ี ่อหน่วยไตลดลงทาํ ให้สูญเสียแคลเซียมไปกบั นําF ปัสสาวะและเป็ นผลทาํ ให้ระดบั แคลเซียมในเลือดลดตา0ํ ลงมาก กล้ามเนืFอจะ เกดิ อาการเกร็งและชักกระตุก แขนขาสั0น ปอดทาํ งานไม่ได้ อาการอาจหายไปเมื0อฉีดด้วยพาราทอร์โมนและให้วติ ามนิ ดเี ข้าร่วมด้วย
2. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) เป็นกอ้ นสีเหลือง ๆ อยเู่ หนือไตขา้ งละ 1 ต่อม ต่อมหมวกไตในผใู้ หญ่ประกอบดว้ ยต่อมไร้ท่อ 2 ต่อม คือ 2.1 ต่อมหมวกไตส่วนนอก เจริญมาจากเซลล์มเี ซนไคมาส (mMsenchymas) ของช@ันมโี ซเดริ ์มของตวั อ่อน ต่อมหมวกไตส่วนในเจริญมาจากเซลล์ต้นกาํ เนิดเดยี วกบั เซลล์ประสาทใน ทารกต่อมหมวกไตจะมขี นาดใหญ่ แต่เนืEองจากขาดสารเร่งปฏกิ ริ ิยา จงึ ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนเหล่านีไ@ ด้ ผลติ ได้แต่สารทจEี ะเปลยEี นไปเป็ นฮอร์โมนอสี โทรเจนทรEี กแบ่งฮอร์โมน ออกเป็ น 3 กล่มุ ทสEี ําคญั คือ 2.1.1 Glucocorticoid hormone ทาํ หนา้ ทีDควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โดยเปลDียนไกลโคเจนในตบั และกลา้ มเนOือใหเ้ ป็นกลูโคส ในวงการแพทยใ์ ช้ เป็นยาลดการอกั เสบและรักษาโรคภูมิแพ้ ถา้ มีฮอร์โมนนOีมากเกินไป จะทาํ ใหอ้ ว้ น อ่อนแอ หนา้ กลมคลา้ ยดวงจนั ทร์ หนา้ ทอ้ งลาย นOาํ ตาลในเลือดสูง 2.1.2 Mineralocorticoid hormone ทาํ หนา้ ทีDควบคุมสมดุลของนOาํ และเกลือแร่ฮอร์โมนสาํ คญั กลุ่มนOี คือ aldosterone ช่วยในการทาํ งานของไตในการดูด กลบั Na และ Cl ภายในท่อไต ถา้ ขาด aldosterone จะทาํ ใหร้ ่างกาย สูญเสียนOาํ และโซเดียมไปพร้อมกบั ปัสสาวะ ส่งผลใหเ้ ลือดในร่างกายลดลง จนอาจทาํ ให้ ผปู้ ่ วยตาย เพราะความ ดนั เลือดตDาํ 2.1.3 Sex hormone ฮอร์โมนเพศช่วยควบคุมลกั ษณะทางเพศทีDสมบูรณ์ทOงั ชายและหญิง 2.2 ต่อมหมวกไตช,ันนอน อะดรีนัลเมดลั ลา (Adrenal medulla) เป็ นเนื,อช,ันในของต่อมหมวกไต อยู่ภายใต้การควบคุมของ sympathetic ถูกกระตุ้นในขณะตกใจ เครียด กลวั โกรธ เนื,อเยืGอช,ันนีจ, ะทาํ หน้าทสGี ร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ 2.2.1 Adrenalin hormone หรือ Epinephrine hormone กระตุน้ ใหห้ วั ใจบีบตวั แรง เสน้ เลือดขยายตวั เปลDียน glycogen ในตบั ใหเ้ ป็นกลูโคสในเลือด 2.2.2 Noradrenlin hormone หรือ Norepinephrine hormone กระตุน้ ใหเ้ สน้ เลือดมีการบีบตวั ผลอDืนคลา้ ยๆ adrenalin แต่มีฤทธYินอ้ ยกวา่
3. ตบั อ่อน ลกั ษณะเป็ นต่อมขนาด ใหญ่ ต,งั อยู่ทางด้านหลงั ของกระเพาะ อาหาร ใกล้กบั ลาํ ไส้เลก็ ส่วนดูโอดนิ ัม ซGึงเป็ นลาํ ไส้เลก็ ส่วนต้น ส่วนทเGี ป็ นต่อม ไร้ท่อ จะผลติ ฮอร์โมนทสีG ําคญั ดงั นี, 3.1 อนิ ซูลนิ เป็ นฮอร์โมนททGี าํ ให้ระดบั นํา, ตาลในเลือดตาํG ลง โดยช่วยให้กลูโคส ผ่าน เข้าเซลล์และเปลยGี นส่วนหนึGงเป็ น ไกลโคเจนเกบ็ ไว้ทตGี บั ทาํ ให้ระดบั นํา, ตาล ในเลือดอยู่ในระดบั ปกติ 3.2 กลูคากอน เป็ นฮอร์โมนททีG าํ งานตรงข้ามกบั อนิ ซูลนิ คือ ทาํ ให้ระดบั นํา, ตาลใน เลือดสูงขนึ,
4.1.5 Melatonin เป็ นฮอร์โมน 4. ต่อมใต้สมอง ต่อมใต้ กระตุ้นให้เซลล์เมด็ สีสร้างเมด็ สี สมองเป็ นต่อมไร้ท่อทมGี ขี นาดเลก็ เพม8ิ มากขนึM ต,งั อยู่ใต้สมอง เป็ นต่อมทมGี ี ความสําคญั มากทสGี ุด แบ่ง ออกเป็ น 2 ส่วน 4.1 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ผลติ ฮอร์โมนทส8ี ําคญั คือ 4.1.4 Antidiuretic 4.1.1 Growth Hormone เป็ น Hormone เป็ นฮอร์โมนช่วยใน ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเตบิ โต การดูดนําM กลบั ของท่อไต เพ8ือ ของร่างกาย โดยเฉพาะ กระดูก รักษา ระดบั นําM ของร่างกาย และกล้ามเนืMอ 4.1.3 Gonadotrophic 4.1.2 Thyroid Stimulating Hormone เป็ นฮอร์โมนกระตุ้นการ Hormone เป็ นฮอร์โมนกระตุ้นต่อม ไทรอยด์ให้สร้าง ไทร็อกซิน สร้างเซลล์สืบพนั ธ์ุ เพมิ8 ขนึM
5. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland) เป็ นต่อมทม*ี ขี นาดใหญ่กว่าทุกต่อมไร้ท่ออ*ืนๆ มี 2 ข้าง อยู่บริเวณลูกกระเดือกข้างละต่อมผลติ ฮอร์โมนทสี* ําคญั คือ ไทร็อก ซิน โดยใช้ไอโอดนี เป็ นวตั ถุดบิ ในการสร้างฮอร์โมน ซ*ึงฮอร์โมนไทร็อกซินมี หน้าทส*ี ําคญั ดงั นีR 1. ช่วยในการเจริญเตบิ โตของกระดูก สมอง และระบบประสาท 2. ช่วยในการเปลยี* นแปลงรูปร่างเม*ือเป็ นผู้ใหญ่ 3. ช่วยควบคุมอตั ราเมตาบอลซิ ึมในร่างกาย
6. ต่อมเพศในชายได้แก่ อณั ฑะและในหญงิ ได้แก่รังไข่ซึ0งมหี น้าทสี0 ําคญั 2 อย่างคือ สร้างเซลสืบพนั ธ์ุและสร้าง ฮอร์โมน 6.1 ฮอร์โมนเพศชาย ทส0ี ําคญั คือ เทสทอสเตอโรน (Testosterone) ซ0ึงจะทาํ หน้าทห0ี ลายอย่างคือ 6.1.1 ควบคุมการเจริญเตบิ โตของอวยั วะสืบพนั ธ์ุ 6.1.2 ทาํ ให้อตั ราการเจริญเตบิ โตของกระดูกเพม0ิ ขนึF 6.1.3 กระตุ้นการสร้างโปรตนี เพม0ิ ขนึF โดยเฉพาะเอน็ ไซม์ 6.1.4 ควบคุมการหลงั0 ของฮอร์โมนเพศชาย ถ้าตดั อณั ฑะออกจะทาํ ให้เกดิ ผลดงั ต่อไปนีF 1) ในเดก็ – ทาํ ให้อวยั วะสืบพนั ธ์ไม่เจริญ – ไม่มี Secondary sexual characteristic – มไี ขมนั สะสมมากขนึF แขนขายาวผดิ ปกติ – เป็ นหมนั 2) ในผู้ใหญ่ – เป็ นหมนั – ไม่มคี วามรู้สึกทางเพศ มลี กั ษณะไปทางเพศหญงิ
6.2 ฮอร์โมนเพศหญงิ ทสีG ําคญั คือ เอสโตรเจน (Estrogen) และ 1) ในเดก็ – อวยั วะ โปรเจสเตอโรน (Progesterone) สืบพนั ธ์ุไม่ ฮอร์โมนเอสโตรเจน จะเกยGี วข้องกบั การเจริญเตบิ โตของ เจริญ อวยั วะสืบพนั ธ์ุและลกั ษณะต่างๆของความเป็ นเพศหญงิ ส่วน ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน จะเกยีG วข้องกบั การต,งั ครรภ์คือ ระงบั มลี กั ษณะคล้ายผู้ชาย – ไม่มเี ลือด ไม่ให้ไข่สุกระหว่างต,งั ครรภ์ป้องกนั ไม่ให้มปี ระจาํ เดือนระหว่าง ประจาํ เดือน ต,งั ครรภ์ควบคุมการเปลยีG นแปลงของเยGือบุมดลูกช,ันในเพGือ รองรับการฝังตวั ของไข่ทถGี ูกผสม และกระตุ้นต่อมนํา, นมให้ เจริญเตบิ โต ถ้าตดั รังไข่ออกจะทาํ ให้เกดิ ผลดงั ต่อไปนี, 2) ในผู้ใหญ่ – ประจาํ เดือนหยุด – ไม่มคี วามรู้สึกทางเพศ – มลี กั ษณะคล้ายชาย – ไม่มี Secondary sexual characteristic
7.ต่อมไพเนียลหรือต่อมเหนือสมอง (Pineal gland) เป็ นต่อมเลก็ ๆ ช่วยสร้างฮอร์โมนเมลาโต นิน (Malatonin) ทาํ หน้าทยี* บั ยRงั การเจริญเตบิ โตของต่อมเพศในช่วงระยะก่อนหนุ่มสาว แต่ เมื*อเข้าสู่รุ่นอาจมผี ลต่อการตกไข่และประจาํ เดือนในเพศหญงิ หากต่อมไพเนียลผลติ ฮอร์โมน มากเกนิ ไป จะทาํ ให้เป็ นหนุ่มสาวช้ากว่าปกติ แต่หากต่อมนีถR ูกทาํ ลาย เช่น เกดิ เนืRองอกใน สมอง จะทาํ ให้เป็ นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ เป็ นต้น 8. ต่อมไทมสั (Thymus gland) อยู่บริเวณด้านหน้าทรวงอก มขี นาดเปลยี* นแปลงไปตามอายุ เดก็ ระยะในครรภ์มารดาต่อมนีจR ะโตมาก และจะมขี นาดใหญ่ทส*ี ุดเม*ืออายุ 6 ปี จากนRันจะเจริญ ช้า ๆ และค่อย ๆ หายไป เชื*อว่าต่อมนีสR ามารถสร้างภูมติ ้านทานโรคให้แก่ร่างกายได้
9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ ตับอ่อน (Pancreas) ต,ังอยู่ทGีด้านบนซ้ายของช่องท้อง โดย ว า ง ตั ว จ า ก ส่ ว น โ ค้ ง ข อ ง ลํ า ไ ส้ เ ล็ ก ส่ ว น ดู โ อ ดี นั ม (Duodenum) ถึงม้าม (Spleen) และด้านหลังของกระเพาะ (Stomach) มีลักษณะค่อนข้างแบน มีความยาวประมาณ 12 –15 เซนตเิ มตร ตบั อ่อนทาํ หน้าททGี ,งั เป็ นต่อมมที ่อคือ การสร้ างนํ,าย่อยไปทGีลําไส้ เล็กและเป็ นต่อมไร้ ท่อสร้ าง ฮอร์โมนเซลล์ทีGทําหน้าทีGในการผลติ ฮอร์โมนจะรวมกนั เป็ น กลุ่มมีชGือว่า ไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ( Islets of Langerhans ) มปี ริมาณ 1 – 3 เปอร์เซ็นต์ของเนื,อเยGือตบั อ่อนท,งั หมด แหล่งทมีE า : กสุ ุมาวดี คาํ เกลยี@ ง และคณะ. สุขศึกษา 5. กรุงเทพฯ. สํานักพมิ พ์เอมพนั ธ์, 2558.
ฮอร์โมนทส9ี ร้างจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ 1. ฮอร์โมนอนิ ซูลนิ ( Insulin ) - สร้างจากเบต้าเซลล์ (Beta cell) ซ0ึงเป็ น เซลล์ทอี0 ยู่รอบนอกของกล่มุ เซลล์ไอส์เลต ออฟแลงเกอร์ฮานส์ - อวยั วะเป้าหมาย ตบั ,กล้ามเนืFอ - หน้าทลีG ดระดบั นํา, ตาลในเลือด (ระดบั นํา, ตาลในเลือดปกติ 80 - 100 มลิ ลกิ รัม / 100 ลบ.ซม. ) โดยเพมิG การนํากลูโคสเข้าสู่เซลล์ กล้ามเนื,อและเซลล์ตบั กระตุ้นให้เซลล์ตบั และเซลล์กล้ามเนื,อ เปลยีG นกลูโคสให้เป็ นไกลโคเจน( โมเลกลุ ของคาร์โบไฮเดรตทGี สร้างจากกลูโคส )เกบ็ สะสมไว้ภายในเซลล์ - ถ้าตบั อ่อนสร้างสร้างฮอร์โมนอนิ ซูลนิ น้อยทาํ ให้เกดิ โรคเบาหวาน
- อาการของผปู้ ่ วยที0เป็นเบาหวาน มกั จะมีอาการ ปัสสาวะบ่อยและมาก เน2ืองจากน6าํ ตาลที2ออกมาทางไตจะดึงเอาน6าํ ออกมาดว้ ย จึงทาํ ใหม้ ีปัสสาวะ มากกวา่ ปกติ เมื2อถ่ายปัสสาวะมาก กท็ าํ ใหร้ ู้สึกกระหายน6าํ ตอ้ งคอยดื2มน6าํ บ่อย ๆ ไม่สามารถนาํ น6าํ ตาลมาเผาผลาญเป็นพลงั งาน จึงหนั มาเผาผลาญกลา้ มเน6ือและไขมนั แทนทาํ ใหค้ วาม เป็นกรดในเลือดสูง กลไกการหายใจผดิ ปกติ ร่างกายผา่ ยผอม ไม่มีไขมนั กลา้ มเน6ือฝ่ อลีบ อ่อนเปล6ีย เพลียแรง การมีน6าํ ตาลคง2ั อยใู่ นอวยั วะต่างๆ ทาํ ใหอ้ วยั วะต่าง ๆเกิดความผดิ ปกติ ภาวะแทรกซอ้ นมากมาย เช่น โรคตาตอ้ หิน โรคจอประสาทตาเส2ือม โรคไต โรคหวั ใจ โรคความดนั เลือดสูง เป็นตน้ ผนงั หลอดเลือดแดงแขง็ (Atherosclerosis) ทาํ ใหเ้ ป็นโรคความดนั โลหิต สูง, อมั พาต , โรคหวั ใจขาดเลือด ถา้ หลอดเลือดที2เทา้ ตีบแขง็ เลือดไปเล6ียงเทา้ ไม่พออาจทาํ ใหเ้ ทา้ เยน็ เป็นตะคริวหรือ ปวดขณะเดิน มาก ๆ หรืออาจทาํ ให้ เป็นแผลหายยากหรือเทา้ เน่า (ซ2ึงอาจเกิดร่วมกบั การติดเช6ือ )เป็นโรคติด เช6ือไดง้ ่ายเนื2องจากภูมิตา้ นทานโรคต2าํ เช่น วณั โรคปอด, กระเพาะปัสสาวะอบั เสบ ,กรวยไตอกั เสบ , กลาก , โรคเช6ือรา , ช่องคลอดอกั เสบ (ตกขาวและคนั ในช่องคลอด) , เป็นฝี หรือพพุ องบ่อย,เทา้ เป็นแผล ซ2ึง อาจลุกลามจนเทา้ เน่า(อาจตอ้ งตดั นิ6วหรือตดั ขา)
2. ฮอร์โมนกลูคากอน (Glucagon) - หน้าทีG เพมิG ระดบั นํา, ตาลใน - สร้างจาก แอลฟาเซลล์ (Alpha เลือด กระตุ้นให้เซลล์ตบั และ cell) ซึ8งเป็ นเซลล์ทอี8 ยู่ส่วนใน เซลล์กล้ามเนื,อเปลยGี นไกลโค และเป็ นเซลล์ส่วนใหญ่ของกล่มุ เจนให้เป็ นกลูโคสปล่อยเข้าสู่ เซลล์ไอส์ เลตออฟแลงเกอร์ ฮานส์ กระแสเลือด เพมิG การสังเคราะห์ กลูโคสจากกรดอะมโิ นและกรด ไขมนั - อวยั วะเป้าหมาย ตบั ,กล้ามเนืMอ
กระบวนการทาํ งานของระบบต่อมไร้ท่อ การควบคุมการหลง0ั ฮอร์โมน (Control of Hormone Secretion) จากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็ นกลไกแบบตอบสนองกลบั (Feedback mechanism) ซึ0งอาจจะ เป็ นไปในทางบวก (กระตุ้น) เรียกว่า Positive feedback หรืออาจจะเป็ นไปในทางลบ (ยบั ยFงั ) เรียกว่า Negative feedback แบ่งเป็ น 3 แบบ 1. ฮอร์โมนควบคุมการหลง0ั ของโทรฟิ กฮอร์โมน 2. การเปลยี0 นแปลงทางสรีระร่างกายควบคุมการหลง0ั ฮอร์โมน 3. สารเคมี ควบคุมการหลง0ั ฮอร์โมน ฮอร์โมนควบคุมการหลง0ั ของโทรฟิ กฮอร์โมน (Hormonal control of tropic hormone secretion) ลกั ษณะการหลง0ั tropic hormones มตี ่อมไร้ท่อเป็ นอวยั วะ เป้าหมายซ0ึงจะสร้างฮอร์โมนกลบั ไปควบคุมการหลงั0 ของ tropic hormones ในเพศหญงิ ฮอร์โมน FSH, LH เป็ น tropic hormones การหลง0ั ของฮอร์โมนในกล่มุ นีถF ูกควบคุมโดยฮอร์โมน estrogen และ progesterone ทส0ี ร้างมาจากรังไข่ ในเพศชายฮอร์โมน FSH, LH (ICSH) เป็ น gonadotropic hormones หลง0ั ออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลงั0 ของฮอร์โมนกล่มุ นีถF ูกควบคุมโดย ฮอร์โมน testosterone ทส0ี ร้างมาจาก Leydig cells ทอ0ี ยู่ในลูกอณั ฑะ การทาํ งานของ testosterone จะเป็ นแบบ feedback mechanism เพื0อควบคุมการสร้างอสุจแิ ละ สร้างฮอร์โมน FSH, LH
การเปลย*ี นแปลงทางสรีระของร่างกายควบคุมการหลงั* ฮอร์โมน (The physiological change control of hormone secretion) การเปลย=ี นแปลงทางสรีระของร่างกาย (ระดบั นําD ตาลในเลือดทสี= ูงหรือตา=ํ ) จะเป็ นตวั กระตุ้นหรือยบั ยDงั ต่อมไร้ท่อให้สร้าง และหลง=ั ฮอร์โมนออกมา ตวั อย่างเช่น กล่มุ เซลล์ในตบั อ่อนเรียกว่า beta–cells of islet of Langerhans ซ=ึงทาํ หน้าทเี= ป็ นต่อมไร้ท่อ ที= สร้างและหลง=ั ฮอร์โมน insulin ออกมา สารเคมคี วบคุมการหลงั* ฮอร์โมน (Chemical substance control of hormone secretion) การเปลย=ี นแปลงการทาํ งานของสรีระของร่างกาย (ความดนั เลือดตา=ํ ) ทาํ ให้เกดิ สภาวะทไ=ี ปกระตุ้นเนืDอเย=ือทไี= ม่ใช่ต่อมไร้ ท่อ (Juxtaglomerular cells) ให้สร้างและปล่อยสารเคมี (ennin) ออกมาสู่กระแสเลือด และ ennin ถูกเปลยี= นไปเป็ น angiotensin ซึ=ง ไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไปชDันนอก (adrenal cortex) หลงั= ฮอร์โมน aldosterone ออกมาสู่กระแสเลือด ทาํ ให้เกดิ การดูดซึมกลบั ของ Na+ และนําD จากหลอดไตตรงบริเวณ distal convoluted tubule เข้าสู่เส้นเลือดฝอยตรงบริเวณนDัน ทาํ ให้ความดนั เลือดสูงซ=ึงจะ ไปยบั ยDงั การปล่อย ennin ออกมา
ขอบคุณค่ะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: