Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความหมาย ความสำคัญของคุณธรรมในการประกอบอาชีพ

ความหมาย ความสำคัญของคุณธรรมในการประกอบอาชีพ

Published by noomai935, 2018-01-15 22:09:26

Description: ความหมาย ความสำคัญของคุณธรรมในการประกอบอาชีพ

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ท่ี 4 เร่ือง เส้นทางสู่ความสาเร็จ 1. คณุ ลกั ษะทด่ี ีต่ออาชีพ คุณลกั ษณะท่ดี ีต่ออาชีพ ไดแ้ ก่ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ทุกคนควรมีและควรปฏิบตั ิ เพ่อื ใหเ้ กิดความภาคภูมิใจในตนเอง ไดร้ ับการยอมรับนบั ถือจากบุคคลในสงั คม และประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพ 1.1 คุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี จริยธรรม หมายถึง ธรรมท่เี ป็นขอ้ ประพฤติ ศลี ธรรม กฎศีลธรรม ดวงเดอื น พนั ธุนาวิน (2538) กล่าวว่า คาว่าจริยธรรมน้นั หมายถึง การทาความดีละเวน้ ความชว่ั ซ่ึงเป็นระบบหมายถึงสาเหตุทบี่ ุคคลจะกระทาหรือไมก่ ระทาและผลของการกระทาและไมก่ ระทา ตลอดจนกระบวนการเกิดและการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเหลา่ น้ีดว้ ย และในเร่ืองของจริยธรรมในการทางาน คือระบบการทาความดี ละเวน้ ความชว่ั ในเร่ืองที่ค่กู บั ความรับผดิ ชอบและเกี่ยวขอ้ งกบั ผปู้ ฏิบตั ิ เกี่ยวขอ้ งกบั สถานการณ์ การทางานเก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการทางานและผลงาน ตลอดจนเกี่ยวขอ้ งกบั ผรู้ ับประโยชน์หรือโทษจากผลงานน้นั ๆ พระมหาอดิศร ถรี ศิโล กล่าวว่า จริยธรรม หมายถึง คุณธรรมทีแ่ สดงท่แี สดงออกทางร่างกาย ในลกั ษณะที่ดีงาม อนั เป็นทพ่ี ึงประสงคข์ องสงั คม จริยธรรมจะมไี ดต้ อ้ งปลูกฝึกหัดโดยเร่ิมจากการปลกู ฝังคุณธรรม จากความหมายของจริยธรรมท่กี ล่าวมาสรุปไดว้ า่ จริยธรรมหมายถึง พฤติกรรมในการปฏิบตั ิในส่ิงที่ดีงามและเหมาะสม เป็นท่ีนิยมเพอื่ ความสุข ความสงบ เรียบร้อย ของตนเอง คุณธรรมและจริยธรรม จึงหมายถึง ธรรมท่ีเป็นขอ้ ประพฤติเพ่ือรกั ษาสภาพคุณงามความดี ไดแ้ ก่ 1.1.1 ความขยนั หมนั่ เพียรในการปฏิบตั ิงานอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย 1.1.2 ความอดทนเขม้ แข็งในการปฏิบตั ิงาน ไม่วา่ จะงานหนกั หรืองานเบา 1.1.3 ความซ่ือสตั ยส์ ุจริตตอ่ ตนเอง ต่อเพ่ือนร่วมงาน ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาและต่อลกู คา้

1.1.4 ความรับผดิ ชอบต่องาน คือ ทางานไดเ้ สร็จเรียบร้อยและถกู ตอ้ งตามเป้ าหมายและตามท่ผี บู้ งั คบั บญั ชากาหนด ความรับผดิ ชอบต่อลกู คา้ ความรับผดิ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม 1.1.5 เคารพสิทธิของเพ่ือนร่วมงานและรักษาผลประโยชนข์ องบริษทั หรือหน่วยงานท่ที างานอยู่ 1.1.6 ความมจี รรยาบรรณในการประกอบอาชีพ คอื ต้งั ใจทางานเพือ่ผลประโยชนข์ องบริษทั หรือหน่วยงานอยา่ งเต็มความสามารถโดยไมก่ ่อความเดือดร้อนแก่ผอู้ ื่นเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการทางาน 1.1.7 ความมวี นิ ยั ในการปฏิบตั ิงาน เช่น มาทางานตรงเวลา แต่งกายใหถ้ กู ตอ้ งตามกฎระเบยี บของบริษทั ไมม่ าทางานสาย ไมล่ าหรือขาดบ่อย ทางานเสร็จตามเวลาทก่ี าหนดเป็ นตน้ 1.1.8 การดาเนินการทุกอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายเพ่ือสร้างความสบายใจแก่ตนเองเพอ่ื นร่วมงานผบู้ งั คบั บญั ชาและผทู้ ่ีติดต่อดา้ นการงานกบั บริษทั หรือหน่วยงานท่ีตนเองทางานอยู่ 1.2 ความสาคญั ของคุณธรรมและจริยธรรม มนุษยเ์ ป็นทรัพยากรท่สี าคญั และมีคณุ ค่าเพราะหากไมม่ มี นุษยก์ ็ไมม่ กี ารผลิตนอกจากน้ีมนุษยย์ งั มสี มองมคี วามคิดมีความสามารถในการรับรู้จึงสามารถคิดคน้ สิ่งใหมๆ่ และสร้างสรรคผ์ ลงานทมี่ ีคุณค่าได้ ในขณะทีม่ นุษยไ์ ดร้ ับการพฒั นาทางสมอและสติปัญญาอยา่ งสมา่ เสมอเพื่อประโยชน์ในดา้ นการประกอบอาชีพน้นั มนุษยค์ วรไดร้ ับการปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมๆกนั เพอ่ื ให้ประกอบอาชีพได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ สร้างแต่คุณประโยชนไ์ มใ่ ช่ ความสามารถในทางทีผ่ ดิ หรือใช่ความรู้อย่างไร้การครบคุมจนส่งผลกระทบทางสงั คม บุคลากรท่ีมีคุณธรรมยอ่ มทาให้เกิดการพฒั นาในทางท่ดี ี ส่งผลใหช้ ุมชนสังคมประเทศชาติสงบสุขและมน่ั คง ดงั น้นั คุณธรรมจริยธรรมจึงมคี วามสาคญั ตอ่ การดาเนินชวี ติ ของมนุษยด์ งั น้ี 1.2.1 จะช่วยให้มนุษยไ์ ปดว้ ยสงบสุขและราบรื่น ไม่พบอุปสรรค์ 1.2.2 จะช่วยใหม้ นุษยไ์ ม่เกิดการเผลอตวั เผลอใจหรือลืมตวั ในการกระทาความประพฤติปฏิบตั ิส่ิงใดทร่ี ะมดั ระวงั ตนเองอยเู่ สมอ ถือวา่ ทาให้มนุษยม์ สี ติสัมปชญั ญะอยคู่ ลอดเวลา 1.2.3 ช่วยให้ประเทศมรี ะเบยี บวินยั เพราะหากมนุษย์ เพราะหากมนุษย์ มีคุณธรรม และจริยธรรมและจริยธรรม กจ็ ะไมก่ ระทาการสิ่งใดท่ีเป็นปัญหาต่อสงั คมและประเทศ

1.2.4 การประพฤติปฏิบตั ิใหเ้ ป็นตงั อยา่ งท่ดี ีกบั คนอื่นๆ เป็นประโยชน์แก่สังคมทาให้บคุ คลอ่ืนไมก่ ลา้ ทาความผดิ เป็นการควบคุมไม่ใหค้ นชวั่ มจี านวนเพ่ิมมากข้ึน นอกจากจะทาใหเ้ ป็นตวั อยา่ งแลว้ ควรจะบอกกลา่ ว ช้ีทางและแนะนาสง่ั สอนใหค้ นอ่ืนๆประพฤติปฏิบตั ิในสิ่งที่ดี 1.2.5 ช่วยใหม้ นุษยน์ าความรู้และประสบการณท์ ีไ่ ดเ้ รียนรู้มาสร้างสรรคเ์ ป็นผลงานทีม่ คี ุณค่า ยกตวั อยา่ งเช่น ในการประกอบอาชีพท่ีสุจริต ผลงานทสี่ รา้ งสรรคอ์ อกมากเ็ ป็นประโยชน์แก่สังคมในพฒั นาประเทศชาติ 1.2.6 ช่วยใหเ้ กิดการควบคุมการเจริญทางดา้ นวตั ถุและจิตใจมนุษยใ์ ห้เจริญไปพร้อมๆกนั เน่ืองจากปัจจุบนั ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยมี กี ารพฒั นาอยา่ งรวดเร็วและสูงมากมนุษยจ์ ึงตอ้ งพฒั นาจติ ใจและปรับตวั เองใหม้ กี ารพฒั นาและยกระดบั ทางจิตใจใหเ้ ท่ากนั 1.2.7 ช่วยสร้างความมนั่ คงทางจิตใจใหเ้ กิดข้ึนกบั มนุษย์ ซ่ึงจะส่งผลถึงสงั คมและประเทศชาติในอนาคตต่อไป ดงั น้นั การทีม่ นุษยม์ ีคุณธรรมและจริยธรรมกจ็ ะสามารถลดปัญหาหรือขจดั ปัญหาท่จี ะเกิดข้ึนกบั บุคคล สงั คม และประเทศชาติ เมอ่ื ทกุ คนมีคุณธรรมและจริยธรรม สงั คมกจ็ ะเกิดความสงบ สันติ สามคั คี และปลอดภยั ทาใหป้ ระเทศชาติเจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป 2. ค่านิยมและเจตคตใิ นการประกอบอาชีพ 2.1 ค่านิยม หมายถึง สิ่งท่ีบุคคลหรือสงั คมยดึ ถือเป็นเครื่องช่วยตดั สินใจ และกาหนดการกระทาของตนเอง 2.2.1 ค่านิยมเกี่ยวกบั อาชีพและการทางาน ค่านิยมเป็นความพงึ พอใจหรือความเชื่อเก่ียวกบั เร่ืองใดเรื่องหน่ึงวา่ มีคุณค่า เป็นท่ียอมรับของสังคม ดงั น้นั ค่านิยมจึงเป็นแนวทางในการประพฤติ ปฏิบตั ิที่คนส่วนใหญ่ในสังคมใหก้ ารยอมรับ และยดึ ถือปฏิบตั ิสืบทอดกนั มา ในการเลือกอาชีพหรือการทางานน้นั บคุ คลอาศยั และยดึ ถือค่านิยมในสังคมเป็นกรอบในการตดั สินใจ กล่าวคือใชค้ ่านิยมเป็นจุดมงุ่ หมายกาหนดอาชีพในอนาคตนนั่ เอง ค่านิยมเก่ียวกบั อาชีพของคนไทย เช่น สงั คมไทยนิยมอาชีพทม่ี ีเกียรติ มคี วามมน่ั คง ลกั ษณะงานทมี่ ีความกา้ วหนา้ ส่งเสริมให้มบี ารมี มอี านาจ เป็นตน้โดยทวั่ ไปค่านิยมเกี่ยวกบั อาชีพ มกั เกิดจากการอบรมสงั่ สอนของบิดามารดาหรือบุคคลในครอบครัว การชกั ชวนของเพ่อื น คาแนะนาของครูอาจารย์ และความชอบ ความสนใจหรือ

ความถนดั เฉพาะบคุ คล เช่น นิยมทางานในอาชีพเดียวกบั บดิ ามารดาหรือบรรพบุรุษเพราะถูกปลกู ฝังใหเ้ ป็นค่านิยมของครอบครัว และเห็นความสาเร็จของบุคคลท่ีเคยประกอบอาชีพน้นั ๆตวั อยา่ งเช่น บดิ าเป็นตารวจ บตุ รชายกอ็ ยากเป็นตารวจ หรือมารดาเป็นครู สมาชิกในครอบครัวกม็ กั จะประกอบอาชีพครู เป็นตน้ หากไดร้ ับการปลกู ฝังหรือส่งเสริมไปในทางท่ถี กู ตอ้ งเหมาะสม ก็จะเป็นการสรา้ งค่านิยมท่ดี ีต่อการประกอบอาชีพ ส่งผลใหส้ ามารถเลือกอาชีพไดเ้ หมาะสมกบั ตนเอง มีแนวโนม้ในการประกอบอาชีพสุจริต และประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพได้ นอกจากน้ีเมอื่ ไดเ้ ขา้ ทางานท่ีใดแลว้ ควรสร้างค่านิยมทดี่ ีต่องานทที่ า โดยการมองโลกในแง่ดีมองปัญหาและอุปสรรคเป็นบททดสอบความสามารถท่ีทา้ ทาย เพ่ือใหเ้ กิดความกระตือรือร้นในการทางานและมงุ่ มนั่ ทางานใหส้ าเร็จ ในปัจจุบนั ค่านิยมในการประกอบอาชีพ มแี นวโนม้ เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสงั คมดงั ตวั อยา่ ง 1. อาชีพครู-อาจารย์ เป็นอาชีพทม่ี เี กียรติ มีความมนั่ คง เป็นที่ยอมรับนบั ถือของสงั คม เพราะเป็นผใู้ ห้ความรู้แก่เยาวชน ในอดีตอาชีพครูอาจารยไ์ ม่ค่อยไดร้ ับการสนบั สนุนเพราะผปู้ กครองเห็นว่าเป็นอาชีพทีต่ อ้ งทางานหนกั ค่าตอบแทนนอ้ ย แต่ในปัจจุบนั น้ีรัฐบาลไดเ้ ลง็ เห็นความสาคญั ของการศกึ ษาและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จึงมกี ารปรับอตั ราเงินค่าตอบแทน เงินวิทยฐานะ ส่งผลให้ปัจจุบนั น้ีอาชีพครู ไดร้ ับความสนใจมากข้ึน 2. อาชีพแพทย์ เป็นอาชีพทไ่ี ดร้ ับความนิยม ผปู้ กครองมกั สนบั สนุนให้บุตรหลานเรียนแพทย์แต่มกั มีขอ้ จากดั เพราะผทู้ ่ีเรียนแพทยจ์ ะตอ้ งมสี ติปัญญาระดบั สูง อาชีพแพทยเ์ ป็นอาชีพทีม่ ีเกียรติมีความมนั่ คง มรี ายไดส้ ูง แต่ตอ้ งอาศยั ความรับผดิ ชอบสูงเช่นเดียวกนั ค่านิยมในอาชีพแพทยส์ ่งผลใหผ้ ปู้ กครองบงั คบั ให้บุตรหลานเลือกอาชีพน้ีท้งั ทไี่ มไ่ ดม้ ใี จรัก ทาให้ปฏิบตั ิงานไดไ้ ม่ดีในปัจจุบนัน้ีผปู้ ่ วยมีสิทธ์มากข้ึน และมกี ฎหมายมสี ิทธเ์ อาผดิ กบั แพทย์ ส่ิงเหล่าน้ีส่งผลกระทบต่อการเลือกอาชีพแพทยเ์ ช่นเดียวกนั 3. อาชีพเกษตรกร ในอดีตเช่ือวา่ อาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพที่ใชแ้ รงงานหนกั ค่าตอบแทนนอ้ ย ไมเ่ ป็นทยี่ อมรับจากสงั คม ผปู้ กครองมกั ไมส่ นบั สนุนให้บตุ รหลานประกอบอาชีพน้ี แต่ในปัจจุบนัเกษตรกรใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มาในการผลิต และพฒั นาผลผลิตสร้างรายไดท้ คี่ ุม้ ค่า การทางานอาศยั

เคร่ืองจกั รกลแทนแรงงาน ทาใหเ้ กษตรกรมีความสุขสบายข้ึน อีกท้งั สามารถสร้างฐานะครอบครัวให้มนั่ คงได้ อาชีพเกษตรกรจึงเป็นทย่ี อมรับเพ่ิมมากข้ึน 4. อาชีพตารวจ-ทหาร ค่านิยมเก่ียวกบั ทหาร ตารวจ ถอื วา่ เป็ นอาชพี ทีม่ นั่ คง มีเกียรติมศี กั ด์ิศรี และมีสวสั ดิการดี ผปู้ กครองมกั สนบั สนุนเขา้ อาชีพน้ี เพราะเป็นอาชีพที่ฝึกให้บตุ รหลานอดทนอยใู่ นระเบียบวนิ ยั ทาใหเ้ กิดความภาคภูมิใจแก่วงศต์ ระกลู 5. อาชีพนกั ธุรกจิ เป็นอาชีพท่ีไดร้ ับการยอมรับมากข้ึน เพราะเป็นอาชีพท่ีสามารถสร้างรายไดส้ ูงนกั ธุรกิจตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความฉลาด คิดเป็นแกป้ ัญหาเป็น จึงสามารถดาเนินการแข่งขนั กบัคู่แข่งได้ ปัจจุบนั มีผหู้ ันมาประกอบอาชีพธุรกิจจานวนมาก 6. อาชีพบริการ เป็นอาชีพทีไ่ ดร้ ับความนิยมสูง แมจ้ ะไมม่ เี กียรติเท่าอาชีพอ่ืน แต่งานบริการถอืเป็นอาชีพสุจริตสร้างรายไดแ้ ก่ผปู้ ฎิบตั ิโดยไมต่ อ้ งมีทนุ อาศยั แรงกายในการปฎิบตั ิงานเทา่ น้นั แมค้ ่านิยมในการประกอบอาชีพจะมคี วามสาคญั แต่เราไมค่ วรตดั สินใจเลอื กอาชีพหรือเลอื กเรียนเพียงเพราะค่านิยมเพยี งอยา่ งเดียว ควรเลอื กเรียนหรือเลือกอาชีพท่ตี นเองชอบหรือสนใจ เพราะบางคร้งั การทางานตามค่านิยมอาจก่อใหเ้ กิดปัญหา ไมม่ คี วามสุขขณะทางานปฎิบตั ิงานไมไ่ ด้ ทาใหต้ อ้ งลาออก เปลี่ยนงานใหม่ ส่งผลต่ออายงุ านหรือประสบการณก์ ารทางานหรืออาจทาใหเ้ กิดความทอ้ ถอยในการประกอบอาชีพได้ 2.2 เจตคติ คือ ทา่ ทีหรือความรูส้ ึกของบุคคลทมี่ ีต่อบคุ คล สิ่งของ เหตุการณ์หรือสิ่งแวดลอ้ มต่างๆและจะประเมินในรูปของความชอบหรือไมช่ อบ ความพอใจหรือไมพ่ อใจ 2.2.1 องคป์ ระกอบของเจตคติ มี 3 ดา้ น คือ 1. ดา้ นความรู้สึก (affective component) การที่บุคคลจะมเี จตคติอยา่ งไร เช่น ชอบหรือไม่ชอบอะไรกต็ าม จะตอ้ งข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั หรือองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ท่สี ุดตามความรู้สึกเพราะความรูส้ ึกจะบ่งช้ีวา่ ชอบหรือไม่ชอบ 2. ดา้ นความรู้ (cognitive component) บคุ คลจะมีเจตคติอยา่ งไรจะตอ้ งอาศยั ความรู้หรือประสบการณ์ วา่ เคยรู้จกั หรือเคยรับรู้มาก่อน มิฉะน้นั บุคคลไมอ่ าจจะกาหนดความรู้สึกหรือทา่ ทีว่าชอบหรือไม่ชอบได้ 3. ดา้ นพฤติกรรม (behavior component) บุคคลจะมเี จตคติอยา่ งไรใหส้ ังเกตจากการกระทาหรือพฤติกรรม

2.2.2 เจตคติมหี นา้ ท่ี 4 ประการ 1. เป็นประโยชนใ์ นการปรับตวั 2. ป้ องกนั สภาวะจิตหรือปกป้ องสภาวะจิตของบคุ คลเพราะความคิดหรือความเชอื่ บางอยา่ งสามารถทาใหผ้ เู้ ชือ่ หรือคิดสบายใจ 3. แสดงค่านิยมใหค้ นเห็นหรือรับรู้ (value expressive function) 4. ให้ประโยชน์ทางความรู้ ยง่ิ การศึกษาสูงเท่าใด แนวโนม้ ท่ีเจตคติจะมคี วามรู้ทางวชิ าการแฝงอยมู่ าก 2.2.3 ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ การสร้างเจตคติ องคป์ ระกอบทีม่ ีผลต่อการสร้างเจตคติ มีดงั น้ี 1. วฒั นธรรม (culture) วฒั นธรรมมอี ิทธิพลต่อชีวิตของบคุ คลมอี ิทธิพลตอ่ การสร้างเจตคติท้งั สิ้น เช่น คนไทยนบั ถอื ผสู้ ูงอายุ หรือวยั วุฒิ โดยส่วนใหญ่จะนบนอ้ มและให้ความเกรงใจต่อผสู้ ูงอายุ 2. ครอบครัว (family) ครอบครัวเป็นแหล่งสาคญั ทอ่ี บรมให้เดก็เรียนรู้เรื่องต่างๆจึงมอี ิทธิพลมากทสี่ ุดในการสร้างเจตคติใหแ้ ก่เดก็ ตลอดจนการปลกู ฝังเจตคติในการดาเนินชีวติ ใหก้ บั บตุ รของตน 3. กลุ่มเพอื่ น (social group) เดก็ จะไดร้ ับอิทธิพลต่างๆ จากกลุ่มเพ่อื นมากทีเดียว ท้งั น้ีเดก็ ตอ้ งการการยอมรับจากเพอื่ น ตอ้ งการคาแนะนาและความช่วยเหลือจากเพ่อื นฝงู 4. บุคลิกภาพ (personality) ลกั ษณะบคุ ลิกภาพมีความสมั พนั ธ์ หรือมอี ิทธิพลตอ่ เจตคติของบคุ คลมากเหมือนกนั พวกทช่ี อบออกสังคม พวกหนีสังคม พวกชอบเด่นหรือพวกออ่ นนอ้ มจะมีเจตคติไมเ่ หมอื นกนั 2.2.4 แนวความคิดและเจตคติท่ดี ีและเหมาะสมในการดารงชีวิต แนวความคิดและเจตคติที่ดที ค่ี วรจะปลกู ฝังและเสริมสร้างให้เกิดข้ึนในบุคคล เพ่ือการดารงชีวิต ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม มีดงั น้ี 1. ความมีเหตุผล ควรปลกู ฝังใหม้ ีในบคุ คลคิดอยา่ งเป็นธรรมไตร่ตรองและวเิ คราะห์ปัญหาต่างๆดว้ ยปัญญา 2. ความรับผดิ ชอบ จาเป็นตอ้ งปลกู ฝังให้มใี นบุคคล สงั คมจะพฒั นาไดม้ ากเพียงใดข้ึนอยกู่ บั ความรับผดิ ชอบของคนในสงั คมน้นั เพราะความรับผดิ ชอบจะเป็นพลงัสร้างสรรคใ์ ห้งานบรรลุเป้ าหมาย

3. ความเสียสละ เป็นการใหบ้ คุ คลตอ่ บุคคล หรือส่ิงแวดลอ้ ม การให้น้นั ทาไดห้ ลายรูปแบบ เช่น ใหแ้ ต่ส่ิงดี ไม่ใหส้ ่ิงท่ีไมด่ ีหรือเอารัดเอาเปรียบบคุ คลอ่ืน 4. ความมีระเบียบวนิ ยั บคุ คลทมี่ รี ะเบยี บวนิ ยั จะควบคุมตนเองและรับผดิ ชอบตนเองไดด้ ีทาให้ประสบความสาเร็จ ในส่ิงที่เขามงุ่ มน่ั ปรารถนา 5. ความมเี มตตา ถา้ บคุ คลยดึ หลกั “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” จะทาใหเ้ ราเขา้ ใจคนอ่ืน และรู้จกั ท่จี ะใหอ้ ภยั ในความผดิ มีน้าใจพร้อมที่จะช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนเทา่ ท่ีจะทาไดห้ รือโอกาสอานวย 6. ความใฝ่รู้ ความรู้ต่างๆ ในทางโลกทกุ วนั น้ี เปล่ียนแปลงเร็วมากจึงควรปลกู ฝังบุคคลใฝ่ รู้เพ่อื ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆ เหล่าน้นั จะไดป้ รับกายและใจ ยอมรับต่อการเปลี่ยนแปลง 3. จรรยาบรรณ ตามความหมายในพจนานุกรม หมายความวา่ ประมวลความประพฤติท่ีผปู้ ระกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ ง กาหนดข้ึนเพอ่ื รักษาและส่งเสริมชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก จรรยาบรรณ หมายถึง หลกั ความประพฤติอนั เหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพทก่ี ลุ่มบคุ คลแต่ละสาขาวชิ าชีพประมวลข้ึนไวเ้ ป็นหลกั เพอ่ื ให้สมาชิกในสาขาวชิ าชีพน้นั ๆยดึ ถือปฏิบตั เิ พ่ือรักษาช่ือเสียงและส่งเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตน จรรยาบรรณจึงเป็นหลกั ความประพฤติ เป็นเครื่องยดึ เหน่ียวจิตใจให้มคี ุณธรรมและจริยธรรมของบคุ คลในแต่ละกลุ่มวิชาชีพซ่ึงเรียกว่า จรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพ(professional code of ethics) เมอื่ ประพฤติแลว้ จะช่วยรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงท้งั ของวชิ าชีพและฐานะของสมาชิกทาให้ไดร้ ับความเชอื่ ถือจากสงั คม 3.1 จรรยาบรรณวิชาชีพ (code of ethics) จรรยาบรรณเกดิ ข้ึนเพอ่ื มุ่งให้คนในวชิ าชีพมีประสิทธิภาพ ใหเ้ ป็นคนดีในการบริการวิชาชีพ ใหค้ นในวชิ าชีพมีเกียรติศกั ด์ิศรีที่มีกฎเกณฑม์ าตรฐานจรรยาบรรณจรรยาบรรณ มคี วามสาคญั และจาเป็นต่อทุกอาชีพ ทกุ สถาบนั และหน่วยงาน เพราะเป็นที่ยดึ เหนี่ยวควบคุมการประพฤติ ปฎิบตั ิดว้ ยความดีงาม

3.2 ความสาคญั ของจรรยาบรรณ เพื่อใหม้ นุษยส์ ามารถอาศยั อยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสงบสุข จงึ ตอ้ งมกี ฎ กตกิ ามารยาท ของการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมทเ่ี จริญแลว้ จะไมม่ องแต่ความเจริญทางวตั ถุ เช่น ตึกรามถนน หนทางเทา่ น้นั แต่จะมองความเจริญดา้ นจิตใจดว้ ย ในชุมชนที่เขม้ แข็ง กลุ่มอาชีพต่างๆจะมีเอกลกั ษณท์ ชี่ ดั เจนท้งั ความรู้ความสามารถและพนั ธกรณีทีม่ ีต่อชุมชน กลุ่มอาชีพ จึงมีความหมายมากว่าการรวมกลุ่มกนั ของผหู้ าเล้ียงชีวิตในวถิ ีทางเดียวกนัมคี วามหมายไปถึงการเป็นสถาบนั ของมืออาชีพทีผ่ กู พนั อยกู่ บั สังคม เพอื่ ดารงรักษาเกียรติและความยอมรับ กลุ่มอาชีพตอ้ งพฒั นากลุ่มของตน ดว้ ยการยกฐานะและรักษาระดบั มาตรฐานอาชีพของพวกตนอยา่ งต่อเนื่อง 4. อาชพี และวชิ าชพี อาชีพ หมายถึง การทามาหากิน ทาธุรกิจ ตามความชอบหรือความถนดัไดค้ ่าตอบแทนเป็นค่าจา้ งหรือเงินเดือน ธุรกิจ หมายถึง อาชีพ หรือการประกอบการทม่ี ีจุดม่งุ หมายเพอื่ ทาให้เกิดผลกาไรผปู้ ระกอบการหรือผปู้ ระกอบธุรกิจมีความชอบธรรมทีจ่ ะแสวงหาผลประโยชนจ์ ากธุรกิจน้นั ให้มากทีส่ ุดเท่าทจี่ ะทาได้ การโฆษณาจึงเป็นเครื่องมอื ทจี่ าเป็นสาหรับธุรกิจ คาวา่ วิชาชีพ มาจากคาสนธิ คือ “วชิ า” และ “อาชีพ” ถา้ สังเกตแลว้ จะเห็นว่าวิชาชีพน้นั ไมใ่ ช่อาชีพธรรมดา แต่ประกอบดว้ ย “วชิ า” ดว้ ย ดงั น้นั อาชีพทกุ อาชีพไม่ไดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็นวชิ าชีพท้งั หมด มเี พยี งบางอาชีพเท่าน้นั ทไ่ี ดร้ ับเกยี รติถือว่าเป็นวิชาชีพ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นนราธิปพงศป์ ระพนั ธ์ทรงแปลคาศพั ท์ “profession”ว่า “อาชีวปฏิญาณ” มาจากอาชีพ+คาปฎิญาณ เพราะสภาพอนั แทจ้ ริงแห่งวิชาชีพ คือการปฏญิ าณตนต่อสรรพสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิวา่ จะประกอบอาชีพตามธรรมนิยมซ่ึงมวี างไวเ้ ป็นบรรทดั ฐานอาชีวปฏิญาณในช้นั ตน้ ไดแ้ ก่ วถิ อี าชีพของนกั บวชซ่ึงตอ้ งเคร่งครัดในระเบยี บวนิ ยั ทบ่ี งั คบั ไวแ้ ละต่อมาคือ นกั กฎหมาย แพทย์ เภสชั กร ฯลฯ ซ่ึงจดั องคก์ รควบคุมกนั เอง มวี นิ ยั และจริยธรรมอนัเคร่งครัด วชิ าชีพ ( profession ) หมายถึง งานท่ีตนไดป้ ฎิญาณวา่ จะอุทศิ ตวั ทาไปตลอดชีวติเป็นงานที่ตอ้ งไดร้ ับการอบรมสงั่ สอนมานาน เป็นงานทมี่ ีขนบธรรมเนียม ( fee ) หรือ คา่ ยกครูมิใช่ค่าจา้ ง ( wage )

4.1 ลกั ษณะสาคญั ของการเป็นวิชาชีพ ไดแ้ ก่ 4.1.1 มีองคค์ วามรู้เฉพาะของตน ผปู้ ระกอบวิชาชีพจะตอ้ งเขา้ รับการศึกษาฝึ กอบรมใหม้ ีความรู้ในศาสตร์เฉพาะของวิชาชีพน้นั ๆ 4.1.2. มคี วามเป็นอิสระในการประกอบวิชาชีพ เป็นการประกอบวิชาชีพทีม่ ีมาตรฐานการปฎิบตั ิเป็นการเฉพาะสาหรับวิชาชีพน้นั ๆ โดยมอี งคค์ วามรู้เป็นพ้ืนฐาน บุคคลอ่ินไมส่ ามารถจะมาสัง่ การให้ปฏิบตั อิ ยา่ งน้นั อยา่ งน้ีได้ นอกจากน้ีการปกครองกนั เองภายในวิชาชีพเดียวกนั ยงั เป็นอิสระจากการควบคุมของคนนอกวิชาชีพ เช่นถา้ สมาชิกคนใดกระทาผดิการพิจารณาจะเริ่มจากคณะกรรมการขององคก์ ารวิชาชพี ก่อน 4.1.3 มกี ฎหมายรองรับการประกอบวชิ าชีพ หมายถึง จะตอ้ งมีการข้ึนทะเบียนเพือ่ ขออนุญาตประกอบวชิ าชีพ ไดแ้ ก่ ใบประกอบวชิ าชีพ 4.1.4 มจี รรยาบรรณ ตราข้ึนเพอ่ื ผปู้ ระกอบวิชาชีพดารงตนหรือประพฤติตนอยใู่ นความถูกตอ้ ง ดีงามต่อผรู้ ับบริการ ตอ่ เพอื่ นผรู้ ่วมวชิ าชีพ ต่อตนเอง และตอ่ สังคมส่วนรวม 4.1.5 มสี านึกท่ีจะให้บริการ เมอื่ ถกู เรียกรอ้ งการบริการจะตอ้ งเตม็ ใจที่จะใหบ้ ริการแก่ผมู้ ารับบริการไดเ้ สมอ บางคร้ังอาจจะตอ้ งสละความสุขส่วนตวั มคี วามภาคภูมิใจในวิชาชีพของตน 4.2 องคป์ ระกอบความเป็นวิชาชีพ การท่ีจะเรียกว่าเป็นวชิ าชีพไดน้ ้นั ศาสตราจารยป์ รีดี เกษมทรัพย์ ปรมาจารย์ดา้ นกฎหมายทา่ นหน่ึงในสงั คมไทย ไดอ้ ธิบายไวจ้ ะตอ้ งประกอบดว้ ยลกั ษณะอยา่ งนอ้ ย 3ลกั ษณะดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ 4.2.1 เป็นอาชีพท่เี ป็นการงานทม่ี ีการอุทศิ ตนทาไปตลอดชีวิต 4.2.2 การงานทท่ี าน้นั ตอ้ งไดร้ ับการสง่ั สอนอบรมเป็นวิชาชีพช้นั สูงในลกั ษณะอบรมกนั หลายปี 4.2.3 ผทู้ างานประเภทน้นั จะตอ้ งมีชุมชนหรือหม่คู ณะ ทมี่ ขี นบธรรมเนียมประเพณีสานึกในจรรยาบรรณ เกียรติยศ และศกั ด์ิศรี ตลอดจนมีองคก์ รและกระบวนการเพอ่ืสอดส่องพิทกั ษร์ ักษาขนบธรรมเนียม เกยี รติศกั ด์ิ ศกั ด์ิศรีน้นั ดว้ ย

5. คณุ ลกั ษณะทดี่ ีของผู้นา การวจิ ยั ภาวะผนู้ าในทศวรรษ 1920 จนถึง 1930 โดยคน้ หาคุณลกั ษณะทแี่ ยกความเป็นผนู้ าออกจากผตู้ าม นกั วจิ ยั ไดส้ ังเกตวา่ คุณลกั ษณะของผนู้ าตา่ ง ๆ จะมไี ม่เทา่ กนั ในแต่ละสถานการณ์ และไดแ้ บง่ คุณลกั ษณะผนู้ าออกจากผตู้ ามได้ 6 ประการ คือ การมแี รงกระตุน้ (drive)การอยากเป็นผนู้ า (desire to lead) การยดึ ถือหลกั คุณธรรม (integrity) ความมน่ั ใจในตนเอง(self-confidence) ความเฉลียวฉลาด (intelligence) การรู้งาน (job-relevant knowledge) คุณลกั ษณะ 6 ประการของผนู้ า (six traits that differentiate leaders fromnonreaders) 1. มแี รงกระตุน้ (drive) ผนู้ าจะตอ้ งมแี รงกระตุน้ ทจ่ี ะทางานใหส้ าเร็จ มคี วามยากมากดว้ ยพลงั ผลกั ดนั ทางานอยา่ งไม่รู้เหน็ดเหน่ือย และแสดงความคดิ ริเริ่ม 2. ปรารถนาเป็นผนู้ า (desire to lead) ผนู้ าตอ้ งอยากนาคนอื่น และแสดงออกมาใหร้ ู้อีกท้งั ตอ้ งมีความรับผดิ ชอบ 3. ซ่ือสตั ยแ์ ละมีคุณธรรม (honesty and integrity) ผนู้ าจะตอ้ งสร้างความน่าเช่ือถือและความไวว้ างใจระหวา่ งเขากบั ผตู้ ามโดยมีความสัตยซ์ ื่อ และคาไหนเป็นคาน้นั 4. ความมน่ั ใจในตนเอง (self-confidence) ผตู้ ามหาผนู้ าเพราะตวั เองไมม่ ีความมน่ั ใจ ดงั น้นั ผนู้ าตอ้ งมคี วามมนั่ ใจในตนเองและแสดงออกและชกั จูงใหผ้ ตู้ ามไปในจุดม่งุ หมายและการตดั สินใจทถ่ี กู ตอ้ ง 5. ความเฉลียวฉลาด (intelligence) ผนู้ าจะตอ้ งรับข่าวสารขอ้ มลู มากมาย ดงั น้นัจะตอ้ งมีความสามารถในการสร้างวสิ ยั ทศั น์ แกป้ ัญหา และตดั สินใจใหถ้ ูกตอ้ ง 6. การรู้งาน (job-relevant knowledge) ผนู้ าทเ่ี ก่งจะตอ้ งมคี วามรู้งานในบริษทัตนเอง คู่แข่ง เทคโนโลยี เพอ่ื การตดั สินใจทถ่ี ูกตอ้ ง 6. ความสาเร็จในการทางาน บคุ คลทปี่ ระกอบอาชีพจะตอ้ งเขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบของตนเองเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบตั ิหนา้ ท่ีเกิดประสิทธิภาพ ตอ้ งรับผดิ ชอบต่องานในหนา้ ที่ รับผดิ ชอบต่อเพอ่ื นร่วมงาน เพอื่ ใหเ้ กิดความสาเร็จในการทางาน ดงั น้นั คุณสมบตั ิที่ดีของผปู้ ฏิบตั ิงานทด่ี ีจะตอ้ งมีดงั น้ี 6.1 ปกป้ องผลประโยชน์ของบริษทั ตอ้ งคิดเสมอวา่ บริษทั เสมือนบา้ นเกิดของตนเองอีกหลงั หน่ึง ดงั น้นั จะตอ้ งปกป้ องผลประโยชน์และทรัพยส์ ินต่างๆ ไมใ่ หถ้ กู ทาลายหรือเกิดความสูญเสีย โดยคานึงถึงความประหยดั ความคุม้ ค่าในการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และมคี วามรอบคอบระมดั ระวงั บารุงรักษาใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ บริษทั

6.2 ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บ กฎระเบียบถือว่าเป็นแนวทางที่จะตอ้ งปฏิบตั ิและควบคุมความประพฤติของบคุ คลให้เหมาะสม ไม่สร้างปัญหาและทาให้เกิดความเป็นระเบยี บเรียบร้อยในการทางาน 6.3 รับผดิ ชอบต่อความผดิ พลาด เมอื่ เกิดปัญหาหรือทางานผดิ พลาด ผปู้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งพร้อมที่จะรับผดิ ชอบต่อปัญหาทเ่ี กิดข้ึน กลา้ เผชิญความจริง และพร้อมทีจ่ ะแกไ้ ขปรับปรุงพฒั นางานให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป 6. 4 การปฏิบตั ิตนเพื่อให้เกิดคุณภาพ 6.4.1 ตอ้ งมาปฏิบตั ิงานตรงเวลา ตามกฎระเบียบของบริษทั ในเร่ืองการลาป่ วยลากิจ หรือการขาดงาน ซ่ึงถือวา่ เป็นการหลบเล่ยี งงาน และขาดความรับผดิ ชอบ เพราะอาจจะถกู ลงโทษ และไม่ไดร้ ับความไวว้ างใจจากผบู้ ริหารและเพือ่ นร่วมงาน 6.4.2 ขยนั หมน่ั เพยี ร พนกั งานที่ดีจะตอ้ งขยนั อดทน และมคี วามต้งั ใจที่จะทาใหง้ านน้นั เสร็จลุล่วงไปดว้ ยดี เพ่อื ให้งานท่ีทาเสร็จตรงตามเวลา และมีคุณภาพมากทีส่ ุด 6.4.3 มคี วามรับผดิ ชอบและไวว้ างใจได้ พนกั งานทด่ี ีจะตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย รับผดิ ชอบต่อเพือ่ นร่วมงานและงานที่ผดิ พลาด มคี วามยนิ ดีท่ีจะแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดท่ีเกิดข้ึน โดยไม่โยนความผดิ ใหค้ นอื่น 6.4.4 เรียนรู้และเขา้ ใจงาน พยายามท่จี ะเรียนรู้ส่ิงใหมๆ่ เพอื่ พฒั นางานใหม้ ีคุณภาพ และเกิดประโยชน์ต่อบริษทั ต่อเพ่อื นร่วมงาน และหวั หนา้ งานของตนเอง 6.4.5 มที กั ษะการแกป้ ัญหา การทางานจะตอ้ งมไี หวพริบในการดาเนินการและแกไ้ ขปัญหาต่างๆโดยทอ่ี าศยั การตดั สินใจดว้ ยเหตุผลเป็นส่ิงสาคญั 6.4.6 มคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นการคดิ ท่ีจะเพ่มิ ผลผลิตของงานใหม้ ากข้ึนหรือเป็นการสร้างผลงานใหม่แต่ใชเ้ วลาและงบประมาณนอ้ ย ถือวา่ เป็นการสร้างผลประโยชน์สูงสุดใหก้ บั บริษทั 6.4.7 มเี จตคติทีด่ ีตอ่ การทางาน การทางานร่วมกนั จะตอ้ งมเี จตคติที่ดีตอ่ งานต่อผรู้ ่วมงาน หรือต่อหวั หนา้ งาน เพอื่ ใหก้ ารทางานเป็นไปอยา่ งมคี วามสุข รวมถึงการมที นุ ทรัพย์ในการติดต่อส่ือสารกบั บุคคลอ่ืนเพอื่ ใหผ้ ลงานออกมาอยา่ งมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

7. เทคนิควธิ ีทจี่ ะทาให้งานประสบผลสาเร็จ มีดงั น้ี 7.1 ทางานโดยอาศยั ความสามารถทีม่ อี ยขู่ องตน 7.2 เริ่มงานอยา่ งมุง่ มน่ั ในทนั ทเี มอื่ ไดร้ ับมอบหมาย 7.3 จดั ลาดบั งาน ตามข้นั ตอนกอ่ นหลงั 7.4 มจี ิตใจมน่ั คงในการทางาน 7.5 ควบคุมงานใหส้ าเร็จตามกาหนด 7.6 ตรวจสอบคุณภาพงานอยเู่ สมอ 7.7 รายงานผลต่อหัวหนา้ /ผบู้ งั คบั บญั ชาและผบู้ ริหารตามความเหมาะสม 7.8 รู้จกั ผอ่ นคลายกรทางานตามสถานการณ์ 7.9 เขา้ ใจความแตกต่างระหว่างบุคคล 7.10 ยดื หยนุ่ และสามารถปรับเปลี่ยนวธิ ีการทางาน เพอื่ ใหบ้ รรลุตามเป้ าหมาย 7.11 ในกรณีทเ่ี จอปัญหาหรืออุปสรรค ตอ้ งไม่ยอมแพค้ วรทจ่ี ะหาทางแกไ้ ข

ใบงานท่ี 4บทบาทสมมติ เร่ือง เสน้ ทางสู่ความสาเร็จ ประกอบดว้ ย 1. สถานการณ์ เสน้ ทางสู่ความสาเร็จ 2. บทบาท ประกอบดว้ ย บทบาทของพรพรรณ แกว้ ใจ นิลภา จารุณี ธิดา 3. ปัญหาหรืองานทก่ี าหนดให้แต่ละบทบาท งาน คอื การแสดงตามบทบาททก่ี าหนดให้ 4. กติกาการเล่นบทบาทสมมติ - แสดงตามบทบาทที่กาหนดให้ - แสดงภายในเวลาทก่ี าหนด สถานการณ์ 1. 2.ในการจดั งานสานฝันวยั ใส ของโรงเรียน จึงไดน้ าศ3ษิ .ยเ์ ก่าทป่ี ระสบความสาเร็จมาเป็น Idol ให้แก่รุ่นนอ้ งในโรงเรียนเป็นแบบอยา่ ง 4. เ:ปเป็น็เนปเจ็แนา้อนขรอกั์โงศฮธึกสุรษเกตาิจสแสขพ่วอทนงยสตท์ วาั ี่ไยดดกา้ ร้นาับรEบราxนิ งpตวoะลัrtวแนัพอทอยกช์ กนลบาทงด675ีเด... ่นพรพรรณ 8.แกว้ ใจ : 9.นิลภา :จารุณี และธิดา : กาลงั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 6จารุณี : สวสั ดีค่ะพี่ๆ 10.พรพรรณ : สวสั ดีค่ะนอ้ งชอื่ อะไรค่ะ 11.จารุณี : หนูช่ือจารุณีค่ะ เพ่ือนหนูชือ่ ธิดาค่ะ 12.ธิดา : สวสั ดีค่ะ 13.แกว้ ใจ : แลว้ นอ้ งๆ เรียนแผนการเรียนอะไรกนั ค่ะจารุณี : เรียนแผนวิทยาศาสตร์กนั ค่ะพรพรรณ : มีใครชอบเป็นหมอไหม๊ธิดา : คุณพ่อคุณแม่หนอู ยากให้หนูเป็นหมอค่ะ เพราะทา่ นบอกว่าเป็ นอาชีพทีม่ ีเกียรติ

สถานการณ์ (ต่อ) 14.พรพรรณ : ทกุ อาชีพมีเกียรติดว้ ยกนั ท้งั น้นั แหล่ะจะ้ ขอให้เราต้งั ใจทางานทมุ่ เทกา1ล5งั.ใจและ แรงกาย ยดึ มน่ั ในระเบยี บวินยั มีจรรยาบรรณในวิชาชีพของเรา และ1ข6อ้ .สาคญัเราตอ้ งมีคุณธรรม จริยธรรมกบั ทุกคนไม่วา่ จะเป็นญาติพน่ี อ้ ง เพอื่ นร1่ว7ม.งานและคนอ่ืน ๆ ทเ่ี ราพบเจอดว้ ยนะคะจารุณี : หนอู ยากประสบความสาเร็จเหมือนพวกพ่ีๆจงั เลยค่ะนิลภา : ถา้ คนเรามคี วามสามารถและชอบทาในส่ิงทีต่ นเองถนดั กม็ โี อกาสประสบความสาเร็จสูงมากเลยละจะ้จารุณี : นน่ั นะซิคะ เพราะพอ่ แม่ก็อยากใหห้ นูเป็นครู แต่หนูอยากเป็นแอร์โฮสเตสเหมอื นพ่แี กว้ ใจมากกว่า เพราะหนูอยากมีโอกาสไดเ้ ดนิ ทางไปต่างประเทศบ่อยๆคะแกว้ ใจ : ถา้ นอ้ งอยากเป็นจริงๆ อนั ดบั แรกนอ้ งตอ้ งศกึ ษาคุณสมบตั ิของการเป็นแอร์โฮสเตสก่อนเพ่ือทีเ่ ราจะไดเ้ ตรียมความพร้อมไมว่ ่าจะท้งั ดา้ นความรู้บุคลิกภาพและภาษากเ็ ป็นสิ่งสาคญั มากๆ นะคะจารุณี : ขอบคุณพมี่ ากๆนะคะทีใ่ หค้ าแนะนากบั หนูนิลภา : ไม่มีใครอยากเป็นนกั ธุรกจิ เหมอื นพเ่ี หรอธิดา : หนูกลวั ทาไมไ่ ดค้ ะ่ เพราะเขาบอกวา่ การทาธุรกิจเป็นเร่ืองที่เสี่ยงมากนิลภา : ใช่จะ้ ทกุ อาชีพกม็ คี วามเส่ียงมากนอ้ ยต่างกนัจารุณี : แลว้ พีน่ ิลภามีหลกั การทางานยงั ไงค่ะถึงประสบความสาเร็จนิลภา : พ่กี ็มีใจรักในงานดา้ นน้ีอยแู่ ลว้ พอเราทางานแลว้ รู้สึกมนั ชอบ สนุกกบั การไดต้ ิดตอ่ ผคู้ น ซื่อสตั ยต์ อ่ ลกู คา้ มีโอกาสไดเ้ ดินทางไปต่างประเทศบ่อย ๆ แลว้ตอนหลงั ๆพกี่ ็ติดตอ่ ทางอินเทอร์เนต็ ทาใหเ้ รามเี วลาไดต้ ิดต่อลกู คา้ คนอื่นอีกและไมเ่ สียเวลา เสียค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางมากนกัธิดา : ตอนน้ีหนูตดั สินใจไม่ค่อยถกู แลว้ ค่ะวา่ จะเลือกเรียนอะไรดีพรพรรณ : เราควรจะเลือกเรียนในส่ิงทเี่ ราถนดั และสนใจ จะทาให้นอ้ งมีความสุขในการทางานตลอดไป และงานจะออกมาดีดว้ ยนะแกว้ ใจ : ถา้ ใครสนใจจะเป็นแอร์โฮสเตสเหมอื นพี่ ปรึกษาพีไ่ ดเ้ พ่มิ เติมทหี ลงั นะคะจารุณี : ขอบพระคุณพวกพมี่ ากเลยค่ะทม่ี าใหค้ วามรูก้ บั พวกหนูวนั น้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook