รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 50 สว่ นท่ี 2 4 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านความเหลอ่ื มล้า สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา (3) การเข้าถึงสวัสดิการสังคม ตั้งแต่ปี 2552 ภาครัฐได้ดาเนินโครงการแจกเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ รวมถึงแจกเบ้ียยังชีพผู้พิการ ต้ังแต่ปี 2553 โดยครอบคลุมผู้สูงอายุและคนพิการทุกคน แต่ยังมี ผู้สูงอายุและผู้พิการ บางส่วนที่ยังเข้าไม่ถึงโครงการดังกล่าว ซ่ึงผลการดาเนินโครงการท่ีผ่านมา พบว่าผู้สูงอายุ และผู้พิการท่ีมีฐานะยากจน มีสัดส่วนการเข้าถึงเบ้ียยังชีพ ที่สูงกว่าผู้สูงอายุและผู้พิการท่ีไม่ยากจน ซ่ึงในปี 2560 ภาครัฐ ได้ดาเนินโครงการ ลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อย ซ่ึงจะทาให้สามารถทราบจานวนผู้มีรายได้น้อย และจัดสวัสดิการ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือ ได้ตรงจุดมากขึ้น ในส่วนของการให้ความคุ้มครองด้านแรงงานแก่แรงงานนอกระบบ พบว่า แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ ยงั ไมไ่ ด้รบั ความคุม้ ครอง ตามพระราชบญั ญัตปิ ระกนั สังคม โดยในปี 2558 มีแรงงานนอกระบบเพยี งร้อยละ 10.8 ของแรงงาน นอกระบบท้ังหมด ที่สมัครเข้ารับการคุ้มครองตามมาตรา 40 ของพระราชบัญญัติประกันสังคม ขณะเดียวกันในปี 2558 มกี ารจัดตง้ั กองทุนการออมแห่งชาติเพื่อสง่ เสริมการออมของประชาชน แต่กย็ ังไมไ่ ดร้ บั ความนิยมมากนัก โดยในเดอื น มถิ ุนายน 2560 มสี มาชกิ ทงั้ สน้ิ 537,009 คน (4) การเข้าถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรม ประเทศไทยไดส้ ง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมไดอ้ ยา่ งเสมอภาค ผา่ นการจัดตั้งกองทุนยตุ ิธรรมตั้งแต่ปี 2549 จากนั้นปี 2558 ยกระดับเป็นพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม อยา่ งไรก็ตาม แม้จะมีการดาเนินโครงการเพ่ือลดความเหล่ือมล้า แต่ยังคงพบปัญหาในการเข้าถึงกฎหมาย อันเน่ืองมาจากความย้อนแย้ง และความลา้ หลังของกฎหมาย การไมบ่ ังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดจริงจัง รวมถึงความลา่ ช้าของระบบบริหารงานราชการ และการเลอื กปฏบิ ัตใิ นกระบวนการยุตธิ รรม ท้ังนี้ ปจั จุบนั ภาครัฐอยรู่ ะหว่างการปฏิรปู เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบังคับใชก้ ฎหมาย และกระบวนการยตุ ธิ รรม (5) การเข้าถึงโครงสร้างพ้ืนฐาน จากข้อมูลในปี 2558 พบว่า ครัวเรือนร้อยละ 99.9 มีไฟฟ้าใช้ในบ้านขณะท่ี พบว่ายังมีความเหล่ือมล้าในส่วนของการเข้าถึงน้าประปา โดยร้อยละ 97.5 ของครัวเรือนท่ีรวยที่สุด 10% แรก มีน้าประปา ใช้ในบ้าน ขณะที่ครัวเรือนท่ีจนท่ีสุด 10% แรก* มีน้าประปาใช้เพียงร้อยละ 87.3 ในด้านการเข้าถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า ร้อยละ 95.9 ของครัวเรือนทั้งหมด มีโทรศัพท์เคล่ือนที่ โดยสัดส่วนการเข้าถึง โทรศัพท์เคล่ือนท่ี ระหว่างครัวเรือน ที่อยู่ในเขตเมืองกับเขตชนบทไม่มีความแตกต่างกันมากนัก ขณะที่การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ยังพบ ความเหลื่อมล้าทั้งในเชงิ พื้นที่และระดับรายได้ โดยในปี 2558 พบว่า ครัวเรือนกลุ่มที่จนที่สุด 10% แรก เข้าถึงอินเทอร์เน็ต เพียงร้อยละ 1.14 ขณะที่ครัวเรือนท่ีรวยท่ีสุด 10 เข้าถึงอินเทอร์เน็ตร้อยละ 50.08 เช่นเดียวกับการใช้อินเทอร์เน็ต ในเขตเมอื ง จะมสี ดั สว่ นสงู กวา่ การใชอ้ นิ เทอรเ์นต็ ในเขตชนบทเทา่ กบั 1.48 เทา่ รายงานการวิเคราะหส์ ถานการณ์ความยากจนและความเหลอื่ มล้าในประเทศไทย ปี 2558 สศช. หนา้ 2-19
รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 51 สว่ นท่ี 2 5 สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ด้านเศรษฐกจิ สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 5.1 สถานการณ์และแนวโน้มด้านเศรษฐกิจโลก ในปจั จบุ ันเศรษฐกจิ โลกมีการเจริญเตบิ โตต่ากวา่ ศักยภาพท่ีควรจะเปน็ ภายหลงั จากที่ตอ้ งเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ หลายครง้ั มีปัญหาในเชิงโครงสร้างท่ียังอ่อนแอในหลายภาคส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัญหาการคลังไม่ยั่งยืน และปัญหาหน้ีสาธารณะของกลุ่มสหภาพยุโรป ความเสี่ยงจากการที่สหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรป ปัญหาเศรษฐกิจจีนชะลอตัว และการฟ้ืนตัวของเศรษฐกิจญ่ีปุ่นท่ีล่าช้าในขณะท่ีมีข้อจากัดจากโครงสร้างประชากรสูงอายุ ซ่ึงภาวะความซบเซาของเศรษฐกิจโลกส่งผลให้การแข่งขันในตลาดโลกรุนแรงขึ้นมีการใช้มาตรการท่ีไม่ใช่ภาษี ในการกีดกันการค้า และท่ีสาคัญคือการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตด้วยการใช้นวัตกรรม เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันและแก้ปัญหาอุปสรรคด้านทรัพยากรและกาลังคน ในขณะเดียวกัน การรวมตัวทางการค้าและการลงทุน เพอ่ื สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั และสร้างรายไดก้ ม็ ีความเข้มขน้ ขึ้น สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจโลกในช่วงระยะ 10 ปีข้างหน้ายังคงเป็นช่วงเวลาที่เศรษฐกิจโลกได้รับผลกระทบ จากปัจจัยสาคัญ 4 ประการ และมีแนวโน้มที่จะขยายตัวต่ากว่าเฉล่ียร้อยละ 5.1 ในช่วง 5 ปีก่อนวิกฤตเศรษฐกิจโลก (ปี 2556 – 2550) ประการแรก ปัญหาต่อเนื่องจากวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจโลกในช่วงปี 2551– 2552 และวิกฤติการณ์ ในกลุ่มประเทศยูโรโซนที่ทาให้ระดับหนี้สาธารณะในประเทศต่างๆ เพ่ิมสูงข้ึนและกลายเป็นความเส่ียง ต่อความยั่งยืน ทางการคลัง และความเสี่ยงจากการแยกตัวของประเทศสมาชิกในสหภาพยุโรป ประการทีส่ อง การดาเนนิ มาตรการขยายปรมิ าณเงินขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญ่ีปุ่น ซึ่งเป็นความเส่ียงให้เกิด ภาวะเงินเฟ้อไดเ้ มือ่ เศรษฐกจิ ฟ้ืนตวั เต็มที่รวมทัง้ อาจจะมีความผนั ผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ ประการท่ีสาม การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรไปสู่สังคมผู้สูงอายุในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศจะส่งผล ให้ความต้องการสินค้าและบริการในตลาดโลกขยายตัวได้ช้าลงและอัตราการออมลดลงส่งผลต่อปริมาณเงินทุนและการ เคลื่อนย้ายเงินทุนของโลก สร้างแรงกดดันต่อการแย่งชิงแรงงานและต้นทุนค่าจ้างแรงงาน การออม รวมทั้ง ภาระรายจ่ายงบประมาณแผ่นดนิ ประการท่ีส่ี การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าสู่จุดอ่ิมตัวมากขึ้นขณะที่การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ท่ีจะช่วยให้ ประสิทธภิ าพการผลิตของโลกเพมิ่ ขน้ึ ขนานใหญ่และเป็นวงกวา้ งเชน่ ทเี่ คยเกดิ ขน้ึ ในชว่ งการปฏิวัติอุตสาหกรรมยังไม่มีแนวโน้ มการก่อตัวท่ีชัดเจน แต่ก็มีแนวโน้มของการพัฒนาเทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ๆ ท่ีจะเป็นโอกาสสาหรับการพัฒนา เศรษฐกจิ รูปแบบใหม่ ๆ ในขณะเดียวกันระบบเศรษฐกจิ และการเงินโลกยังมแี นวโนม้ ท่จี ะผันผวนได้ง่ายจากการปรับทิศทางนโยบายการเงินขอ งประเทศสาคัญๆ อาทิ สหรัฐอเมริกา ยูโรโซน และญี่ปุ่น รวมทั้งมีความเส่ียงในด้านฐานะการคลัง ห า ก ก า ร ป ฏิ รู ป โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ป ร ะ เ ท ศ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ห ลั ก ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ น อ ก จ า ก น้ั น ราคาสินค้าในตลาดโลกยังไม่มีแนวโน้มที่จะปรับตัว เข้าสู่ระดับสูงสุดท่ีเคยเกิดข้ึนในช่วงปี 2554– 2555 ได้ เน่ืองจากเศรษฐกิจโลกขยายตัวช้า และกาลังการผลิตในประเทศสาคัญๆ เพิ่มขึ้น แต่ในกลุ่มสินค้าขั้นปฐมภูมิ ท่ีจาเป็นราคามีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น อย่างต่อเนื่องในระยะ 10– 20 ปีข้างหน้าเพราะจานวนประชากรโลกเพิ่มข้ึน ในขณะที่มีข้อจากัดด้านที่ดินทากิน และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ดังน้ัน ภายใต้สถานการณ์ที่ตลาดโลก ขยายตัวช้าแต่ประเทศต่าง ๆ ขยายกาลังการผลิตเพ่ือยกระดับศักยภาพการผลิต การแข่งขันในตลาดโลก จะมคี วามรนุ แรงข้นึ ขณะเดียวกนั การลดลงของประชากรไทยในระยะ 10-15 ปี ขา้ งหนา้ น้ี จะทาให้ขนาดของตลาดในประเทศ ขยายตัวช้าลง เงื่อนไขดังกล่าวเป็นความเสี่ยงสาหรับอนาคตของเศรษฐกิจไทย ในระยะยาวหากประเทศไทย ไม่เร่งปรบั โครงสร้าง เพ่อื แกป้ ัญหาจดุ ออ่ นและเสริมจดุ แข็งให้สัมฤทธผิ์ ล
ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 52 ส่วนท่ี 2 5 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านเศรษฐกจิ สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก มี แ น ว โ น้ ม ท่ี จ ะ ก ลั บ ม า ข ย า ย ตั ว ไ ด้ เ ข้ ม แ ข็ ง ขึ้ น ใ น ช่ ว ง 1 0 ปีหลังอันเป็นผลจากการพัฒนาเทคโนโลยี อย่างก้าวกระโดดในละลอกต่อไปรวมถึงเทคโนโลยีด้านการเงิน ภ า ย ใ ต้ ก ร ะ แ ส โ ล ก ภิ วั ต น์ ท่ี เ ข้ ม ข้ น เ ป็ น โ ล ก ที่ ไ ร้ พ ร ม แ ด น เ ต็ ม รู ป แ บ บ แ ล ะ ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ท า ง ก า ร ค้ า แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น ที่ ห ล า ก ห ล า ย ม า ก ขึ้ น ก า ร แ ข่ ง ขั น จ ะ รุ น แ ร ง ขึ้ น บ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ก า ร ใ ช้ น วั ต ก ร ร ม ในการเพ่ิมผลิตภาพและสร้างความหลากหลายของสินค้าและบริการที่ตอบโจทย์รูปแบบชีวิตใหม่ ๆ และความท้าทายท่ีเกิดจากสภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลง ในขณะเดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ด้านการเงิน จะสง่ ผลใหค้ วามเสย่ี งทจ่ี ะเกดิ ความผนั ผวนในตลาดการเงินท่ีกระทบถึงกันอย่างรวดเร็วและรุนแรง ในขณะที่ระบบเศรษฐกิจ จะมีลักษณะเป็น cashless และสกุลเงินหลักที่ใช้อ้างอิงในตลาดการเงินโลกจะมีหลากหลายสกุลเงิน ซึ่งรวมถึงเงินดิจิทัล นอกจากน้ัน การแข่งขันในระบบเศรษฐกิจโลกในระยะยาวจะถูกกาหนดโดยการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา และการพัฒนาและการใช้นวัตกรรมในการผลิตและบริการ ผลิตภาพการผลิตท่ีสูง คนคณุ ภาพ สิง่ อานวยความสะดวกคุณภาพดี และกฎระเบียบทช่ี ดั เจนเอื้ออานวย และบงั คบั ใชใ้ หเ้ กิดผล 5.2 สถานการณแ์ ละแนวโน้มเศรษฐกิจในประเทศ สาหรับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมภายในประเทศไทยนั้น ผลของการพัฒนาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทาให้ประเทศไทยมีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีสูงข้ึนตามลาดับโดยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศระดับรายได้ปานกลาง มาต้ังแต่ปี 2531 และได้ขยับสูงขึ้นมาอยู่ในกลุ่มบนของกลุ่มประเทศระดับรายได้ปานกลางต้ังแต่ปี 2553 โดยมรี ายได้ต่อหัวเทา่ กบั 4,957 ดอลลาร์ สรอ. (157,088 บาท) และลา่ สุดในปี 2559 รายไดป้ ระชาชาติต่อหัวเพ่ิมข้ึนเป็น ประมาณ 6,000 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี (ประมาณ 212,980 บาท คิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย 35.30 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ) โดยท่ีฐานการผลิตและบริการ มีความหลากหลายมากขึ้น มีลักษณะโครงสร้างเศรษฐกิจ ของประเทศกึ่งอุตสาหกรรม ฐานการส่งออก โดยเฉพาะ การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมใหญ่ข้ึนตามลาดับ หลายสาขาการผลิตและบริการสามารถแข่งขัน และมีส่วนแบ่งในตลาดโลก มากขึ้นและเป็นฐานรายได้เงินตราต่างประเทศ ที่สาคัญ อาทิ กลุ่มยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมอาหารสินค้าเกษตร การท่องเท่ียว และบรกิ ารดา้ นสุขภาพ ประเทศไทยใหค้ วามสาคัญกับการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศของไทยกับนานาชาติทั้งในรูปของทวิภาคีและ พหุพาคีเพ่ือเป็นกลไกและช่องทางในการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองมากข้ึนตามลาดับ และนับว่ามีความก้าวหน้าไปมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้กรอบแผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย (The Indonesia- Malaysia-Thailand Growth Triangle : IMT-GT) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion : GMS) และสมาคมประชาชาติแห่งเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) ในสาขาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความเชื่อมโยง ( Connectivity) ระหว่างกัน และการผลักดันให้เกิดการพัฒนาเป็นแนวระเบียงเศรษฐกิจร่วมกันนั้น มีความคืบหน้าเป็นรูปธรรมมากข้ึน อันจะเป็นการ สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนในพื้นที่และเกิดการพัฒนาเชิงพื้นท่ีต่าง ๆ ท่ีกว้างขวางขึ้น กล่าวได้ว่า ในช่วงหลายปีท่ีผ่านมาประเทศไทยได้ดาเนินนโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการค้าและการลงทุนรวมท้ัง การพัฒนาเชิงสร้างสรรค์ที่เป็นเชิงรุกชัดเจนขึ้น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ภายใต้กรอบแนวทาง การสร้างความเชื่อมโยงภายในประเทศไทยเองเพ่ือกระจายโอกาสของการพัฒนา ความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาค และในภูมิภาคเอเชียเพ่ือการเชื่อมต่อห่วงโซ่อุปทานจะส่งผลให้ประเทศไทยได้จุดแข็งในเร่ืองตาแหน่งท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ ของประเทศให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศมากขึ้น โดยได้กาหนดตาแหน่งในเชิงยุทธศาสตร์ให้เป็นเทศไทยเป็น Gateway of Asia ที่เด่นชัดมากขึ้น ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ได้ให้ความสาคัญและเข้าไปมีส่วนร่วมในการผลักดัน ขับเคล่ือนการพัฒนาร่วมกันภายใต้กรอบความร่วมมือพหุภาคีสาคัญอื่น ๆ อาทิ RCEP กลุ่มเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) ซ่ึงเป็นกรอบความร่วมมือท่ีมีความสาคัญในการยกระดับมาตรฐานต่าง ๆ ไปสรู่ ะดบั สากล เปน็ ตน้
รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 53 สว่ นท่ี 2 5 สถานการณแ์ ละแนวโน้มด้านเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา ฐานเศรษฐกจิ ทพี่ ัฒนากวา้ งขวางหลากหลายมากข้ึนส่งผลให้ประชากรวัยแรงงานมีงานทาเป็นจานวนเพิ่มขึ้นตาม ลาดับ แต่แรงงานยงั ขาดคุณภาพ โดยในปจั จุบนั มีจานวนการจา้ งงานรวม 38.1 ล้านคน จากประชากรวัยแรงงานท้ังหมด 38.6 ล้านคน และการว่างงานมีอัตราเฉลี่ยไม่ถึงร้อยละ 1 ปัญหาความยากจนลดลงตามลาดับ จากร้อยละ 20.0 ในปี 2550 เป็นร้อยละ 7.21 ในปี 2558 คุณภาพชีวิตดีขึ้นในทุกระดับโดยท่ีโอกาสการได้รับการศึกษา บริการสาธารณสุข บริการสาธารณะและโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ และการคุ้มครองทางสังคมอ่ืนๆ รวมถึงการเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ มีความครอบคลมุ และมีคุณภาพดีขึ้นตามลาดับ อาทิ จานวนปีการศึกษาเฉล่ียอยู่ท่ี 9 ปี และประชาชนเกือบร้อยละ 100 อยู่ภายใต้ระบบประกันสุขภาพประเภทใดประเภทหนึ่ง กลุ่มคนพิการและด้อยโอกาส ได้รับความคุ้มครอง ทางสังคมดีขึ้น ขณะทอี่ ายขุ ัยเฉล่ยี ก็ยนื ยาวข้ึนเป็นตน้ นอกจากนั้น ประสบการณ์ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินในปี 2540 – 2541 ได้ส่งผลให้ภาครัฐ และภาคเอกชนปรับตัวในการบริหารความเส่ียงและสร้างภูมิคุ้มกันให้ดีข้ึนตามแนวคิดการบริหารจัดการท่ีดีอัน ได้แก่ การดาเนินการท่ีมปี ระสิทธภิ าพ โปรง่ ใส รบั ผิดรับชอบ และตรวจสอบได้อย่างเปน็ ระบบดีข้ึน ในขณะที่การบริหารเศรษฐกิจมหภาคของประเทศก็มีการปรับเปลี่ยนไปในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปลย่ี นแปลงรูปแบบนโยบายการเงินท่มี กี ารปรับใหส้ อดคลอ้ งกับลักษณะโครงสร้างและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจมากขึ้น มีการกากับดแู ลวนิ ยั ทางการเงินการคลังท่ีกาหนดกรอบของความยง่ั ยืนทางการคลังเป็นแนวปฏิบัติท่ีดีขึ้นและฐานะการคลัง มีความมั่นคงมากขึ้น นอกจากนั้น ฐานะเงินสารองระหว่างประเทศอยู่ในระดับสูง เอื้ออานวยให้สามารถบริหารความเสี่ยง และดา เนินนโยบา ยอั ตรา แล กเปลี่ยนได้ อย่างคล่อ งตั วแล ะมี ควา มยืดหยุ่นได้มา กข้ึ น ในขณะเ ดียวกั น การปรับปรุงในเร่ืองกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ได้มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบมากขึ้นโดยมุ่งเน้นให้กฎระเบียบ มีความทันสมัย ชัดเจน ลดความซ้าซ้อนและขัดแย้งกันเองของกฎหมายต่าง ๆ รวมทั้งมีการบังคับใช้ ท่ีมีประสิทธิผล และเป็นธรรมต่อกลุ่มต่างๆ ในสังคม สามารถคุ้มครองผู้บริโภคและประชาชนจากการถูกเอารัดเอาเปรียบได้ดีข้ึน ช่วยสร้างบรรยากาศการแข่งขันในตลาด และสนับสนนุ ใหก้ ารดาเนนิ ธุรกิจในประเทศไทย มีความสะดวกคลอ่ งตัวมากขนึ้ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างทางเศรษฐกิจยังอ่อนแอหลายด้านและจะเป็นข้อจากัดสาหรับการพัฒนา ให้มีความยั่งยืนไปได้ ในระยะยาวโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้ภาวะความเสี่ยงจากการเปล่ียนแปลงบริบทโลก โครงสร้างการผลิต ของประเทศไทยได้ปรับเปลี่ยนจากฐานเกษตรกรรมไปสู่อุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตเพื่อส่งออก การลงทุน จากต่างประเทศจึงเป็นแรงขับเคล่ือนหลักท่ีอาศัยความได้เปรียบด้านปริมาณแรงงานท่ีเพียงพอและค่าแรงต่า รวมทั้งมาตรการจูงใจทางภาษีดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศฐานการผลิตอุตสาหกรรมที่พัฒนาต่อเนื่องมาจนถึง ปัจจุบัน จึงต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีจากต่างประเทศเป็นหลัก โดยที่การถ่ายทอดเทคโนโลยีไม่ประสบความสาเร็จ ส่วนหน่ึงเป็นเพราะการพัฒนากาลังคนเพื่อดูดซับเทคโนโลยีและองค์ความรู้ไม่มีความพร้อมการขยายฐานอย่างรวดเร็ว ของอุตสาหกรรมจึงอาศัยความได้เปรียบด้านแรงงานค่าแรงต่า ความอุดมสมบูรณ์ด้านทรัพยากรและความหละหลวม หรือช่องโหว่ด้านกฎระเบียบรวมท้ังมาตรฐานต่าง ๆ เป็นปัจจัยหลักในการผลิตและการบริการต้นทุนต่า การแข่งขันของประเทศไทยในตลาดโลกจึงอาศัยการแข่งขันด้านราคาเป็นอานาจต่อรองหลักเพื่อสร้างรายได้ จากการส่งออกในขณะทเ่ี ศรษฐกจิ ภายในประเทศยงั ขาดความเข้มแขง็ และสว่ นใหญ่กวา่ คร่ึงหน่งึ เป็นเศรษฐกจิ นอกระบบ ขณะที่ภาคการเกษตรซ่ึงเป็นฐานการทามาหากินของประชาชนกลุ่มใหญ่ของประเทศมีผลิตภาพการผลิตต่า การนาเทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพยังมีน้อยสินค้าเกษตรที่ส่งออกจึงมีมูลค่าต่า การแปรรูปหรือพัฒนา เพือ่ เพม่ิ มูลคา่ มีน้อยและยังตอ้ งยกระดับมาตรฐานดา้ นความปลอดภัยขณะท่ผี ลผลิตการเกษตรต้องขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้า อ า ก า ศ เ ป็ น ห ลั ก ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ภ า ค เ ก ษ ต ร มั ก ด า เ นิ น ก า ร ด้ ว ย ม า ต ร ก า ร ร ะ ย ะ ส้ั น แ ล ะ บิ ด เ บื อ น ก ล ไ ก ต ล า ด เม่ือประกอบกับความเสี่ยงจากการเปล่ียนแปลงสภาวะภูมิอากาศท่ีผันผวนรุนแรงข้ึนและประเทศไทยยังขาด ระบบการบริหารจัดการน้า ประเทศไทยจึงเผชิญกับความท้าทายในการที่จะสร้างฐานเศรษฐกิจชีวภาพ ( bio-bases) และการรักษาไว้ซ่ึงฐานการเป็นผู้ส่งออกอาหารที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานความปลอดภัยที่สาคัญของโลก รวมถึง มีความเส่ียงในเร่ืองความม่ันคงด้านอาหารภายในประเทศเองทั้งในเรื่อง การมีปริมาณท่ีเพียงพอและการมีระดับราคา ที่ประชาชนทุกกลมุ่ สามารถเขา้ ถึงได้
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 54 สว่ นที่ 2 5 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านเศรษฐกจิ สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา สาหรบั ภาคบรกิ ารซงึ่ เปน็ ฐานรายไดท้ ม่ี คี วามสาคญั มากขน้ึ ตามลาดบั สาหรบั ประเทศไทยนนั้ ยงั อาศยั ฐานบรกิ ารดงั้ เดมิ เปน็ หลกั โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท่องเท่ียวซ่ึงสาขาการท่องเที่ยวเองก็ยังมุ่งเน้นในเชิงปริมาณ แต่ขาดคุณภาพ และการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ อย่างต่อเน่ือง แหล่งท่องเท่ียวเส่ือมโทรมลง ขณะท่ียังขาดการกาหนดกลยุทธ์ และเป้าหมายท่ีชัดเจน ในการพัฒนาบริการใหม่ ๆ ท่ีจะเป็นฐานรายได้ใหม่ๆ ที่จะมีความสาคัญมากข้ึน สาหรับประเทศไทยภายใต้ บริบทประชาคม อาเซียนและท่ามกลางแรงกดดันรอบด้านท่ีประเทศไทยจะต้องปรับโครงสร้างฐาน การผลิตไปสู่ฐานบริการมากขึ้น การเตรียมกาลังคนสาหรับสนับสนุนบริการใหม่ๆ ยังขาดความพร้อม รวมถึงยังต้องยกระดับมาตรฐานการบริการ ให้เป็นแบรนด์ที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายฐานบริการใหม่ ๆ ท่ีสาคัญสาหรับอนาคตประเทศไทย ได้แก่ การเป็นศูนย์กลางบริการด้านสุขภาพ การให้บริการการศึกษานานาชาติ การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ร่วมกับประเทศเพ่ือนบ้าน รวมถึงการเป็นศูนย์ประชุมนานาชาติ การเป็นผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ การเป็นทตี่ ง้ั ของบรษิ ัทแมห่ รือศูนยป์ ฏบิ ตั กิ าร ประจาภูมิภาค และบริการดา้ นการเงนิ เปน็ ตน้ จุดอ่อนเชิงโครงสร้างในด้านต่าง ๆ ดังกล่าวส่วนหนึ่งสะท้อนถึงความอ่อนด้อยของคุณภาพคน การขาดการลงทนุ เพอื่ การวิจยั และพัฒนาในระดับท่ีเหมาะสมจึงส่งผลให้การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดจนการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐเพื่ออานวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business: EoDB) ยังมีความล่าช้า และเป็นข้อจากัดสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และสาหรับการเพ่ิมคุณภาพสินค้าและบริการ รวมทั้ง การพฒั นาและเพิ่มประสิทธภิ าพกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการยังอยู่ในระดับต่า จึงทาให้ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศไม่ทันกับการเปล่ียนแปลงในตลาดโลก ซึ่งความต้องการสินค้า กลุ่มคุณภาพและรูปแบบจูงใจ เพม่ิ ขึน้ เร็วกวา่ จงึ เปน็ ข้อจากดั ในการพัฒนากลุม่ อุตสาหกรรมฐานรายได้เดิม 5 กลุ่ม (Old S Curve) และฐานรายได้ใหม่ 5 กลุ่ม (New S Curve) สร้าง New Engine of Growth ของเศรษฐกิจเพ่ือให้ สามารถผลักดันให้ประเทศหลุดพ้น จากกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้ ในขณะที่หลายกลุ่มประเทศมีความสามารถ ในการเข้ามาแข่งขัน ในตลาดกลางและลา่ งมากขนึ้
ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 55 ส่วนท่ี 2 6 สถานการณ์และแนวโน้มส่ิงแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 6.1 สถานการณแ์ ละแนวโน้มส่ิงแวดลอ้ มโลก 6.1.1 วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2530 ช่วยให้ทิศทางการพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลกเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน(convergence) โดยมีเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน เป้าประสงค์ และตัวชี้วัด ที่กาหนดไว้อย่างเป็นระบบ ในการตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการดาเนนิ งาน รวมท้ังมีเวทกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้ร่วมกนั เพอ่ื เพิ่มโอกาสในการสร้างพลังร่วม (synergy) ระหว่างประเทศต่างๆ ในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ที่ครอบคลุมทุกมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาลและสถาบัน รวมทั้ง หุ้นส่วนการพัฒนาและการเงิน นาไปสู่การลดความเหล่ือมล้าท้ังภายใน และระหวา่ งประเทศ 6.1.2 ความตกลงปารีส (Paris Agreement) ภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ ( United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ยั ง ค ง เป็นพันธกรณีที่ประเทศต่างๆ ต้องดาเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วน ท้ังการผลิตไฟฟ้า การขนส่ ง อุตส าห กรรมแล ะบริกา ร อันเ ป็นการสนับสนุ นเป้ าห มายสา คัญของควา มตกลง ปารี สคื อ ควบคุมการเพิ่มอุณหภูมิเฉล่ียของโลกให้ต่ากว่า 2 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ดี แม้ว่าการท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา ประกาศยกเลกิ ความตกลงปารสี เม่ือวันท่ี 2 มิถนุ ายน 2560 จะมีผลโดยตรงต่อ การบรรลเุ ปา้ หมาย ของความตกลงปารีส เพราะสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศท่ีปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศจีน แต่ประเทศท่ีเหลืออยู่ต่างแสดงเจตจานงที่ชัดเจนในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และมุ่งมั่นพัฒนาเทคโนโลยี สาหรับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้มีราคาถูกและสามารถใช้ได้แพร่หลายมากข้ึน อาทิ การผลิตไฟฟ้า จากพลังงานทดแทน เซลแสงอาทิตย์ ยานพาหนะไฟฟ้า และเทคโนโลยีกักเก็บคาร์บอน (carbon capture and storage) เป็นต้น สาหรับการประชุม G20 ที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่า ทุกประเทศยังมุ่งมั่นกับข้อตกลงสภาพอากาศปารีส (Paris Agreement) โดยมีนางAngela Merkel เป็นผู้นา ดังนั้นการถอนตัวของ Donald Trump ไม่อาจส่งผลต่อ การดาเนินการตามข้อตกลงดงั กลา่ ว 6.1.3 ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ จ ะ ย่ิ ง ท วี ค ว า ม รุ น แ ร ง ผั น ผ ว น มีขนาดและขอบเขตกวา้ งขวางมากขึ้น โดยเฉพาะภยั พิบัติทางธรรมชาติ อาทิ พายทุ ม่ี ักจะเกิดขน้ึ ร่วมกับ ฝนตกปริมาณมาก สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ระบบโครงสร้างสาธารณูปโภคสาธารณูปการพ้ืนฐานที่จาเป็น ตลอดจนระบบผลิตทางการเกษตรท่ีสัมพันธ์ต่อเนื่องกับความมั่นคงด้านอาหารและน้า คล่ืนความร้อน และโรคระบาดร้ายแรงจะคร่าชีวิตประชาชนจานวนมาก ระดับน้าทะเลเพิ่มสูงขึ้น อันเป็นผลมาจากการขยายตัว ของน้าเพราะอุณหภูมิเพิ่มข้ึนและธารน้าแข็งบริเวณข้ัวโลกละลาย ทาให้หลายพื้นที่ในโลกกาลังสูญเสียแผ่นดิน มีการคาดการณ์ว่าประชากรโลกกว่าร้อยละ 70 อาศัยอยู่บนพื้นท่ีราบลุ่มชายฝั่งทะเลจะได้รับ ผลกระทบจาก ระดับน้าทะเลเพิ่มสูงขึ้น จึงจาเป็นต้องมีการอพยพย้ายถิ่นฐาน (migration) ผลกระทบเหล่านี้จึงกลายเป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาประเทศ เพราะต้องสูญเสียทรัพยากรอันมีค่า ส่งผลให้ประเทศมีความเปราะบาง ( vulnerability) และอาจเขา้ สภู่ าวะวิกฤติ (crisis) ได้งา่ ยข้ึน 6.1.4 ระบบนิเวศน์ต่างๆ ของโลกเสื่อมโทรมลงและสูญเสียความสามารถในการรองรับการดารงชีวิตของมนุษย์ ซ่ึงประกอบด้วยหน้าที่ 4 ประการ คือ (1) การเป็นแหล่งผลิตอาหาร ยา และน้า ทั้งน้ี มีการคาดการณ์ว่าในอีก 30 ปี ข้างหน้า จะเกิดการขาดแคลนน้าอย่างรุนแรงต่อประชากรจานวนสองในสามส่วนของประชากรโลก (2) การควบคุม และสร้างสมดุลของระบบต่างๆ ในโลก อาทิ ระบบภูมิอากาศ ระบบป้องกันน้าท่วมและทาให้น้าสะอาด และระบบควบคุมโรค เปน็ ต้น ทง้ั น้ี ระบบภมู ิกาศท่ีแปรปรวน รวมท้ังปรากฏการเอลนิโญและลานญิ า เปน็ ผลมาจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (3) การเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัย ของพืชและสัตว์ชนิดต่างๆ โดยเฉพาะชนิดพันธ์ท่ีใกล้สูญพันธ์ุจานวนมาก (4) การเป็นแหลง่ วฒั นธรรมและการเรียนรู้
รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 56 ส่วนที่ 2 6 สถานการณแ์ ละแนวโนม้ สงิ่ แวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 6.2 สถานการณแ์ ละแนวโนม้ สงิ่ แวดล้อมไทย การคาดการณ์สถานการณ์และแนวโน้มส่ิงแวดล้อมของไทยต้ังอยู่บนฐานของแนวโน้มข้อมูลปัจจุบัน ประกอบกับ กลไกและสถาบันท่ีมีอยู่โดยมิได้คานึงถึงข้อกฎหมายใหม่ท่ีกาลังจะเกิดข้ึน ตามเงื่อนไขของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 6.2.1 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงจากการใช้ประโยชน์ที่ไม่ยั่งยืน และเกินกว่าขีดความสามารถของระบบนิเวศในการฟื้นคืนสู่สภาพเดิม พื้นท่ีป่าไม้ยังคงถูกบุกรุกทาลายอย่างต่อเนื่อง เพ่ือใช้ประโยชน์ทางการเกษตรและลักลอบตัดไม้มีค่าบางชนิด ทาให้แหล่งท่ีอยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์ป่า หลายชนิดลดน้อยลง รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพที่สูญส้ินไปอย่างถาวร และไม่อาจสร้างทดแทนได้ ทรพั ยากรดนิ บางส่วนขาดความอดุ มสมบูรณ์จากการชะล้างพังทลายเพราะขาดการอนุรักษ์ ในขณะท่ีทรัพยากรทางทะเล และชายฝ่ังมีปริมาณและคุณภาพลดลง เพราะการทาประมงท่ีเกินศักยภาพ รวมท้ัง การท่องเที่ยวท่ีขยายตัวมาก จนสร้างความเสียหายต่อแหล่งปะการัง หญ้าทะเล และป่าชายเลน นอกจากนี้ ชายฝ่ังทะเลยังมีการกัดเซาะที่รุนแรง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นเพราะโครงสร้างทางภายภาพบริเวณชายฝั่งท่ีไม่เหมาะสม ประกอบกับระดับน้าทะเลท่ีเพิ่มสูงขึ้น จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ เปน็ ผลให้เกดิ การสญู เสยี พ้นื ที่จานวนมาก 6.2.2 การบริหารจัดการน้ายังขาดประสิทธิภาพและไม่ครบวงจร เพราะยังคงมุ่งเน้นที่การจัดการอุปทาน (supply) ซึ่งตอบสนองความต้องการใช้น้าโดยไม่มีขีดจากัด แต่ละเลยการจัดการอุปสงค์ของการใช้น้า ( demand) ด้วยมาตรการเชิงปริมาณและราคา ส่งผลให้มีการใช้น้าเพ่ือการผลิตและอุปโภคอย่างไม่คุ้มค่าในภาคการเกษตร อุ ต ส า ห กรรม แ ล ะเ มื อ ง อี กท้ั ง มี ปริ มา ณ น้ า เ พียง ส่ วนน้ อ ยท่ี ได้ รั บกา รบา บั ด เ พ่ือ นา กลั บมา ใช้ ให ม่ แม้ว่าจะมีระบบบาบัดน้าเสียอยู่แล้วหลายแห่ง เพราะไม่สามารถจัดเก็บค่าบริการบาบัดน้าเสียได้จากประชาชน จึงมีงบประมาณไม่เพียงพอในการเดินระบบบาบัด สาหรับโครงการลงทุนจัดหาแหล่งน้าต้นทุนขนาดใหญ่ มักจะได้รับการต่อต้านจากประชาชน เพราะก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง ส่วนการป้องกันและบรรเทา ปัญหาน้าท่วมยังเป็นเพียงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่ขาดระบบแผนและกลไกดาเนินงานที่เป็นรูปธรรม จึงมแี นวโนม้ ทจี่ ะเกิดความเสียหายเปน็ มูลค่าสงู 6.2.3 การจัดการแก้ไขปัญหามลพิษยังไม่สามารถดาเนินการได้เท่าทันและเพียงพอ ทาให้มลพิษท่ีเกิดข้ึน มีการสะสมปริมาณเพ่ิมสูงข้ึนและส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชนท่ีไม่สามารถลดอัตราการเกิดได้อย่างแท้จริง อีกท้ังศักยภาพในการเก็บขนและบาบัด ยังไม่เพียงพอท่ีจะรองรับปริมาณขยะที่เกิดข้ึนได้ท้ังหมด ส่วนขยะอุตสาหกรรมและกากของเสียอันตราย มักจะมีการลักลอบทิ้งอย่างไม่ถูกหลักวิชาการ และเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชนในบริเวณใกล้เคียง อย่างไรก็ดี ปัญหามลพิษทางอากาศในเมอื งมแี นวโน้มดขี นึ้ เมื่อการลงทุนก่อสร้างระบบขนส่งทางรางในเมืองหลายโครงการแล้วเสร็จ อกี ท้ังอาจมสี ว่ นเพิ่มความปลอดภัยในการเดนิ ทาง โดยลดอตั ราการตายอันเนอื่ งมาจากอุบตั เิ หตุทางทางถนนอกี ด้วย 6.2.4 พฤติกรรมการผลิตและบริโภคที่ขาดความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม ยังคงเป็นสาเหตุหลัก ของวัฏจักรการผลิตและบริโภคท่ีไม่ย่ังยืน ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอและเสื่อมโทรม มากขึ้น ตลอดจนปริมาณมลพิษที่สะสมเพ่ิมข้ึน ทั้งนี้ ค่านิยมบริโภคนิยมและวัตถุนิยมนับเป็นปัจจัยกระตุ้นให้ผู้บริโภค ต้องการบริโภคสินค้าใหม่ๆ อยู่เสมอ อย่างไรก็ดี สื่อสังคมออนไลน์ ในปัจจุบันค่อนข้างมีอิทธิพลต่อการส่งเสริม พฤติกรรมที่ดี และป้องปรามพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ดังนั้น จึงอาจเป็นโอกาสในการใช้สื่อเหล่าน้ี เพ่ือปรับเปล่ียนพฤติกรรมการผลติ และบริโภคใหม้ คี วามรบั ผิดชอบต่อสง่ิ แวดล้อมได้มากขนึ้
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 57 ส่วนที่ 2 โดยสรุปจากการวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมของประเทศในปัจจุบันและแนวโน้มบริบทและเงื่อนไข สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา การพัฒนาภายนอกประเทศดงั กล่าว สรปุ ไดว้ ่า จุดแข็งของประเทศไทย ประกอบด้วย 1) การมีตาแหน่งท่ีตั้งที่สามารถเป็นศูนย์กลางกระจายความเชื่อมโยงท่ีสาคัญ ในภูมิภาคและเป็นการประตูสู่เอเชีย (Gateway of Asia) ท่ีสาคัญในแต่ภาคของประเทศ (2) การเป็นฐานการผลิตและบริการสาคัญ ที่หลากหลาย (3) คนไทยโดยเฉลี่ยมีการศึกษาดีข้ึน (4) คนไทยโดยเฉล่ียมีสุขภาพดีข้ึน (5) ระบบเก้ือกูลในครอบครัวไทยเข้มแข็ง และ (6) ความหลากหลายเชงิ นิเวศน์ สาหรบั จดุ อ่อนของประเทศไทย ได้แก่ (1) การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรสสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งสมบรู ณ์ ในระยะเวลา 15 – 20 ปี ต่อจากนี้ไป กาลังคนในวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ผู้สูงอายุจะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ รูปแบบการใช้จ่าย การลงทุนและการออม ตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ความมั่นคงทางสังคมและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (2) ข้อจากัดด้านทรัพยากร ท้ังด้านแรงงานและทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีนัยยะต่อต้นทุนการผลิต และสภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่ของประชาชน (3) ผลิตภาพการผลิตของเศรษฐกิจไทยยังต่า และการพัฒนาและการใช้นวัตกรรมมีน้อย การลงทุนเพื่อการวิจัยและพฒั นามีน้อย (4) ปัญหาความเหลือ่ มลา้ ในมติ ิตา่ ง ๆ ทมี่ ีนยั ยะตอ่ การสร้างความสามัคคีสมานฉันท์ในสังคม ข้อจากัดต่อการยกระดับศักยภาพทุนมนุษย์ ความจาเป็นในการลงทุน เพื่อยกระดับบริการทางสังคมและโครงสร้างพ้ืนฐาน ที่มีคุณภาพอย่างท่ัวถึง และการปฏิรูปกฎระเบียบและกฎหมาย ที่ทาให้เกิดความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้า และ (5) ความอ่อนแอของการบริหารราชการแผ่นดิน จึงจาเป็นต้องเร่งปฏิรูประบบราชการและการเมืองเพื่อให้เกิดการ บรหิ ารราชการทีด่ ี สาหรับเง่ือนไขภายนอกทีส่ าคญั และทา้ ทายต่อการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต ในระยะ 20 ปขี ้างหน้า ไดแ้ ก่ (1) กระแสโลกาภิวัตน์ท่ีเข้มข้นข้ึนอย่างต่อเนื่องและมีความเสี่ยงและท้าทายต่อการปรับตัวมากขึ้นจากการเคล่ือนย้ายอย่างเสรี และรวดเร็วของผูค้ น เงินทนุ ข้อมลู ขา่ วสาร องคค์ วามร้แู ละเทคโนโลยี และสินค้าและบริการ (2) การรวมกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคนาไปสู่ ความเชื่อมโยงทุกระบบในขณะท่ีศูนย์รวมอานาจทางเศรษฐกิจโลกเคล่ือนย้ายมาสู่เอเชีย (3) การเข้าสู่สังคมสูงวัยของโลก ส่งผลให้เกิดโอกาส ทางธุรกิจใหม่แต่มีความเสี่ยงให้เกิดการแย่งชิงแรงงานและเงินทุน (4) เทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างฉับพลัน จะเป็นโอกาสทางธุรกิจและการดารงชีวิตของคนได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นเงื่อนไข ที่ทาให้การแข่งขันมีความยากลาบากมากขึ้น และหากไม่รู้เท่าทันการอาจส่งผลเสียจากการนามาใช้ไม่เหมาะสม (5) สภาพแวดล้อม และการเปล่ียนแปลง ภมู อิ ากาศโลกมคี วามผนั ผวน ความเสี่ยงจากภยั ธรรมชาตเิ พิม่ ขึน้ รวมทงั้ มีความเส่ียงต่อความมั่นคงด้านอาหาร น้า และพลังงาน กฏระเบียบและข้อตกลงด้านส่ิงแวดล้อมจะมีความเข้มข้นและเข้มงวดขึ้น แต่น้าหนักเสียงและสิทธ์ิของประเทศ กาลังพัฒนาในการควบคุม กากับหลักเกณฑ์ในการดูแลสภาพแวดล้อมจะเพ่ิมข้ึนตามระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ และการยกระดับระบบมาตรฐานในประเทศกาลังพัฒนา ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศที่ผันผวน และก่อให้เกิดภัยธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นจะกดดันให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดาเนินธุรกิจ การดารงชีวิต การผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น (6) แนวโน้มความต้องการ พลังงานสะอาดและพลังงานทดแทนเพ่ิมขึ้น ต้องสร้างสมดุลความม่ันคงด้านพลังงานและอาหาร (7) ความเป็นเมืองท่ีเติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีข้อกาหนดของรูปแบบ และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะการใช้พ้ืนท่ี และความเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม (8) การยึดถือหลักการบริหารจัดการที่ดี และระบอบประชาธปิ ไตยและสทิ ธิมนษุ ยชนทมี่ คี วามเข้มขน้ มากข้ึน
ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 58 ส่วนที่ 2 ดังน้ัน ภายใต้เง่ือนไขโครงสร้างเศรษฐกิจ โครงสร้างประชากรและสภาพสังคมที่มีจุดอ่อนหลายด้านประกอบกับ สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา การบริหารจัดการท่ีขาดประสิทธิภาพ และความโปร่งใสจะส่งผลให้ประเทศไทยยิ่งต้องเผชิญกับ แรงกดดัน และความเสี่ยงมากขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่กระแสโลกาภิวัตน์เข้มข้นข้ึนเป็นโลกไร้พรมแดนอย่างแท้จริง โดยท่ีการเคล่ือนย้าย ของผู้คน สินค้าและบริการ เงินทุน องค์ความรู้ เทคโนโลยี ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ เป็นไปอย่างเสรีส่งผล ให้การแข่งขันในตลาดโลกรุนแรงขึ้นโดยท่ีประเทศต่าง ๆ เร่งผลักดันการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตรวม จากการลงทุน ในการพัฒนาทุนมนุษย์ และการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือการแข่งขัน ขณะเดียวกัน ความเสี่ยงและข้อจากัดที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศ ผันผวนรุนแรงต่อการดาเนินธุรกิจ และการดาเนินชีวิต ของผคู้ นกเ็ พมิ่ ขนึ้ กฎเกณฑ์และกฎระเบียบของสงั คมโลก จึงมีความเข้มงวดมากขึ้น ้ังในเรื่องการปลดปล่อยมลพิษ สิทธิมนุษยชน และกฎระเบียบทางการเงิน เป็นต้น เงื่อนไขต่าง ๆ ดังกล่าวจะเป็นแรงกดดันให้ประเทศไทยต้องปรับตัวและมีการบริหารความเสี่ยง อย่า ง ช าญ ฉล า ดมา กขึ้ น โด ยท่ีกา รปรับตั วจ ะต้ อ ง ห ย่ังรา กลึ กล ง ไปถึง กา รเปลี่ ยนแปล ง ในเ ชิ ง โครง ส ร้ า ง เพื่อแก้จุดอ่อนและควบคู่ไปกับการสร้างกลไก เชิงรุกให้จุดแข็งของประเทศเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศซ่ึงหากไม่สามารถแก้ปัญหาและปฏิรูปให้ สัมฤทธ์ิผลได้ในระยะ 4 -5 ปีต่อจากนี้ไป ประเทศไทยจะสูญเสีย ความสามารถในการแข่งขัน รายได้เฉลี่ยของประชาชน จะไม่สามารถยกระดับให้ดีข้ึนได้ คุณภาพคนโดยเฉลี่ยจะยังต่า และปัญหาความเหลื่อมล้าจะรุนแรงขึ้น รวมทั้งทรัพยากรจะร่อยหรอ เสื่อมโทรมลงไปอีก และในท่ีสุดการพัฒนาประเทศ จะไม่สามารถย่ังยนื ไปไดใ้ นระยะยาว ในขณะทก่ี ารดาเนนิ งานและการบรหิ ารจดั การภาครฐั กย็ งั ขาดการบรู ณาการ ขาดความตอ่ เนอ่ื งประสทิ ธภิ าพต่า ขาดความโปรง่ ใส และขาดความรับผิดชอบและขาดธรรมาภิบาล ขณะท่ีปัญหาคอรัปช่ันมีเป็นวงกว้าง การดาเนินนโยบายประชานิยมได้สร้างค่านิยม การไม่พึ่งพาตนเองให้กับประชาชนบางกลุ่มและสร้างความเสียหายให้กับประเทศ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ รวมทงั้ การบรหิ ารจดั การน้าทงั้ ระบบยงั มีความล่าชา้ การบงั คบั ใช้กฎหมายยงั ขาดประสทิ ธผิ ล กฎระเบยี บจานวนมากลา้ สมัยไม่ทนั กับ การเปลยี่ นแปลงหรอื แมแ้ ตข่ ดั แยง้ กนั เองระหวา่ งกฎหมาย คนไทยยงั มปี ญั หาดา้ นคณุ ภาพในทกุ ดา้ น ขณะทคี่ วามเหลอ่ื มล้าและความแตกแยก ในสังคมไทยยังเป็นปัญหาท่ีท้าทายมาก รวมท้ังปัญหาในด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่เผชิญกับภาวะขยะล้นเมือง และสง่ิ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรมลงในทกุ ดา้ น ปัญหาในเชิงโครงสร้างในมิติต่าง ๆ ดังกล่าวเม่ืออยู่ในสถานการณ์ท่ีอิทธิพลทางการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ เข้ามา แทรกแซงในรูปแบบที่ไม่เหมาะสมขณะท่ีการบริหารราชการแผ่นดินและระบบราชการยังขาดประสิทธิภาพ ขาดความโปร่งใส มีระบบอุปถัมภ์และมีการทุจริตและคอร์รัปชั่นกันอย่างกว้างขวาง ก็ย่ิงส่งผลให้การดาเนินนโยบายมีความบิดเบือนไปเอ้ือประโยชน์ ต่อเฉพาะกลุ่มโดยที่การดาเนินนโยบายเพื่อแก้ปัญหาในเชิงโครงสร้างไม่ได้รับความสาคัญเท่าท่ีควร จึงเป็นอุปสรรค และข้อจากัดให้ส้ินเปลืองงบประมาณในการดาเนินนโยบายสาธารณะและการให้บริการสาธารณะท่ีมีคุณภาพเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตประชาชนไม่ท่ัวถึง ประกอบกับมีความล่าช้า ในการกระจายอานาจและการแบ่งความรับผิดชอบ สู่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ จงึ สง่ ผลให้การแกป้ ัญหา และการตอบสนองต่อเป้าหมายการพฒั นาในพื้นทต่ี า่ ง ๆ ขาดประสทิ ธผิ ล การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มในด้านต่าง ๆ ท้ังภายในประเทศและภายนอกประเทศ ที่บ่งชี้ถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และความเส่ียง และ ภัยคุกคาม รวมท้ังความท้าทายในด้านต่าง ๆ การขับเคลื่อนการพัฒนา ให้ประเทศ เจริญก้าวหน้าไปในอนาคตน้ันจาเป็นต้องกาหนดวิสัยทัศน์ ในระยะยาว ทต่ี ้องบรรลพุ รอ้ มท้งั แนวยทุ ธศาสตรห์ ลกั ในด้านต่าง ๆ เพอ่ื เปน็ กรอบในการขับเคล่ือนการพฒั นา
3สว่ นที่ วิสยั ทศั น์ เป้าหมาย และยทุ ธศาสตร์
รา่ งยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 60 สว่ นที่ 3 วสิ ัยทศั น์ วิสัย ัทศ ์น เ ้ปาหมาย และ ุยทธศาสต ์ร “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน” ทั้งน้ี วิสัยทัศน์ ดังกล่าวจะต้องสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่ง เขตอานาจรัฐ การดารงอยู่อย่างมั่นคง ยั่งยืนของสถาบันหลักของชาติ การดารงอยู่อย่างม่ันคงของชาติและ ประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความม่ันคงทางสังคม ทา่ มกลางพหสุ งั คมและการมเีกยี รตแิ ละศกั ดศิ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ ความเจรญิ เตบิ โตของชาติ ความเปน็ ธรรมและความ อยดู่ ีมสี ุขของประชาชน ความยง่ั ยนื ของฐานทรพั ยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาติภายใตก้ ารเปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศและการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติประสานสอดคล้องกันด้านความม่ันคงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและ ศกั ด์ิศรี โดยที่ความม่ันคงเปน็ รากฐานของท้งั 3 ประการทจ่ี ะทาให้เกดิ ความมั่งคง่ั และย่ังยืนได้ ความม่ันคง หมายถงึ การมคี วามม่นั คงปลอดภยั จากภัยและการเปลีย่ นแปลงทง้ั ภายในประเทศและภายนอก ประเทศในทกุ ระดบั ทัง้ ระดับประเทศ สังคม ชมุ ชน ครวั เรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติทาง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความ เข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกท่ีนาไปสู่การบริหาร ประเทศที่ต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลัง เพือ่ พฒั นาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่นประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่ ม่ันคงพอเพียงกับการดารงชีวิต ความม่ันคงของอาหารพลังงาน และน้า มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน มีการออมสาหรบั วัยเกษยี ณ ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความย่ังยืนจนเข้าสู่ กลมุ่ ประเทศรายไดส้ งู ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์จากการ พัฒนาอย่างเท่าเทยี มกันมากขึน้ และมีการพฒั นาอย่างท่ัวถึงทุกภาคส่วน (Inclusive Growth) มีคุณภาพชีวิตตาม มาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ใต้เส้นความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแขง่ ขนั กบั ประเทศตา่ งๆทงั้ ในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถ สร้างรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอด รับกับบรบิ ทการพัฒนาทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป และประเทศไทยมบี ทบาทท่สี าคญั ในเวทีโลก และมคี วามสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจ และการค้าอยา่ งแนน่ แฟ้นกบั ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลติ การคา้ การลงทุน และการทาธรุ กจิ เพอ่ื ให้เปน็ พลงั ในการพัฒนา นอกจากน้ันยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่ จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือ เครื่องจกั ร ทุนทางสังคม และทุนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยู่บนหลักการใช้ การรักษาและการฟ้ืนฟู ฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม จนเกินความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนิเวศน์ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างย่ังยืน และให้ ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งเพอ่ื การพฒั นาในระดับอย่างสมดลุ มเี สถียรภาพ และยั่งยืน
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 ส่วนท่ี 3 วิสัยทัศน์ เป้าหมาย 61 แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์
รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 62 ส่วนท่ี 3 ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และทาให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคต วิสัย ัทศ ์น เ ้ปาหมาย ท่ีพึงประสงค์นั้น จาเป็นจะต้องมีการวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์ และ ุยทธศาสต ์ร การพัฒนาในระยะยาว ...... และกาหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้ขับเคลื่อนไปในทิศทาง เดียวกัน ดังน้ัน จึงจาเป็นจะต้องกาหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพ่ือถ่ายทอดแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลา อย่างต่อเน่ืองและมีบูรณาการ และสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของ ประเทศไทยร่วมกันและเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ท้ังประชาชน เอกชน ประชาสังคม ในการขับเคล่ือนการพัฒนาเพ่ือการสร้างและรักษาไว้ซ่ึง ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติและบรรลวุ ิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง ม่ังคง่ั ย่งั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือคติพจน์ประจาชาติ “ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน”เพ่ือให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมี ความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติท่ีจะใช้เป็นกรอบแนว ทางการพัฒนาในระยะ 20 ปีต่อจากนี้ไปจะประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความ ม่ันคง (2) ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั (3) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ (6) ยุทธศาสตร์ ด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ : กรอบการพัฒนาระยะยาว ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ส่วนท่ี 3 แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 63
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง 1.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ 1.2 การพัฒนาศักยภาพในการป้องกันประเทศ พรอ้ มรบั มอื กบั ภัยคกุ คามทง้ั ทางทหารและภัยคกุ คามอ่ืนๆ 1.3 บูรณาการความรว่ มมือกบั ต่างประเทศท่ีเอ้อื ให้เกดิ ความมน่ั คง ความมงั่ คัง่ ทางเศรษฐกจิ ป้องกันภัยคกุ คามข้ามชาติ และคณุ ภาพชีวติ ของคนในชาติ 1.4 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติและทางทะเล 1.5 การบรหิ ารจัดการความม่นั คงให้สอดคล้องกันแผนงานพฒั นาอ่นื ๆ เพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชน และรว่ มพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ค ว า ม ม่ั น ค ง การกาหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงมีเป้าหมายเพ่ือสร้างความมั่นคงในทุกระดับต้งั แต่ ระดับชาติ สังคม ชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์จากภัยคุกคามทั้งท่ีเป็นภัยคุกคามแบบด้ังเดิม และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้เกิดความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ ความม่ันคงทางการทหาร ความม่ันคงแนวชายแดนและเกิดความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคามและภัยพิบัติในรูปแบบใหม่ๆ อาทิ ภัยคุกคามจากการโจมตีทางไซเบอร์ อาชญากรรมข้ามชาติและการก่อการร้าย และโรคอุบัติใหมต่ า่ งๆรวมทง้ั การสร้างความม่ันคงด้านอาหาร นา้ และพลังงาน ภายใตก้ ารวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและแนวโน้มด้านความม่นั คงทัง้ 3 ระดบั คอื ความม่ันคงระดับโลก ได้แก่ การขยายอิทธิพลและการเพ่ิมบทบาทของประเทศมหาอานาจ ในภูมิภาคต่างๆของโลกเพ่ือแสวงหาผลประโยชน์ การกาหนดระเบียบ/กติการะหว่างประเทศ เพ่ือรักษาสันติภาพ สิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนให้ต้องปฏิบัติปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์และความเสี่ยงจากการเปล่ียนแปลงผันผวนของสภาพภูมิอากาศ ตอ่ ความมน่ั คง ดา้ นอาหาร แหลง่ น้า และพลังงาน ความมน่ั คงในภมู ภิ าค ประกอบด้วย ความร่วมมือระดับภูมิภาคเพ่ือสร้างพลังทางเศรษฐกิจและ รักษาความม่ันคงร่วมกัน ความขัดแย้งทางดินแดน เนื่องจากความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนและ อาณาเขต ทางทะเลระหว่างกันและปัญหาย้ายถ่ินฐานของประชากรระหว่างกันและจากประเทศอื่นๆ เข้าสู่ประเทศไทย ความมั่นคงภายในประเทศมีแนวโน้มท่ียังดารงอยู่ ได้แก่ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเด็นความขัดแย้งของคนในชาติ ปัญหายาเสพติด ซ่ึงจะส่งผลกระทบสาคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และการเมืองของประเทศในระยะ 20 ปขี ้างหน้า
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง ดงั นน้ั ยทุ ธศาสตรน์ จี้ งึ ใหม้ งุ่ เนน้ ความสามคั คที ง้ั การรกั ษาความสงบภายในประเทศ โดยการเสรมิ สรา้ ง ความมั่นคงข อง ส ถ า บั น ห ลั ก ข อ ง ช า ติ แ ล ะ ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ป้องกันและแก้ไขการก่อความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยการเสริมสร้างสันติสุขและพัฒนาให้ตรงกับความต้องการของประชาชน โดยยึดหลักแนวทาง “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ” รวมทั้งการบริหารจัดการและการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม และกลไกพ้ืนฐานด้านความม่ันคง รวมถึงพัฒนา กลไกการพัฒนางานความมั่นคง ขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ กระจายอานาจ และสรา้ งความเชื่อม่นั ในกระบวนการยุติธรรมตามหลัก นติ ิธรรม ในขณะเดียวกนั ก็มุ่งเน้นการพัฒนาศกั ยภาพในการป้องกันประเทศพร้อมรับมือกับภัยคุกคาม ทง้ั ทางทหารและภยั คกุ คามอนื่ ๆ ทง้ั จากการสรา้ งขดี ความสามารถภายในและการสรา้ งความรว่ มมอื กบั ประเทศเพื่อนบ้านและมติ รประเทศ นอกจากน้ี การบรู ณาการความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศทเ่ี ออื้ ใหเ้ กิด ความมั่นคงในทุกด้านและป้องกันภัยคุกคามจากอาชญากรรมข้ามชาติในทุกรูปแบบก็เป็นแนวทาง ทมี่ คี วามสาคญั มากขน้ึ ภายใตภ้ มู ทิ ศั นโ์ลกไรพ้ รมแดนและการเปลยี่ นแปลงดา้ นภมู ริ ฐั ศาสตรท์ เี่ปน็ เครอื ขา่ ย ซับซอ้ นขน้ึ มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวางระบบบริหารจัดการความเสี่ยงจากการโจมตีทางไซเบอร์ และการบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั แิ ละภยั ในรปู แบบใหม่ ๆ ทต่ี อ้ งบรู ณาการความรว่ มมอื ใหเ้กดิ ผล ขณะเดียวกันก็ต้องกาหนดยุทธศาสตร์ที่จะรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงและผลประโยชน์ทาง ทรัพยากรธรรมชาติและทางทะเลทั้งนี้ การบริหารจัดการความมั่นคงในทุกด้านทุกระดับ จะตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกนั แผนงานพฒั นา อื่นๆ และการสนบั สนนุ การดาเนินการ เพอื่ สร้างความมน่ั คง ดา้ นอาหาร น้า และพลงั งาน
ร่างยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 67 ส่วนท่ี 3 ความ ่ัมนคง การกาหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงมีเป้าหมายเพื่อสร้างความมั่นคงในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์จากภัยคุกคามท้ังปวง และเป็นความมั่นคงในทุกด้าน ท้ังความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ ความมั่นคงทางการทหาร ความมั่นคงแนวชายแดน ความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคามและภัยพิบัติในรูปแบบใหม่ ๆ รวมทั้งความม่ันคงด้านอาหาร น้า และพลังงาน บนพื้นฐานการวิเคราะห์ สถานการณ์ความม่ันคงท้ัง 3 ระดับ คือ ความมั่นคงระดับโลก ได้แก่ การขยายอิทธิพลและ การเพิ่มบทบาทของประเทศมหาอานาจ ในภูมิภาคต่างๆ ของโลกเพื่อ แสวงหาผลประโยชน์ การกาหนดระเบยี บ/กติการะหว่างประเทศ เพอื่ รักษาสันติภาพ สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน ให้ต้องปฏิบัติ ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาความม่ันคง ทางไซเบอร์ และความเส่ียงจาก การเปลี่ยนแปลงผันผวน ของสภาพภูมิอากาศต่อความมั่นคง ด้านอาหาร แหล่งนา้ และพลังงาน ความม่นั คงในภูมภิ าค ประกอบด้วย ความร่วมมือระดับภูมิภาคเพ่ือสร้างพลังทางเศรษฐกิจ และรักษาความม่ันคงร่วมกัน ความขัดแย้งทางดินแดน เน่ืองจากความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนและอาณาเขตทางทะเล ระหว่างกนั และปัญหาย้ายถิ่นฐานของประชากร ระหว่างกันและจากประเทศอ่ืนๆ เข้าสู่ประเทศไทย และความมน่ั คงภายในประเทศมีแนวโน้มที่ยังดารงอยู่ ได้แก่ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเด็นความขัดแย้งของคนในชาติ ปัญหายาเสพติด ซ่ึงจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสาคัญ ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดล้อม และการเมืองของประเทศในระยะ 20 ปี ขา้ งหนา้ โดยยุทธศาสตร์น้ีให้ความสาคัญกับความสามัคคีของคนในชาติ การบริหารจัดการและการฟื้นฟูพ้ืนฐาน ด้านความมน่ั คงทีม่ คี วามจาเปน็ ตอ้ งดาเนินการให้บรรลเุ ปา้ หมาย การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ สร้างสังคมที่มีความสมานฉันท์ มีความสัมพันธ์และร่วมมือด้านความมั่นคงในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน มิตรประเทศ และนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคาม ในรูปแบบต่างๆ ควบคู่ไปกับรักษาผลประโยชน์ชาติ รวมท้ังการสนับสนุนการดาเนินการ เพ่ือสร้างความมั่นคงด้านอาหาร นา้ และพลังงาน โดยมีแนวทางและประเด็นการพัฒนาทส่ี าคัญ ดงั น้ี 1.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ 1.1.1 เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สร้างจิตสานกึ ของคนในชาตใิ หม้ คี วามจงรักภกั ดี และธารงรกั ษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 1.1.2 ป้องกันและแก้ไขการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มุ่งเน้นการเสริมสร้างสันติสุข การส่งเสริมระบบงานยุติธรรม และการมีส่วนร่วมของประชาชนอยา่ งเหมาะสม ขจัดความขัดแย้ง ลดความรุนแรง และพัฒนาให้ตรงกับความต้องการของประชาชน โดยยึดหลักแนวทาง “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” รวมถึงเ สริมสร้า งพหุสังคม ในจังห วัดชายแ ดนภาคใ ต้ ให้เป็นพลังการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 1.1.3 ส่งเสริมสภาพแวดล้อม/แนวทาง/กลไก ที่สามารถขจัดสาเหตุของประเด็นปัญหาความมั่นคงที่สาคัญและให้ความสาคัญกับ การเสริมสร้างความสามัคคีในชาติ รวมถึงพัฒนากลไกการบริหารประเทศ/พัฒนางานความมั่นคง ขจัดการทุจริต และประพฤติมิชอบ สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ กระจายอานาจ และสร้างความเช่ือม่ันในกระบวนการยุติธรรม ตามหลักนิติธรรม 1.2 การพัฒนาศักยภาพในการปอ้ งกนั ประเทศ พรอ้ มรับมอื กับภัยคุกคามท้ังทางทหารและภยั คุกคามอื่นๆ 1.2.1 เสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถของระบบงานข่าวกรองอย่างต่อเน่ืองให้สามารถประเมินสถานการณ์ในระยะยาว ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา พฒั นาความเปน็ หนุ้ สว่ นทางการขา่ วกรองกบั ทกุ ภาคสว่ น รวมถงึ พฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากร และเทคโนโลยที เ่ี กยี่ วขอ้ ง ตลอดจนพฒั นาระบบระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นความมนั่ คงใหม้ คี วามทนั สมยั ครอบคลมุ ความตอ้ งการการใชง้ านอยา่ งครบถว้ น 1.2.2 พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศ และพัฒนาโครงสร้างกาลังและยุทโธปกรณ์ท่ีเหมาะสม แก่การปอ้ งกนั ประเทศ และการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยภายในประเทศ รวมถงึ สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ ตลอดจนสรา้ งความร่วมมอื กับประเทศเพ่อื นบา้ นและมติ รประเทศ รวมถึงมกี ารรักษาสนั ติภาพในกรอบความร่วมมือท่ีเก่ยี วขอ้ ง 1.2.3 พัฒนาประสิทธิภาพระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ และระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยและความมั่นคงแบบใหม่ ให้มีความพร้อมเผชิญกับภาวะไม่ปกติและและภัยคุกคามทุกรูปแบบ สามารถบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้สามารถ สนับสนุนการบริหารจดั การต้ังแต่ในระดับชาติ รวมถงึ สง่ เสริมให้เกดิ ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ
ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 68 ส่วนท่ี 3 1.3 บูร ณา ก าร ค วา ม ร่วม มือ กับ ต่ างป ระ เทศ ที่ เอื้ อ ให้ เกิ ด ควา มมั่ น คง ความ มั่ งค่ั งทา งเศ ร ษฐกิ จ ความ ่ัมนคง ปอ้ งกันภยั คกุ คามขา้ มชาติ และคุณภาพชวี ติ ของคนในชาติ 1.3.1 เสริมสร้างบทบาทของไทยในการพัฒนาผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างผลประโยชน์ของชาติกับผลประโยชน์ของภูมิภาค และนานาประเทศ ท่ีสามารถเก้ือหนุนให้เกิดความมั่นคง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของคนในชาติได้อย่างย่ังยืน ตลอดจนพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับให้สอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ เป้าหมายของสหประชาชาติ เพื่อรักษาเสถียรภาพในระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนร่วมมือกันป้องกันและแก้ไขปัญหา หรือภยั คกุ คามความมั่นคง 1.3.2 สร้างเสรมิ ประสิทธภิ าพการป้องกัน แก้ไข ระงับยับย้ัง ฟ้ืนฟู ภัยจากการ ก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติทุกรูปแบบ โดยบัญญัติกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องพัฒนา ศักยภาพบุคลากร นาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาปรับใช้ในการ ดาเนินการเสริมสร้าง จิ ต ส า นึ ก ภู มิ คุ้ ม กั น ใ ห้ กั บ ค น ใ น สั ง ค ม ต ล อ ด จ น พั ฒ น า กรอบความร่วมมือ ระหว่างประเทศในการผลักดันการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรม 1.3.3 พัฒนาประสิทธิภาพกลไก/กฎหมาย/ระเบียบปฏิบัติ/แนวทางการบริหารจัดการ ในการป้องกัน แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ รวมถึงพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกับมิตรประเทศและองค์การระหว่างประเทศ ในดาเนินการดงั กล่าวรว่ มกนั 1.3.4 เสริมสร้างความม่ันคงและปกป้องโครงสร้างพื้นฐาน/สาธารณูปโภคท่ีบริหารจัดการด้วยไซเบอร์ ให้ปลอดภัยจากการโจมตี รวมถึงส่งเสริมวัฒนธรรม สร้างความตระหนักรู้ในการใช้ไซเบอร์ในทางท่ีเหมาะสม ตลอดจน พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง อ ง ค์ ก ร / บุ ค ล า ก ร รั บ ผิ ด ช อ บ ด้ า น ไ ซ เ บ อ ร์ ใ ห้ มี ค ว า ม เ ช่ี ย ว ช า ญ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เพื่อให้สามารถรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ทั้งยามปกติ ยามเกิดเหตุ การฟื้นตัว/ฟ้ืนฟูหลังเกิดเหตุ และ การเยยี วยาแกไ้ ขผลกระทบ 1.4 การรักษาความม่ันคงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติและทางทะเล 1.4.1 พัฒนาประสทิ ธภิ าพแนวทางการบริหารจดั การ/ข้อกฎหมายที่เก่ียวข้อง ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา การนานวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ สร้างความตระหนักรู้ต่อประชาชน ตลอดจนนาเป้าหมาย/แนวทาง/มาตรฐานสากลมาปรับใช้ ในการรักษาความมัน่ คงของฐานทรพั ยากรทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ความมน่ั คงทางพลงั งาน นา้ และอาหาร 1.4.2 บริหารจัดการความม่ันคงชายแดนและชายฝ่ังทะเล โดยเสริมสร้างความสัมพันธ์ และความไว้วางใจระหว่างผู้นาระดับสูง ของไทยกับประเทศรอบบ้านและอาเซียน พัฒนาสู่การเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ในลักษณะของการร่วมมือป้องกัน และแก้ไขปญั หาความม่นั คง โดยเฉพาะการพัฒนาระบบตรวจคนเข้าเมอื ง ระบบเฝา้ ตรวจติดตาม เพื่อปอ้ งกันปัญหา ขา้ มพรมแดน และการเร่งรดั ให้เกดิ การสารวจและจดั ทาหลักเขตแดนทัง้ ทางบกและทางทะเลเพ่อื แกไ้ ขปัญหาการอ้างสิทธทิ ับซ้อน 1.5 การบริหารจัดการความมั่นคงให้สอดคล้องกันแผนงานพัฒนาอ่ืนๆ เพ่ือช่วยเหลือประชาชน และร่วมพฒั นาประเทศ โดยพัฒนาและส่งเสรมิ กระบวนการทางานของกลไกทเ่ีกย่ี วขอ้ งในมติ งิ านดา้ นความมนั่ คง โดยบรู ณาการการดาเนนิ งานใหเ้ ชอื่ มโยงกนั ทง้ั ระบบ รวมถงึ ภาคเี ครอื ข่ายท่ีเกยี่ วขอ้ งในแตล่ ะเรอ่ื งใหม้ ีความเปน็ เอกภาพและพัฒนาปรบั ปรุงกฎหมายให้เอ้ือตอ่ การดาเนินงาน ตลอดจนให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรม เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ประชาชน และรว่ มพฒั นาประเทศ เพอ่ื ใหเ้กดิ ความมน่ั คงและการเตรยี มความพรอ้ มของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น 2.1 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ 2.2 การพฒั นาสงั คมผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพอื่ สร้างผูป้ ระกอบการทางธุรกิจ 2.3 การพฒั นาปัจจยั สนบั สนนุ และการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน เพื่อเพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขัน 2.4 การวางรากฐานท่แี ข็งแกรง่ เพ่อื สนบั สนุนการเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น หัวใจสาคัญของความสามารถในการแข่งขันของประเทศ คือ เพิ่มผลิตภาพการผลิต (Productivity) โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมในทุกสาขา ของภาคการผลิตและบริการท่เี ป็นฐานรายไดเ้ ดิมและที่ต่อยอดเปน็ ฐานรายไดใ้ หม่ การเปล่ยี นแปลงทสี่ าคญั จะเกดิ ขึ้นทงั้ ในด้านประสทิ ธิภาพ (Efficiency) และการเพ่มิ มูลค่าของ สนิ ค้าและบรกิ ารจากความคิดสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Value creation) ผู้ประกอบการไทยจะตอ้ ง “ผลติ ไดข้ ายเปน็ ” และมคี วามสามารถทจี่ ะ “รจู้ ักและเขา้ ใจแนวโนม้ ตลาด” เพื่อสรา้ งคุณค่า ของสินค้าและบริการที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและก้าวเข้าสู่การเป็นผู้นาในตลาด สินคา้ และบริการทสี่ าคัญของภมู ิภาคและของโลกได้ ยุทธศาสตร์การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันจึงประกอบด้วยแนวทางการพัฒนา ภาคการผลิตและบริการ ซึ่งมุ่งเน้นท่ีการพัฒนาเพิ่มผลิตภาพการผลิตตลอดห่วงโซ่มูลค่า เพื่อก้าวกระโดดไปสู่การเป็นฐานการผลิตและบริการท่ีโดดเด่นในด้าน เศรษฐกิจฐานชีวภาพ โดยยกระดับสู่เกษตรสมัยใหม่ท่ีเป็นพื้นฐานสาคัญและเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตร อาหาร พ ลั ง ง า น และวัสดุชีวภาพด้วยนวัตกรรม ยกระดับศักยภาพ ภาคอุตสาหกรร ม ให้แข่งขันได้บนฐานเทคโนโลยีขั้นก้าวหน้า พัฒนาความหลากหลาย คุณภาพ และสร้าง เอกลกั ษณก์ ารท่องเท่ียวไทย และพัฒนา ธรุ กจิ บรกิ ารทีม่ ศี ักยภาพใหมๆ่ ทีส่ ร้างรายไดส้ ูง
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ในขณะเดียวกันการพัฒนาสังคมผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพ่ือสร้าง ผู้ประกอบการทางธุรกิจที่พิจารณาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ขับเคลื่อนธุรกิจ (From Entrepreneur to Technopreneur) สู่การเป็น “ผู้ผลิตได้ ขายเป็น” ก็มีความสาคัญต่อการเพิ่มผลิตภาพการผลิตและการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันทาง เศรษฐกิจของภาคการผลิตและบริการไทยตลอดห่วงโซ่มูลค่า โดยต้องมุ่งพัฒนาท้ัง ดา้ นศักยภาพของผ้ปู ระกอบการ และปัจจัยแวดลอ้ มทส่ี าคัญ การพัฒนาในแนวทางสาคัญดังกล่าวข้างต้นจะสัมฤทธ์ิได้ก็ต่อเม่ือมีการพัฒนาปัจจัยสนับสนุน การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันรองรับอย่างเหมาะสม ทั้งการลงทุน พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบโลจิสติกส์และการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ตลอดห่วงโซ่มูลค่า เพ่ือก้าวข้ามกับดักจากผู้ซ้ือเทคโนโลยี ไปสู่การเป็นผู้ผลิต และขายเทคโนโลยีโดยเน้นการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นพ้ืนฐานเพื่อสร้างองค์ความรู้ ความคิด และเทคโนโลยีต้นน้า สู่การพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบ และเพ่ือวางรากฐานความเข้มข้นในการต่อยอดเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และนาไปใช้ประโยชน์ท้ังเชิงพาณิชย์ สังคม และชุมชน รวมถึงการพัฒนาและวิจัยแบบวิศวกรรม ย้อนกลับเพ่ือเตรียมความพร้อมในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมอนาคต ี่ยังต้องอาศัย เทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศ ขณะเดยี วกนั กต็ ้องการวางรากฐานทแี่ ข็งแกรง่ เพอ่ื สนับสนนุ การเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ท้ังในด้านเสถียรภาพและสมรรถนะทางเศรษฐกิจมหภาคโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับปรุงกลไก ภาครฐั ในการบริหารเศรษฐกิจ การคลัง และงบประมาณของประเทศ ให้สามารถสนับสนุนการนายุทธศาสตร์ การพัฒนาไปสู่การจัดสรรงบประมาณและการขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติได้อย่างสอดประสานและ เกิดบูรณาการควบคู่ไปกับการดาเนินยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก โดยมุ่งเน้น การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนาการดาเนินยุทธศาสตร์ความร่วมมือ เพอ่ื การพฒั นาภายใตก้ รอบ CLMVT และสง่ เสรมิ การลงทนุ ไทยในตา่ งประเทศของผปู้ ระกอบการไทย รวมท้ัง การพัฒนาพ้ืนที่ พ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษ ภาคและเมือง เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถใช้จุดแข็ง ของแต่ละพ้ืนที่ และชุมชนเพ่ือเสริมหนุนการพัฒนาเศรษฐกิจในภาพรวมได้ อีกทั้งเป็นการสนับสนุน การกระจายความม่ังค่ังไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ในประเทศ ช่วยลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ และสร้าง ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจและสังคมในระดับท้องถิ่นได้อย่างย่ังยืน รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานรากเพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น ให้สามารถพึ่งตนเอง ช่วยเหลือเอ้ือเฟ้ือซ่ึงกันและกัน มคี ณุ ธรรม และเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ทเี่ อ้อื ให้เกดิ การพัฒนาด้านอื่นๆ ในพนื้ ที่
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 72 ส่วนท่ี 3 การกาหนดยุทธศาสตร์ในการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความสามารถ ของประเทศท่ีจะก่อให้เกิดความมั่งคั่งไปไก้อย่างย่ังยืนในระยะยาวนั้น ในการแข่งขัน หัวใจสาคัญคือ ..... การเพิ่มผลิตภาพการผลิต (Productivity) บนพื้นฐานของการพัฒนาและใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม ท่ีผสมผสานกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้อง ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงท้ังในด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) และการสร้างมูลค่าของสินค้าและบริการท่ีสูงขึ้น (Value creation) รายได้ตอ่ คน GDP ขยายตัว ผลติ ภาพ ผลติ ได้ ขายเป็น 15,000 5–6% 3% USD/ปี ตลอด 15 ปี ต่อปี เป้าหมายสาคัญ ของการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันคือ ประเทศไทยถูกจัดอันดับไม่ต่ากว่า 1 ใน 10 ของการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของโลกโดยองค์กรต่าง ๆ และเพ่ิมผลิตภาพการผลิตรวมไม่ต่ากว่า ร้อยละ 3 ต่อปี ซึ่งเป็นเป้าหมายหน่ึงที่จะนาไปสู่เป้าหมายการเพ่ิมอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (GDP) เป็นเฉล่ียประมาณร้อยละ 4-5 ต่อปีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และเพม่ิ ขึ้นเปน็ ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 5 ในช่วง 15 ปี หลังจากนั้น และเพ่ิมรายได้ต่อหัวเป็นอย่างน้อย 15,000 ดอลลาร์ สรอ. หรอื ประมาณ 500,000 บาทต่อปี โดยแนวทางและประเด็นการพฒั นาทส่ี าคญั มีดงั น้ี
ร่างยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 73 ส่วนท่ี 3 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ยุทธศาสตร์ 2 S1 การพฒั นาภาคการผลติ การพัฒนาสงั คม และบรกิ าร S2 ผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพ่ือสรา้ งผู้ประกอบการ การพัฒนาปจั จยั สนับสนนุ ทางธรุ กิจ และการพัฒนาโครงสร้าง S3 พื้นฐานเพอ่ื เพิม่ ขีดความ สามารถในการแขง่ ขัน การวางรากฐานท่แี ข็งแกร่ง S4 เพ่ือสนบั สนนุ การเพม่ิ ขีดความสามารถ ในการแข่งขนั
รา่ งยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 74 สว่ นท่ี 3 2.1 การพฒั นาภาคการผลติ และบรกิ าร มุ่งเน้นท่ีการพัฒนาเพ่ิมผลิตภาพการผลิตตลอดห่วงโซ่มูลค่า โด ย เ ฉ พา ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม พลั ง ง า น แ ล ะ วั ส ดุ ชี ว ภ า พ การสร้างความสามารถ เพอื่ กา้ วกระโดดไปสกู่ ารเปน็ ฐานการผลิตและบริการท่ีโดดเด่นในด้าน ได้อย่างครบวงจร ควบคู่ไปกับ ส่งเสริมการเชื่อมโยง ในการแข่งขัน เศรษฐกิจ ฐานชีวภาพ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม แ ล ะ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ ป็ น และบริการ แห่งอนาคตเพื่อท่ีจะเพิ่มรายได้ จากฐานเดิม เครือข่ายและคลัสเตอร์ท่ีเข้มแข็ง นอกจากน้ี การพัฒนา และต่อยอดไปสู่การสร้างฐานรายได้ใหม่ โดยต้องมีการพัฒนา ต้องมุ่งเน้นที่การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณภาพ ในประเด็นหลกั ดังน้ี มาตรฐานและปลอดภัย เพื่อให้ประเทศไทย สามารถเป็นผู้นา ด้ า น น วั ต ก ร ร ม ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ อ า ห า ร ใ น ภู มิ ภ า ค 2.1.1 การพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพโดยยกระดับสู่เกษตร อาเซียนและโลก ในขณะเดียวกันต้องสามารถทาให้เกิด สมัยใหม่ที่เป็นพื้นฐานสาคัญและเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตร ความมน่ั คงทางอาหารภายในประเทศด้วย อาหาร พลังงาน และวสั ดชุ ีวภาพด้วยนวตั กรรม 2.1.2 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติท่ีเป็นฐานของการ โดยพัฒนาเกษตรกรให้เป็นเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farmer) ผลติ ภาคเกษตรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ และยง่ั ยนื ที่ ‘ผลิตได้ขายเป็น’ เข้าใจตลาด ปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีได้อย่าง รวดเร็วและประยุกต์ใช้ได้อย่างชาญฉลาด และมีความสามารถในการ โดยต้องมีการวางแผนการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ บริหารจดั การมากขนึ้ โดยเฉพาะการบริหารความเส่ียงในด้านต่างๆ ของประเทศทั้งระบบ ทั้งที่ดิน แหล่งน้า ป่าไม้ สินแร่ เพ่ือให้มี ทั้งในด้านความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและความผันผวน การเข้าถึง การใช้ประโยชน์ การอนุรักษ์ และการฟ้ืนฟู ของตลาดและความต้องการของผู้บริโภคในรูปแบบใหม่ๆ รวมทั้ง ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม คุ้มค่า มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการวิจัย พัฒนา และใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม โดยเฉพาะ และสมดุล สามารถเป็นฐานของภาคการผลิต ท้ังเกษตรและ เทคโนโลยีชีวภาพ ผสมผสานการใช้ภูมิปัญญา และเทคโนโลยีด้าน อุตสาหกรรมท่ีมีมูลค่าเพิ่มสูง ในขณะเดียวกันต้องไม่เกิด ความแม่นยา (Precision Technology) ในการยกระดับคุณภาพและ ผลกระทบในทางลบต่อส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศ และที่สาคัญ ประสิทธิภาพการผลิต ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ต้ังแต่ด้านวัตถุดิบ คือ ช่วยสร้างความมั่นคงของประเทศในด้านพลังงานและ พันธุ์ กระบวนการผลิตที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ อาหาร โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชน การแปรรูป และการพัฒนาความต้องการของตลาด ตลอดจน มีความรูส้ ึกเปน็ เจา้ ของทรัพยากรและมีส่วนร่วมกับหนว่ ยงานรฐั สร้างกลไกการเชื่อมโยงระหว่างสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม ในท้องถิ่นในการดูแลรักษา ฟ้ืนฟู และพัฒนาทรัพยากร ต่อเนื่องอ่นื ๆ ธรรมชาติในชมุ ชนอยา่ งต่อเนือ่ ง เกษตรกรสมยั ใหม่ พฒั นาภาคเกษตรสู่ฐานชีวภาพ พัฒนาห่วงโซอ่ ุปทาน และรว่ มมอื รปู แบบคลัสเตอร์ บริหารความเสี่ยง 1 เกษตร 2 พลงั งาน ใชเ้ ทคโนโลยที นั สมยั เทคโนโลยแี ม่นยา อาหาร (Precision Technology) บริหารจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติ 3 เศรษฐกิจชวี ภาพ มคี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ ในการผลติ ดิน ระบบนิเวศ นา้ ประยกุ ตใ์ ชภ่ มู ปิ ัญญาและ ปา่ แร่ การวจิ ัยและพัฒนา
รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 75 สว่ นที่ 3 2.1 การพัฒนาภาคการผลติ และบริการ 2.1.3 ยกระดับศักยภาพภาคอุตสาหกรรมให้แข่งขันได้ เพ่ือสร้างสรรค์รูปแบบการดาเนินธุรกิจแนวใหม่ที่ตอบโจทย์ความ การสร้างความสามารถ บนฐานเทคโนโลยขี ั้นกา้ วหน้า ต้องการและวิถีชีวิตของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งมี ในการแข่งขัน ความสามารถในการจัดการและพัฒนาเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง ประเด็น ซึ่งหวั ใจสาคัญอยู่ท่กี ารพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนาคน การพัฒนาทสี่ าคญั อีกประการหน่ึง คอื การสรา้ งระบบและกลไกท่ีทาให้ โดยในด้านเทคโนโลยี ในระยะแรกจาเป็นต้องทาการศึกษา เกิดความเชื่อมโยงท่ีเข้มแข็งของห่วงโซ่การผลิตภาคอุตสาหกรรมและ อย่างลึกซ้ึงเพ่ือกาหนดเทคโนโลยีเป้าหมายที่จะพัฒนาเพื่อ อุตสาหกรรมเก่ียวเน่ืองอ่ืนๆ ตามแนวทางคลัสเตอร์ เพื่อให้สามารถ รองรับการปรับโครงสร้างและยกระดับภาคอุตสาหกรรม ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่ ไปสู่ระดับขั้นท่ีก้าวหน้ามากข้ึน ประกอบกับส่งเสริมการใช้ การผลิต ซ่ึงจะช่วยให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม เ ทคโ นโล ยีขั้ น สู ง ขึ้ นต ล อ ด ห่ วง โ ซ่ กา รผลิ ต ขอ ง (SMEs) สามารถยกระดับศักยภาพให้สูงข้ึนด้วยการเชื่อมโยงกับ อุตสาหกรรม โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมฐานรายไดเ้ ดมิ ทไ่ี ทย ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ รวมท้ังต้องมุ่งส่งเสริมการยกระดับการ มีศักยภาพอยู่ในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร ผลิตผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้สามารถเป็นฐานรายได้และสร้างความ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เข้มแข็งที่ยั่งยืนของเศรษฐกิจในระดับชุมชน รวมทั้งสามารถเป็นฐาน ในขณะเดียวกันต้องมีการวางแผนและแนวทางที่ชัดเจนและ ของการผลิตของอุตสาหกรรมในระดับท่ีใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นได้ เป็นระบบเพื่อสร้างเทคโนโลยีข้ันสูงของไทยเอง ซ่ึงต้องมี และในระยะยาว SMEs ไทยจะต้องมีศักยภาพในการสร้างแบรนด์ท่ีเป็นท่ี การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาและดาเนินการอย่าง ยอมรับในระดับสากลด้วย นอกจากน้ี การพัฒนาอุตสาหกรรมใน จรงิ จังและตอ่ เนื่องในระยะยาว รวมทั้งสร้างระบบ กลไก และ ทุกระดับจะต้องให้ความสาคัญกับการอยู่ร่วมกันกับชุมชนได้อย่างดี ปัจจยั สนบั สนนุ อื่นๆ เพอื่ ใหผ้ ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมเข้า และไม่สรา้ งผลกระทบในทางลบต่อส่งิ แวดลอ้ มและชมุ ชน มามีส่วนร่วมในการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ด้วย ในขณะเดียวกัน ต้องเร่งสร้างอุตสาหกรรมฐานรายได้ใหม่ 2.1.4 พัฒนาความหลากหลาย คุณภาพ และสร้างเอกลักษณ์ โดยต่อยอดจากศักยภาพของอุตสาหกรรมฐานรายได้เดิม การทอ่ งเท่ยี วไทย ที่ประเทศไทยมีศกั ยภาพสูงอยู่แล้วในปัจจุบัน ผนวกกับการ ใช้โอกาสของเทคโนโลยีแห่งอนาคตและบริบทโลกในอนาคต เพ่อื ใหป้ ระเทศไทยเปน็ จุดหมายปลายทางทสี่ าคญั ของการท่องเทย่ี วโลก ซึ่งอตุ สาหกรรมทีไ่ ทยมีศักยภาพต่อยอดไปสู่อุตสาหกรรม ที่มีความเป็นมืออาชีพและสร้างความประทับใจท่ีคุ้มค่ากับนักท่องเท่ียว ท่ีจะเป็นฐานรายได้สาคัญในอนาคตได้ เช่น อุตสาหกรรม ท่ัวโลก โดยต้องเน้นการท่องเท่ียวท่ีมีคุณภาพ สามารถสร้างรายได้ ฐานชีวภาพ (Bio-based Industry) อุตสาหกรรมระบบ จากการท่องเท่ียวท่ีสูงขึ้นให้กับประเทศ ในระยะยาวต้องเน้นการ อัตโนมตั ิและหุน่ ยนต์ (Automation and Robotics) เป็นต้น พัฒนาการท่องเที่ยวท่ีมีคุณภาพอย่างย่ังยืน โดยไม่ก่อให้เกิดความ นอกจากนี้ ด้านการพัฒนาคน ในระยะแรกต้องมุ่งพัฒนา เสอื่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ไม่ทาลายวิถีชีวิต ทักษะและองค์ความรู้ของกาลังคนในอุตสาหกรรมให้ และเอกลักษณ์ของชุมชน รวมทั้งพัฒนาเมืองท่องเท่ียวหลักท่ีมี สามารถปรบั เปลีย่ นให้ทันกับการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี เอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละเมือง เพื่อเป็นแม่เหล็กดึงดูดนักท่องเที่ยว และมีทักษะที่หลากหลาย (Multi-skills) มากขึ้น และในระยะ เข้ามาและกระจายโอกาสในการสร้างรายได้ไปสู่เมืองและชุมชมที่อยู่ ยาวที่จะต้องมีการดาเนินการอย่างต่อเน่ือง จาเป็นต้องให้ ใกล้เคียง ในขณะเดยี วกัน ต้องใช้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวให้เอื้อต่อ ความสาคัญกับการลงทุนด้านการพัฒนาบุคลากรเพ่ือ การพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องด้วย รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมซึ่งจะต้องเผชิญกับ เชน่ ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน อตุ สาหกรรมเกษตร เปน็ ตน้ นอกจากน้ีต้องใช้ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่พลิกโฉมหน้าการผลิตและ ความได้เปรียบเชิงที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางของภูมิภาค ต ล า ด ใ น อ น า ค ต ซ่ึ ง บุ ค ล า ก ร ใ น ทุ ก ร ะ ดั บ ข อ ง เพื่อพัฒนาการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวไทยกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ภาคอตุ สาหกรรม ทั้งระดับแรงงาน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เอเชีย ซ่ึงจะช่วยยกระดับให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายท่ี นวัตกรรม รวมท้ังผู้ประกอบการ จะต้องมีความสามารถ นักท่องเท่ยี วทกุ คนต้องไปเทยี่ ว ในการปรบั ตวั และใช้โอกาสของความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี
รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 76 สว่ นท่ี 3 2.1 การพัฒนาภาคการผลติ และบริการ 2.1.5 พฒั นาธรุ กิจบริการที่มีศักยภาพใหมๆ่ ท่สี ร้างรายได้สงู การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ประเทศไทยมีพ้ืนฐานที่เข้มแข็งในด้านการบริการด้วยอัธยาศัยไมตรีอันดี รวมท้ังความสามารถในด้านการออกแบบและความคิด สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการพัฒนาต่อยอดไปสู่ธุรกิจบริการสาขาใหม่ๆ ท่ีตอบสนองวิถีชีวิตของคนที่เปลี่ยนไปตาม โครงสร้างทางสังคม โครงสร้างประชากร เทคโนโลยี และบริบทใหม่ๆ ในอนาคต สาขาบริการที่มีศักยภาพจะต้องอยู่บนพื้นฐานของ การคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบรูปแบบการบริการท่ีผสมผสานความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีดิจิทัล และ Internet of Things กับเอกลักษณ์ความเป็นไทย (Thainess) โดยประเทศไทยมีสาขาบริการที่มีศักยภาพท่ีสอดคล้องกับบริบทโลกในอนาคต ได้แก่ ธุรกิจบริการสขุ ภาพและการเสรมิ สร้างสุขภาวะ (Health and Wellness Services) และสถานบรกิ ารสขุ ภาพและความงาม (Wellness) และการสง่ เสริมธุรกิจบรกิ ารทางการแพทย์ โดยตอ้ งมกี ารลงทุนอย่างจริงจังในการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ การวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีทางการแพทย์และเคร่ืองมือแพทย์ รวมทั้งมาตรฐานการบริการ เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถเป็นเจ้าของเทคโนโลยีได้เอง ซึ่งจะเป็นการสร้างฐานท่ีเข้มแข็งในการเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์ (Medical Service Hub) ของภูมิภาคในระยะต่อไป นอกจากนี้ ส่งเสริมสาขาบริการอ่ืนที่มีศักยภาพ และแนวโน้มที่จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยต้องพัฒนาด้านโครงสร้างพ้ืนฐานรองรับท่ี เหมาะสม การปรับปรุงกฎระเบียบให้เอื้อต่อการลงทุนและการเข้ามาใช้บริการต่างๆ การพัฒนาบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญด้าน ภาษาต่างประเทศ ที่หลากหลาย รวมท้ังต้องมีการกาหนดกลยุทธ์การพัฒนาธุรกิจบริการรายสาขาโดยเน้นการตลาดนา เพื่อขยายตลาดใหม้ ีความหลากหลายมากข้ึน การพัฒนาความหลากหลาย คุณภาพ และสร้างเอกลักษณ์การท่องเท่ียวไทย ธรรมชาติ สุขอนามยั ความปลอดภยั วถิ ชี ีวิต เขา้ ถงึ แหลง่ อตุ สาหกรรม ทอ่ งเที่ยว ท่ีเกีย่ วข้อง เชือ่ มโยงการ โครงสร้าง ความ บริการที่มี กระจาย ผลติ ภณั ฑ์ เดินทาง พ้นื ฐาน ย่ังยนื คุณภาพ รายไดส้ ู่ ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน สง่ เสริม การท่องเที่ยว อย่างมคี ุณภาพ
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 77 ส่วนที่ 3 ระยะแรก ระยะต่อไป เป้าหมาย Thainess Service การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน มุ่งเนน้ บริการด้านส่งเสริมสขุ ภาพ มุ่งพัฒนาบรกิ ารด้านการแพทยท์ ี่ ศูนยก์ ลางบริการทางการแพทย์ และความงาม ซ่ึงไทยมีศกั ยภาพและ เป็นด้านการรกั ษา โดยตอ้ งมกี าร (Medical Service Hub) ไมต่ อ้ งใช้เทคโนโลยีในระดบั สูงมาก ลงทนุ อย่างจริงจงั ในการผลิต ของภมู ภิ าค บคุ ลากรทางการแพทย์ และ R&D ใน โดยตอ้ งใหค้ วามสาคัญกบั การยกระดับมาตรฐานและส่งเสรมิ กลมุ่ เทคโนโลยีทางการแพทย์ ตลาดเชงิ รกุ 2.2 การพัฒนาสงั คมผปู้ ระกอบการ (Entrepreneurial Society) เพ่อื สรา้ งผ้ปู ระกอบการทางธรุ กิจ ที่พิจารณาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ด้วยการใช้เทคโนโลยีและ โดยสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพของสถาบันการศึกษา นวัตกรรมขับเคล่ือนให้ธุรกิจ ( From Entrepreneur to ในท้องถ่ินให้เป็นกลไกหลักถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี Technopreneur) สู่การเป็น “ผู้ผลิตได้ ขายเป็น” ซ่ึงมี จ า ก ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข น า ด ใ ห ญ่ แ ล ะ นั ก ล ง ทุ น ต่ า ง ช า ติ สู่ ความสาคญั ตอ่ การเพม่ิ ผลติ ภาพการผลติ และการยกระดบั ขีด ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม และผู้ประกอบการใน ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของภาคการผลิต ชุมชนมีเอกลักษณ์ และสามารถตอบสนองวิถีชีวิตสมัยใหม่ท่ี และบริการไทยตลอดห่วงโซ่มูลค่า โดยต้องมุ่งพัฒนาท้ังด้าน หลากหลายของผู้บริโภคทงั้ ไทยและโลกได้ โดยต้องปฎิรูปกลไก ศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการ และปจั จัยแวดลอ้ มทีส่ าคญั ดังนี้ ใ น ก า ร บ่ ม เ พ า ะ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 2.2.2 ปัจจัยแวดล้อมในการสร้างสังคมผู้ประกอบการ 2.2.1 สร้างผู้ประกอบการไทยที่มีความเป็นมืออาชีพ ท่ีสาคัญ คือ การพัฒนากฎระเบียบท่ีอานวยความสะดวกใน ทั้งผู้ประกอบการในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ การต้ังธุรกิจใหม่ได้ง่ายขึ้น การปฎิรูประบบทรัพย์สินทาง โดยจะตอ้ งมคี ณุ ลักษณะของ “ความเป็นผู้ประกอบการ” ที่มี ปัญญาทั้งระบบ ต้ังแต่การจดทะเบียน การส่งเสริมการใช้ และ ความสามารถในการบริหารจัดการ แสวงหาโอกาสและกล้า การป้องกันการละเมิด เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการที่ใช้ ลงทุนอย่างชาญฉลาด ก้าวทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ สามารถ ของสังคมโลก มีความรู้ความเข้าใจในความต้องการของ สร้าง ความเติบโตทางธุรกิจได้ นอกจากน้ี ต้องมีการ ตลาดท่ีหลากหลาย รวมท้ังเข้าใจและปรับใช้เทคโนโลยี พัฒนาแหล่งเงินทุนในรูปแบบใหม่ๆ เพ่ือสนับสนุนการเริ่มต้น ที่เปลย่ี นแปลงไปได้อย่างเหมาะสม เพ่ือสร้างสรรค์นวัตกรรม ธุรกิจใหมข่ องผปู้ ระกอบการรุน่ ใหมแ่ ละผู้ประกอบการชุมชน ให้ ให้กับสินค้าและบริการในรูปแบบใหม่ที่มีจุดเด่น ผู้ประกอบการ สามารถเข้าถึงได้สะดวกมากข้ึน รวมท้ังมีระบบการพัฒนา ที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งปฏิรูประบบและกลไกในการถ่ายทอด ศักยภาพในการบริหารการเงินของผู้ประกอบการเพื่อให้ เทคโนโลยที ี่มสี มรรถนะสงู สามารถใชเ้ งินทุนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ปฏริ ูประบบ สร้างกลไกบม่ เพาะทีม่ ีประสทิ ธิภาพ SMEs พฒั นากฎระเบยี บอานวย จดั สรรแหล่งเงนิ ทนุ ท่เี หมาะสม สนบั สนนุ การประกอบธุรกิจ ภาครฐั ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ปฏริ ูปกลไกส่งเสรมิ การลงทนุ สรา้ งระบบการถ่ายทอดเทคโนโลยี LEs/MNCs
รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 78 ส่วนท่ี 3 2.3 การพัฒนาปจั จัยสนับสนนุ และการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน การสร้างความสามารถ เพอื่ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ในการแข่งขัน 2.3.1 การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยการพัฒนา (2) ส่งเสริมพลังงานทดแทนและการบริหารจัดการการ โครงสร้างพื้นฐานของประเทศจะต้องมุ่งสนับสนุนการยกระดับ จดั หาและใชท้ รพั ยากรพลังงานท่มี ปี ระสทิ ฺธิภาพ เพ่ือให้เกิดความ ความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ ช่วย มั่นคงทางพลังงานของประเทศ โดยส่งเสริมการพัฒนาและ สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคนในสังคม และช่วยลดความ ผลิตพลังงานทดแทนอย่างจริงจังและเป็นระบบครบวงจร เหล่ือมล้าทางสังคมดว้ ย โดยมแี นวทาง ดังน้ี โดยคานึงถึงศักยภาพรายพื้นท่ี ต้องมีการบริหารจัดการท่ีมี (1) พัฒนาระบบการขนส่งเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงเป็น บูรณาการ ท้ังระบบ ต้ังแต่วัตถุดิบของพลังงานทดแทน โครงข่ายสมบูรณ์และลดต้นทุนทางเศรษฐกิจและสังคม โดยให้ เช่น วัตถุดิบจากภาคเกษตร การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน ความสาคัญกบั การปรับเปลี่ยนรปู แบบการขนสง่ สนิ คา้ ทางถนน การสรา้ งตลาด และสนบั สนุนผผู้ ลติ พลงั งานทดแทน รวมทั้งมี สู่การขนส่งท่ีต้นทุนต่า เช่น การขนส่งทางน้า และระบบราง การกาหนดกฎระเบียบท่ีเกี่ยวข้องท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและใช้ โดยการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านระบบรางเพ่ือเพ่ิม พลังงานทดแทนอย่างมีบูรณาการ สาหรับพลังงานจาก ทางเลือกการขนส่งที่รวดเร็วและต้นทุนต่า โดยต้องมีการวาง ฟอสซิลนั้น ต้องมีการกระจายประเภทของการผลิตและการใช้ เครือข่ายระบบรางของประเทศท่ีชัดเจนเพ่ือให้เกิดการพัฒนา เชื้อเพลงิ ในสัดสว่ นและภายใต้ราคาทีเ่ หมาะสมและสามารถรองรับ อย่างต่อเนื่องและสามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเติบโตของอุตสาหกรรมที่จะเป็นฐานเศรษฐกิจใหม่ของ สูงสุด การพัฒนาความเชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้านตาม ประเทศที่จาเป็นต้องใช้พลังงานมากขึ้น เช่น รถยนต์พลังงาน แนวระเบียงเศรษฐกิจภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ไฟฟ้า เป็นต้น รวมท้ังการบริหารแหล่งพลังงานของประเทศ อนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ ้าโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion: ร่วมกับประเทศต่างๆ ในอาเซียนและสร้างความร่วมมือด้าน GMS) ความร่วมมือภายใต้แผนงานความความร่วมมือ พลังงานเพื่อกระจายความเสี่ยงและสร้างความมั่นคงทาง อินโดนีเชีย-มาเลเชีย-ประเทศไทย (IMT-GT) ความเชื่อมโยง พลังงานของประเทศและภมู ภิ าค ในประชาคมอาเซียนและการเชื่อมโยงกับเส้นทางสายไหม (3) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Belt and Road Initiative) รวมทั้งการพัฒนาโครงสร้าง เพอื่ สง่ เสรมิ การพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัลและรองรับการยกระดับ พื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินทางและขนส่งไปสู่ ทางเศรษฐกิจอย่างท่ัวถึงและคุณภาพชีวิตประชาชน เมืองศูนย์กลางของภูมิภาคท่ัวประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์การ โดยคานึงถึงความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศด้วย ทั้งนี้ โดยมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT ท่ีเป็นอินเทอร์เน็ต พัฒนาภาค พน้ื ที่ และเมือง ความเร็วสูงให้ทันสมัยและกระจายทั่วถึง พัฒนาบุคลากรให้มี ความร้คู วามสามารถและมคี วามเชี่ยวชาญระดับมาตรฐานสากล เสริมสร้างความสามารถของอุตสาหกรรม ICT และ อุตสาหกรรมที่เก่ียวข้อง และส่งเสริมการใช้ ICT ในภาคการ ผลิตและบริการสาคัญของประเทศเพื่อสร้างนวัตกรรม การบริการท่ีมีมูลค่าเพ่ิมสูง และขยายช่องทางการค้าและ การตลาดใหม่ ๆ รวมทั้งส่งเสริมการใช้ ICT ในภาครัฐเพื่อ เพิม่ ประสิทธภิ าพในการให้บริการแกส่ าธารณะ ทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข บริการสาธารณูปโภค และการจดทะเบียนต่างๆ เป็นต้น ขณะเดียวกันจะต้องมีการพัฒนาระบบการรักษาความ ปลอดภัยของระบบและเครือข่าย ( Cyber Security) ท่ีมี ประสทิ ธิภาพสงู เพื่อใหเ้ กดิ ความมั่งคงทางไซเบอร์
รา่ งยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 79 สว่ นท่ี 3 2.3 การพฒั นาปจั จัยสนับสนนุ การสร้างความสามารถ การเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ในการแข่งขัน 2.3.2 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ในขณะท่ีการลงทุนวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดห่วงโซ่มูลค่าเพื่อก้าวข้ามกับดัก จากผู้ซ้ือเทคโนโลยีไปสู่ พ้ืนฐานและเพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจเอกชนในสาขาการผลิตและ การเปน็ ผ้ผู ลิตและขายเทคโนโลยี บริการท่ีเป็นเป้าหมายในเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศและการ โดย เน้นการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข้ัน แข่งขนั สูงต้องเพ่ิมบทบาทของภาครัฐใหม้ ากขึน้ พ้ื นฐ า น ( Basic Science/Basic Research) เ พ่ือ ส ร้ า ง นอกจากน้ีตอ้ งบรู ณาการการดาเนินงานและการบริหารจัดการ องค์ความรู้ ความคิด (Know-how/Idea Generation) ด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และเทคโนโลยีต้นน้า สู่การพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบ (Prototype) ของหน่วยงานภาครัฐให้มีเอกภาพสอดคล้องกับทิศทาง และเพ่ือวางรากฐานความเข้มข้นในการต่อยอดเทคโนโลยีจาก การพฒั นาประเทศ ต่างประเทศ และนาไปใช้ประโยชน์ทั้งเชิงพาณิชย์ สังคม และชุมชน ในขณะเดียวกันยังต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนา และวิจัยแบบวิศวกรรมย้อนกลับ (Reversed Engineering) เ พื่ อ เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ คาดการณเ์ ทคโนโลยี อุตสาหกรรมอนาคตที่ยังต้องอาศัยเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เทคโนโลยีทีต่ อ้ งการ ซึ่งเป็นการพฒั นาและวจิ ยั เชงิ ประยกุ ตเ์พอื่ ลอกเลยี นแบบ (Applied Science/Applied Research) เพ่ือพัฒนาต่อยอดสู่การ AB C พัฒนาเทคโนโลยีเป็นของตนเอง (Imitation to Innovation) นาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ รวมท้ังมุ่งเพ่ิมจานวนบุคลากร วิจัยและพัฒนาทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และเพ่ิมสัดส่วน สรา้ ง ซอ้ื การลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนมากกว่าภาครัฐใน วิจยั พนื้ ฐาน/ประยุกต์ เทคโนโลยใี หม่ งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีปลายน้า ที่ภาคเอกชนสามารถ นาไปใช้ประโยชนใ์ นเชิงพาณชิ ยไ์ ด้ทนั ที สร้างมูลค่าเพม่ิ ใหแ้ ก่อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 80 ส่วนที่ 3 การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน 2.4 การวางรากฐานท่แี ข็งแกร่ง และโครงสรา้ งพ้นื ฐาน เพ่ือสนบั สนุนการเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน ในด้านเสถียรภาพและสมรรถนะทางเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการพัฒนา และการพัฒนา พ้ืนที่ ภาค และเมือง โดยมแี นวทาง ดงั น้ี 2.4.1 เสริมสร้างเสถยี รภาพและสมรรถนะทางเศรษฐกิจมหภาค รักษาวินัยการเงินการคลัง และเสถียรภาพของอัตรา โดยมีการบริหารเศรษฐกิจมหภาคท่ีดี ทันต่อสถานการณ์ แล กเปลี่ ยน แ ล ะส ร้ า งควา มเ ชื่ อ ม่ันในต่า ง ประเ ทศ มคี วามยดื หยนุ่ ในระดบั ทเ่ี พยี งพอและเหมาะสมตอ่ การรักษาสมดลุ โดยการเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง พัฒนาระบบการเงินของ ทางเศรษฐกิจของประเทศในทุกช่วงสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ประเทศให้มีประสิทธิภาพและสามารถให้บริการประชาชน รวดเร็วหรือสถานการณ์ที่ประเทศต้องเผชิญความเส่ียงและ ทุกระดับได้อย่างทั่วถึง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ ความผนั ผวนทงั้ ในระยะส้ัน แข่งขัน ของภาคธุรกิจ และโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ของผูป้ ระกอบการใหม่ ผปู้ ระกอบการในชมุ ชน และประชาชน อาทิ เศรษฐกิจโลกที่ยังฟื้นตัวล่าช้า การเปล่ียนแปลงทาง เทคโนโลยที างการเงินและสถานการณต์ ลาดเงิน และตลาดทนุ โลก (2) ปรับปรุงกลไกภาครัฐในการบริหารเศรษฐกิจ การคลัง แ ล ะ ค ว า ม เ สี่ ย ง ใ น ร ะ ย ะ ย า ว เ ช่ น ก า ร ข า ด แ ค ล น และงบประมาณของประเทศ ให้สามารถสนับสนุนการนา ทรัพยากรธรรมชาติ โครงสร้างทางสังคมและ ประชากร ยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การจัดสรรงบประมาณและการ แ ล ะ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ท า ง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ ท่ี ก ร ะ ท บ ต่ อ ขับเคลอ่ื นสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้อย่างสอดประสานและเกิดบูรณาการ ระบบเศรษฐกิจโลกและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการลงทุน โดยออกกฎหมายการเงินการคลังภาครัฐให้ครอบคลุม ในภาคส่วนต่าง ๆ ของโลก ดังน้ัน จึงต้องมีการบริหาร องค์ประกอบหลักในการบริหารจัดการรายได้แผ่นดิน เศรษฐกิจมหภาคท่ีเหมาะสมและเปล่ียนแปลงได้ทันกระแสโลก รายจา่ ย การบริหารสินทรัพย์ และการบริหารหนี้ท่ีจะต้องอยู่ โดยมแี นวทาง ดังน้ี ภายใต้กรอบการวิเคราะห์และกฎเกณฑ์การบริหารจัดการ ที่สอดรบั กนั และปรบั บทบาทภารกจิ ของหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 1) รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อม่ัน ตั้งแต่ระดับการกาหนดนโยบาย/ยุทธศาสตร์ การกาหนด ในการลงทุน โดยดาเนินนโยบายการคลังและการเงินให้มีความ นโยบาย ด้านการคลัง และการกาหนดแนวทางการจัดสรร สอดคล้องกัน งบประมาณ ให้เกิดความเช่อื มโยงได้อย่างแทจ้ รงิ นโยบายการเงนิ และ อตั ราแลกเปล่ยี น ความเชอ่ื มั่น การผลิต การเติบโตทาง การคลงั ทม่ี ี เหมาะสม ของภาคธุรกจิ เศรษฐกิจ ประสิทธภิ าพ ความสามารถในการ ดชั นรี าคา การบริโภคใน แข่งขัน ผ้บู ริโภคมี ประเทศ เสถียรภาพ การลงทุน ระดับการ จ้างงานสูง
รา่ งยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 81 สว่ นท่ี 3 2.4.2 การเช่ือมโยงกบั ภมู ภิ าคและเศรษฐกจิ โลก การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน โดยยึดหลักการสร้างความร่วมมือทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนาและการสร้างความเป็นหุ้นส่วน การพัฒนากับประเทศในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศ ท้ังใน ระดับทวิภาคี และพหุภาคี และต่อยอดความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ การค้า การพัฒนาสังคมและความมั่นคงในอนุภูมิภาคเพ่ือส่งเสริมความมั่นคง ด้านพลังงาน ด้านอาหาร ด้านส่ิงแวดล้อม และการบริหารจัดการ ภัยพิบัติในรูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังการป้องกันภัยในทุกรูปแบบ เพ่ือสร้าง ความเจรญิ กา้ วหนา้ และลดความเหล่ือมล้าอยา่ งยง่ั ยนื รว่ มกันในทุกมติ ิ ในแนวทาง ดงั นี้ (1) การส่งเสริมบทบาทของไทยในเวทีความร่วมมือระดับภูมิภาคและโลกในฐานะการเปน็ ผปู้ ระสานประโยชนใ์ นการเชอื่ มโยงและสรา้ ง ความสมดุลของความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับกลุ่มอานาจทางเศรษฐกิจต่างๆ และแก้ไขปัญหาความแตกต่างทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคโดยการดารงความสัมพันธ์ท่ีดีกับประเทศและองค์กรระหว่างประเทศทั้งในและนอกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง พร้อมท้ังส่งเสริมการขยายความร่วมมือระหว่างอนุภูมิภาคและภูมิภาคกับประเทศนอกภูมิภาคบนหลักของการรักษาดุลยภาพ ข อ ง ก า ร ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ก ลุ่ ม ม ห า อ า น า จ ต่ า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง ก า ร เ พิ่ ม บ ท บ า ท แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ไ ท ย ในองค์การระหว่างประเทศในการผลักดันการพัฒนาในอนุภูมิภาคและภูมิภาค รวมท้ังประเทศกาลังพัฒนาในภูมิภาคอ่ืน ๆ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ท้ั ง ใ น ด้ า น ก า ร เ งิ น แ ล ะ ท า ง เ ท ค นิ ค กั บ ป ร ะ เ ท ศ ก า ลั ง พั ฒ น า ใ น ก า ร พั ฒ น า ด้ า น ค ว า ม เ ชื่ อ ม โ ย ง ทางเศรษฐกิจสังคมและการพฒั นาทนุ มนุษย์ (2) ขยายความร่วมมือทางการคา้ และการลงทุนกบั มติ รประเทศ และแสวงหาตลาดใหม่สาหรับสินค้าและบริการของไทย โดย การผลกั ดันให้สามารถใชป้ ระโยชน์จากความตกลงทางเศรษฐกจิ ท่ดี าเนนิ การอยแู่ ล้ว ให้เกิดผลเต็มท่ีทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และกรอบความตกลงอื่น ๆ ในระดับท่ีกว้างขวางออกไป และขยายความร่วมมือกับตลาดเกิดใหม่ที่มีศักยภาพ ท้ังความร่วมมอื ในรูปทวภิ าคีและพหุภาคี ควบคู่ไปกบั การดาเนินยุทธศาสตร์เชิงรุก โดยความร่วมมือ รัฐและเอกชนในการแสวงหา ตลาดใหมแ่ ละพนั ธมติ รทางการคา้ ใหม่ ๆ รวมทงั้ วางแนวทางปอ้ งกนั ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ สาหรบั กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตา่ ง ๆ (3) การดาเนินยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบ CLMVT เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของกลุ่ม เ พ่ิ ม อ า น า จ ก า ร ต่ อ ร อ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ดึ ง ดู ด ก า ร ล ง ทุ น ร ะ ห ว่ า ง กั น แ ล ะ จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ภ า ย น อ ก ก ลุ่ ม ร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาสู่เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน รวมทั้งลดความเหลื่อมล้าระหว่างกัน สร้างความไว้เน้ือเช่ือใจ และสร้างความมนั่ คงในอนุภูมิภาค (4) ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศของผู้ประกอบการไทยเพื่อสร้างผลตอบแทนจากเงินทุน และองค์ความรู้และเทคโนโลยี ในสาขาการผลิตและบริการท่ีไทยมีขีดความสามารถโดดเด่น และสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นชาติการค้า ซึ่งเป็นการดาเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกที่จะใช้ประโยชน์จากเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนท่ีทาให้อาเซียนกลายเป็นแหล่งผลิต และตลาดเดียวกัน รวมท้ังการใช้ประโยชน์ข้อตกลงระหว่างอาเซียนกับประเทศต่าง ๆ เช่น RCEP ในอนาคต ที่เปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิก เป็นฐานใหม่ในการลงทุนและการส่งออกของไทย การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการไทย มขี ดี ความสามารถในการผลติ ได้และคา้ ขายเป็น การพัฒนาความเป็นสากลของบุคลากรไทย การสร้างนักการค้าอัจฉริยะ สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการบริหาร จัดการการค้าในภูมิภาค และการส่งเสริมการค้า ที่ขับเคล่ือนหรือนาโดย ความตอ้ งการในตลาด (5) สร้างองค์ความรู้ด้านการต่างประเทศและพัฒนาความเป็นสากลของคนไทย และให้ความรู้ความเข้าใจด้านการต่างประเทศ และผลประโยชนท์ มี่ ตี อ่ การพฒั นาประเทศต่อภาคสว่ นต่าง ๆ และสาธารณชนไทย รวมท้งั ดาเนนิ การเชิงรุกในการสรา้ งความเข้าใจ ความเช่อื ม่นั และภาพลกั ษณท์ ดี่ ีและศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ และดา้ นอื่นๆ ของประเทศไทย Myanmar China Laos Thailand Vietnam Malaysia
รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 82 ส่วนท่ี 3 2.4.3 การพฒั นาพ้ืนท่ี พื้นทีเ่ ศรษฐกจิ พเิ ศษ และเมอื ง การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ในอนาคตการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีจะทวีบทบาทสาคัญในการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการไทย เน่ืองจากการพัฒนาเชิงพื้นที่จะทาให้ประเทศสามารถใช้จุดแข็งของแต่ละพื้นท่ีและชุมชนเพื่อเสริมหนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ ในภาพรวมได้ อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการกระจายความมั่งค่ังไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ในประเทศ ช่วยลดความเหล่ือมล้าในทุกมิติ และสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจและสังคมในระดับท้องถิ่นได้อย่างย่ังยืน ซึ่งการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีมีจุดเน้นสาคัญ คือ การมีส่วนรว่ มของชุมชน ความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม และการเชอ่ื มโยงกับประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าค โดยมีแนวทาง ดงั นี้ (1) การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษชายแดน เพ่ือ กระจา ยกิ จกรรมเศรษ ฐกิจ แล ะความเจ ริญสู่ ภูมิ ภา ค โดยพัฒนาต่ อยอดจ ากพื้นที่เขตเ ศรษฐกิ จพิเศษ ท่ีดาเนินการอยูแ่ ล้วในปจั จุบนั ท้งั น้ี ต้องมงุ่ พัฒนาพ้นื ทเี่ ปา้ หมายไปสู่การเป็นฐานการผลิตใหม่รองรับการเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยจาเป็น ต้องมีการบูรณาการการพัฒนาท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และความม่ันคง ในพื้นท่ีชายแดนเป้าหมาย อย่างมีความสมดุลและยั่งยืน บนพื้นฐานของศักยภาพของ แต่ละพ้ืนที่และสอดคล้อง กับศักยภาพของผู้ประกอบการในพื้นที่ รวมทั้งการสร้างความเช่ือมโยง กับธุรกิจท่ีอยู่ในพื้นที่ชายแดนของประเทศเพื่อนบ้านด้วย เพอ่ื สร้างความร่วมมอื ด้านการผลติ และการตลาด โดยมเี ปา้ หมายเพื่อให้เกิดผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจร่วมกนั อยา่ งเป็นรปู ธรรม (2) พัฒนาพ้นื ทีร่ ะเบียงเขตเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก เพ่ือให้เป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมอนาคต มุ่งเน้นการส่งเสริมการลงทุนเพื่อเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมท่ีใช้เทคโนโลยีข้ันสูง โดยเฉพาะเทคโนโลยีสะอาดท่ีลดการใช้พลังงาน และไม่เกิดผลกระทบทางลบต่อส่ิงแวดล้อมและชุมชน ควบคู่กับการพัฒนา โครงสร้างพ้ืนฐาน โดยเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรน้า บริการสาธารณสุขและการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและเพียงพอ และท่ีสาคัญคือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับการต่อยอดไปสู่การ สร้างเทคโนโลยีแห่งอนาคตของประเทศ มีการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรและพลังงานร่วมกับชุมชนอย่างใกล้ชิด และการสนบั สนุนการขยายบทบาทของประเทศไทยใหเ้ ป็นประตูทางออกสู่เอเชยี ท่ีสาคญั (3) พฒั นาเมืองศูนยก์ ลางของภูมิภาคตา่ งๆ ในประเทศ Smart City โดยปฏริ ูประบบผงั เมืองของประเทศและผังเมืองในระดบั พน้ื ที่ทง้ั ระบบใหส้ ามารถตอบสนอง การเติบโตของเศรษฐกิจและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการ สร้างความเข้าใจร่วมกันของทุกภาคีที่เก่ียวข้อง โดยมุ่งส่งเสริมบทบาทของ องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ และประชาชนในพ้ืนท่ีในการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ท่ีมีการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาพัฒนาสภาพแวดล้อมในพื้นท่ีเมืองให้มี ความน่าอยู่ ปลอดภยั มจี ดั การสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม มีการจัดโครงสร้างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพทางเศรษฐกิจและโครงสร้างทางสังคมและประชากรในพื้นที่ โดยเฉพาะรองรับประชากรสูงอายุที่จะมีจานวนมากขึ้นในอนาคต อีกทั้ง ต้องมีการจัดการระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิด การเข้าถึงของประชาชนได้อย่างท่ัวถึงและลดต้นทุนของผู้ประกอบการในพื้นท่ี แ ล ะ ใ น ร ะ ย ะ ย า ว ต้ อ ง พั ฒ น า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ช่ื อ ม โ ย ง ก า ร บ ริ ก า ร ข อ ง ร ะ บ บ ข น ส่ ง และเครือข่ายของโครงสร้างพ้ืนฐานที่จาเป็นระหว่างเมืองศูนย์กลางท่ัวประเทศ เพ่อื ยกระดับคุณภาพชีวิตทดี่ ขี องประชาชนในพนื้ ทต่ี า่ งๆ
รา่ งยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 83 สว่ นที่ 3 2.4.4 การพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากเพอื่ สรา้ งระบบเศรษฐกจิ ชุมชนทอ้ งถน่ิ การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ให้สามารถพ่ึงตนเอง ช่วยเหลือ เอ้ือเฟื้อซึ่งกันและกัน มีคุณธรรม และเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีเอื้อให้เกิดการพัฒนาด้านอ่ืนๆ ในพื้นที่ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน จะนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้า สร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง ประชาชนมีความสุข และมีรายได้เพ่ิมข้ึ น โดยมปี ระเดน็ พัฒนาท่ีสาคญั ดงั นี้ (1) สร้างความร่วมมือและการรวมกลุ่มคลัสเตอร์ (Cluster) ทั้งระดับกลุ่มต่อกลุ่ม กลุ่มกับชุมชน ตาบล อาเภอ จังหวัด รวมถึงระหว่างกลุ่มกับหน่วยงานต่างๆ เพ่ือเชื่อมโยงเครือข่ายประเด็นต่างๆ ได้ เช่น เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เครือข่ายข้าว เครือข่ายประมงพื้นบ้าน เครือข่ายท่องเท่ียวโดยชุมชน เป็นต้น จะเป็นการสร้างพลังในการทางานร่วมกัน มีระบบการอยู่ร่วมกัน หรอื เคารพกติกา และความสามารถท่ีจะเจรจาตอ่ รองอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (2) ส่งเสริมการจัดการระบบการเงินของชุมชน การบูรณาการทุนร่วมกัน มีกองทุนของชุมชนท่ีเข้มแข็ง สามารถเป็นกลไก การเงินของชมุ ชนในการพัฒนาท้งั เศรษฐกจิ สงั คม อาชีพ วฒั นธรรม สง่ิ แวดล้อมของชมุ ชน และของคนในชุมชน (3) พัฒนาระบบข้อมูลท่ีทันสมัยรอบด้านท้ังภายในและ ภายนอก เพ่ือการวิเคราะห์ระบบของท้องถิ่น อาชีพ รายได้ รายจ่าย การผลิต ฐานเศรษฐกิจ ที่ดิน ความเป็นอยู่ของคนใน ชุมชน ข้อมูลความรู้ระบบเศรษฐกิจเก่ียวข้องภายนอก เปน็ ฐานสาคัญในการวางแผนชมุ ชน การวางแผนเพ่ือการตดั สนิ ใจ การติดตาม วัดผลและรายงานผล (4) พัฒนาระบบการผลิตของชุมชนท้ังข้ันพ้ืนฐานและก้าวหน้าที่ได้มาตรฐาน มีมูลค่าเพ่ิมและสามารถเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจ ภายนอกได้
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง ศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 3.1 การปรบั เปลย่ี นค่านยิ มและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพ่ือสร้างคนไทยทม่ี ีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย 3.2 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ 3.3 การปฏริ ปู การเรียนรแู้ บบพลิกโฉม (Transformation of Learning) 3.4 การพัฒนาและรกั ษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ (Talents) 3.5 การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสุขภาวะที่ดี 3.6 การสรา้ งความอยู่ดมี ีสุขของครอบครัวไทย
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ การวางรากฐานการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์เปน็ ปจั จยั สาคญั ในการนาพาประเทศไปสู่การเป็น ประเทศพัฒนาแล้วซึ่งเป็นเป้าหมายในอีก 20 ปี ข้างหน้า โดย คนไทยในอนาคต ต้ อ ง เ ป็ น ม นุ ษ ย์ ท่ี ส ม บู ร ณ์ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ทั้ ง ก า ย ใ จ ส ติ ปั ญ ญ า สามารถเรียนรู้ ได้ตลอดชีวิต มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 สู่การเป็นคนไทย ที่มที ักษะสูง เป็นนวตั กรรม นักคดิ และผู้ประกอบการ บนฐานของการรู้คุณค่า ความเป็นไทย มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย ความรับผิดชอบต่อสังคม และมีสุขภาวะท่ดี ี ซ่ึงการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวจาเป็นต้องมีแนวทางการพัฒนาเพ่ือรองรับบริบททา ง เศ รษ ฐ กิจ และ สั งค ม ที่เ ป ลี่ย น แป ล งไป โด ย ต้อ งมุ่ ง เน้ น กา ร พัฒ น าศั ก ยภา พค น ตล อ ดช่ ว ง ชีวิต ควบคู่กับการปฏิรูปท่ีสาคัญท้ังในส่วนของการปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม เพ่ือให้ คนมีความดีอยู่ใน ‘วิถี’ การดาเนินชีวิตและมีจิตสานึกร่วมในการสร้างสังคมที่น่าอยู่ และมีการปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ในทุกระดับต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการ เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา และการพฒั นาระบบการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น ใหส้ ามารถกากบั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเน่ืองแม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว รวมถึงพัฒนา ส่งเสริม และรักษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษของประเทศให้มีจานวนเพียงพอ ท่ีจะผลักดันการเติบโตบนฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรมและ การปฏิรูป ระบบเสริมสร้างความ รอบรู้และจิตสานึกทางสุขภาพ เพื่อให้คนไทยมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดีได้ด้วยตนเอง พ ร้ อ ม กั บ ก า ร ส ร้ า ง ค ร อ บ ค รั ว ท่ี เ ข้ ม แ ข็ ง อ บ อุ่ น ซ่ึ ง เ ป็ น ก า ร ว า ง ร า ก ฐ า น ก า ร ส่ ง ต่ อ เด็กที่มีคุณภาพสู่การพัฒนาในช่วงอายุถัดไป โดยการส่งเสริม การเกิดท่ีมีคุณภ าพ การสร้าง ครอบครัวที่เหมาะสมกับคนรุ่นใหม่ การพัฒนาสภาพแวดล้อม ท่ีเอื้อต่อการ สร้างครอบครัวอบอนุ่ เข้มแข็ง
ร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 86 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ส่วนที่ 3 การดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย การเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมุนษย์ โดยมีแนวทางและประเด็นพัฒนาท่ีสาคัญ ดังนี้ คนไทยเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความ 20 ปี พรอ้ มทางกาย ใจ และสติปญั ญา มี ทั ก ษ ะ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 10 ปี คนมพี ื้นฐานหลกั ท่ีสมบรู ณ์ ของทกั ษะในศตวรรษที่ 21 มีสมรรถนะของการเป็นแรงงาน & Digital Literacy & ทักษะสูง (Sophisticated worker) ทกั ษะการเขยี นโปรแกรม นวัตกรรม (Innovator) นักคิด มี IQ-EQ-MQ ทไ่ี ด้ (Thinker) แ ล ะ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร มาตรฐาน (Entreprenuer) สามารถเรียนรตู้ ลอดชีวิต เกิดและเลยี้ งดมู คี ณุ ภาพ ภายใน คณุ สมบัตพิ ้ืนฐานคนไทย 5 ปี และ มีวินัย ต่นื ร/ู้ เรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตวั เอง ทา จติ สาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวม ตอ่ เนื่อง สุขภาพกายใจดี คนมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ความร้แู ละทกั ษะ ทักษะหลากหลาย คดิ วเิ คราะห์แยกแยะ ทักษะการคิดเชงิ บรหิ ารและทางสังคมดี (STEAM สมบูรณ์แบบ) พูดได้ อยา่ งน้อย 2 ภาษา จัดการดจิ ิทัลเป็น
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 87 สว่ นที่ 3 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์
รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 88 สว่ นที่ 3 3.1 การปรบั เปลี่ยนค่านยิ มและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) มงุ่ เนน้ ใหส้ ถาบนั ทางสงั คมรว่ มปลกู ฝงั คา่ นยิ มวฒั นธรรมทพ่ี งึ ประสงค์ โดยบรู ณาการรว่ มระหวา่ ง “ครอบครัว ศาสนา การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ การศึกษา และส่อื ” ในการหลอ่ หลอมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม ในลกั ษณะทีเ่ ปน็ ‘วิถี’ การดาเนนิ ชีวิต ดังนี้ ทรัพยากรมนุษย์ 3.1.1 การปลกู ฝังคา่ นยิ มและวัฒนธรรมผ่านการเลี้ยง ดูในครอบครัว โดยส่งเสริมให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ดาเนินชีวิตโดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมที่ช่วย เสรมิ สร้างคุณลักษณะดังกล่าว รวมท้ังการพัฒนาพ่อแม่ ให้เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีในการดาเนินชวี ติ 3.1.2 การบูรณาการเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม 3.1.4 การปลกู ฝงั คา่ นิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็น ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา โดยให้ ฐาน โดยการพัฒนาผู้นาชุมชนให้เป็นต้นแบบของการมี สถานศึกษาสอดแทรกการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม คุณธรรมจริยธรรม การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนในการ และการมี จิตสาธารณะเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุก จัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ การจัดระเบียบสังคม รวมถึง กิจกรรม รวมท้ังปรับสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก การลงโทษผลู้ ะเมดิ บรรทัดฐานทด่ี ีทางสงั คม สถานศึกษาให้เอ้ือต่อการมีคุณธรรม จริยธรรม และ จติ สาธารณะ 3.1.5 การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีพึงประสงค์จาก ภาคธุรกิจ โดยกระตุ้นให้ภาคธุรกิจมีการบริหารจัดการ 3.1.3 การสร้างความเขม้ แข็งในสถาบันทางศาสนา เพ่ือ อย่างมีธรรมาภิบาล พัฒนาสร้างความรู้สึกรับผิดชอบ เผยแผ่หลักคาสอนที่ดีงามให้แก่ประชาชน โดยพัฒนา ต่อสังคมของคนทุกคนในบริษัทท้ังพนักงานและลูกค้า ผู้เผยแผ่ศาสนาให้ประพฤติปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างตาม ปรับเปล่ียนทัศนคติการคานวณผลตอบแทนให้คานึงถึง คาสอนท่ีถูกต้องของแต่ละศาสนา รวมท้ังมีการเผยแผ่ ต้นทุนทางสังคม ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพ่ือตอบแทน หลักธรรมคาสอนทางศาสนาที่สอดคล้องกับการดาเนิน สังคม รวมท้ังกระตุ้นให้เกิดการประกอบธุรกิจเพ่ือสังคม ชีวิตทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย และสามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ เช่น วิสาหกิจเพือ่ สงั คม เปน็ ต้น 3.1.6 การใช้สอื่ และส่ือสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยม และวัฒนธรรมของคนในสังคม โดยส่งเสริมให้สื่อและ ส่ือสารมวลชนปฏิบัติตามจรรยาบรรณสื่ออย่างเคร่งครัด การจัดเวลาและพื้นที่ออกอากาศให้แก่สื่อสร้างสรรค์ ในช่วงเวลาท่ีมีผู้ชมมากที่สุด รวมท้ังการส่งเสริมการใช้ส่ือ ออนไลน์และเครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ นาเสนอตัวอย่างของการมีคุณธรรม จริยธรรม และการมี จิตสาธารณะ เพื่อปลูก ฝังคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์
ร่างยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 89 ส่วนท่ี 3 3.2 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงการต้ังครรภ์ วัยเรียน วัยรุ่น/นักศึกษา วัยแรงงาน และ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ วัยผ้สู งู อายุ เพ่ือสร้างทรพั ยากรมนษุ ย์ทีม่ ีศักยภาพ มที กั ษะความรู้ และความสามารถในการดารงชวี ติ อย่างมีคณุ ค่า ทรัพยากรมนุษย์ ดงั น้ี 3.2.1 ช่วงการตั้งครรภ์ / แรกเกิด / ปฐมวัย เน้นการ 3.2.4 ชว่ งวยั แรงงาน ยกระดบั ศักยภาพ ทักษะ และสมรรถนะ เตรยี มความพร้อมใหแ้ กพ่ อ่ แมก่ อ่ นการต้ังครรภ์ ส่งเสริมอนามัย แรงงานอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับความต้องการของ แม่และเด็กต้ังแต่เริ่มต้ังครรภ์ ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ ตลาดแรงงาน มีการทางานตามหลักการทางานที่มีคุณค่าเพ่ือ สนับสนุนการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ การส่งเสริมการให้สารอาหาร สร้างผลิตภาพเพ่ิมให้กับประเทศ มีวัฒนธรรมการทางานท่ีพึง ท่ีจาเป็นต่อสมองเด็ก และให้มีการลงทุนเพ่ือการพัฒนาเด็ก ประสงค์ มีความรู้ความเข้าใจทางการเงินเพื่อให้สามารถ ปฐมวัยใหม้ พี ฒั นาการทส่ี มวัยในทุกด้าน บริหารจดั การการเงนิ ของตนเองและครอบครัว 3.2.2 ช่วงวัยเรียน พัฒนาทักษะความสามารถการเรียนรู้ที่ 3.2.5 ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลังในการ สอดรับกับทักษะในศตรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะด้านการคิด ขับเคลอื่ นประเทศ ผ่านการเสริมทักษะการดารงชีวติ ทักษะอาชีพ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีซับซ้อน ในการหารายได้ มีงานทาท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ มีการสร้าง ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อ่ืน เสริมสุขภาพ ฟ้ืนฟูสุขภาพ การป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงอายุ ความยืดหยุ่นทางความคิด รวมถึงทักษะด้านภาษา ศิลปะ พร้อมกับจัด สภา พแวด ล้อมให้เป็ นมิตรกับผู้สู งอา ยุ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และหลักประกันทางสังคมที่สอดคล้องกับความจาเป็นพ้ืนฐานใน การดารงชวี ิต 3.2.3 ช่วงวัยรุ่น / นักศึกษา เน้นการพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ท่ีเชื่อมต่อกับโลกการทางาน รวมถึงทักษะอาชีพท่ี 2560 - 2579 สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประเทศ มีทักษะชีวิต สามารถ อยูร่ ่วมและทางานกบั ผูอ้ ่นื ไดภ้ ายใต้สงั คมทีเ่ ปน็ พหุวฒั นธรรม
รา่ งยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 90 ส่วนท่ี 3 3.3 การปฏริ ูปการเรยี นรูแ้ บบพลกิ โฉม (Transformation of Learning) โดยการพัฒนาระบบการเรยี นรู้ทต่ี อบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 ท่ีม่งุ เนน้ ผู้เรยี นให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝเ่ รียนรู้ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ตลอดเวลา มกี ารออกแบบระบบการเรยี นรใู้ หม่ การเปลย่ี นบทบาทครู การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา และการพฒั นาระบบ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ดงั น้ี 3.3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนา 3 . 3 . 3 ก า ร เ พ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยออกแบบกระบวนการเรียนรู้ จัดการศึกษาในทุกระดับ โดยจัดโครงสร้างการจัดการ ในทกุ ระดบั ชั้นอย่างเป็นระบบ ต้ังแต่ระดบั ปฐมวยั จนถึงอุดมศึกษา การศึกษาเพ่ือสร้างความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์และให้เอ้ือต่อ ท่ีมุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้และระบบคิดใน 5 ศาสตร์สาคัญ การเข้าถึงการศึกษาอย่างเสมอภาคและทั่วถึง การยกระดับ ประกอบด้วย Science (ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการตั้ง สถาบันการศึกษาในสาขาท่ีมีความเชี่ยวชาญสู่ความเป็นเลิศ คาถาม) Technology (ความเข้าใจและความสามารถในการใช้ ปฏิรูปการคลังด้านการศึกษาเพ่ือเพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพ เทคโนโลยี) Engineering (ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และการ การจัดการศึกษาโดยการจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน คิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหา) Art (ความรู้และทักษะทางศิลปะ) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา และ Mathematics (ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของ พัฒนาระบบการประเมินและการรับรองคุณภาพที่เน้นผลลัพธ์ เหตุผลและการหาความสัมพันธ์) การพัฒนาระบบการเรียนรู้ ท่ีตัวผู้เรียน รวมทั้งมีการปฏิรูประบบการสอบท่ีนาไปสู่การ เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมือปฏิบัติ มีการสะท้อนความคิด/ วัดผลในเชิงทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 มากกว่าการ ทบทวนไตร่ตรอง (Reflection) มีการใช้และพัฒนาเทคโนโลยี วัดระดับความรู้ ตลอดจนมกี ารวจิ ัยและใชเ้ ทคโนโลยใี นการสร้าง ผสมผสานในการเรียน ตลอดจนสร้างผู้เรียนให้สามารกากับ การจดั การความรใู้ นการจดั การเรียนการสอน การเรียนรขู้ องตนได้ (Self-directed learners) 3.3.2 การเปล่ียนโฉมบทบาท ‘ครู’ให้เป็นครูยุคใหม่ 3.3.4 การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเน้นการ โด ยปรั บบทบา ทจ า ก ‘ครู ส อ น ’ เ ป็ น ‘ครู ฝึ ก ’ ห รื อ จัดระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะท่ีมี ‘ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้’ ทาหน้าที่กระตุ้น แนะนาวิธี คุณภาพสูงและยืดหยุ่นผ่านการพัฒนากลไกต่าง ๆ เรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรมให้ อาทิการพัฒนาการศึกษาออนไลน์แบบเปิด การพัฒนาระบบ เดก็ เรียน และมีบทบาทเป็นนกั วจิ ยั พัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อ การเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการรู้ดิจิทัล การมีระบบเทียบโอน ผลสัมฤทธิ์ของเด็ก รวมท้ังปรับระบบการผลิตและพัฒนาครู ประสบการณ์ ระบบธนาคารหน่วยกิต ( Credit Bank) ต้ังแต่การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครู กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มาตรการจูงใจให้คนเข้าสู่การ คุณภาพ มีระบการพัฒนาศักยภาพครูอย่างต่อเนื่อง Upskill/Reskill การใหส้ ถานประกอบการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน ครอบคลุมทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อ ผ่านการพัฒนาความสามารถทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง การสอน และสรา้ งเครอื ขา่ ยพฒั นาครใู หม้ กี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ (Continuous Professional Development: CPD) นอกจากนี้ ระหว่างกัน ต้องพัฒนาระบบการเรียนรู้ในชุมชนให้เข้าถึงความรู้ได้ทุกท่ี ทุกเวลาการปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิง สร้างสรรคแ์ ละมชี วิ ิต
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 91 สว่ นที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 3.4 การพฒั นาและรกั ษากลมุ่ ผ้มู คี วามสามารถพิเศษ (Talents) โดยการพฒั นาและส่งเสริมกลุม่ ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษของประเทศอยา่ งเป็นระบบ การสร้างสภาพแวดล้อมและระบบสนับสนุนให้เอ้ือต่อ กลมุ่ ผูม้ ีความสามารถพเิ ศษในการสร้างสรรค์งานบนฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดงั น้ี 3.4.1 การพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษด้าน 3.4.2 การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึง และระบบสนับสนุน (eco-systems) ที่เหมาะสมสาหรับผู้มี ระดับอุดมศึกษา ครอบคลุมเรื่องกลไกในการคัดกรองและการ ความสามารถพิเศษ ผ่านกลไกต่าง ๆ อาทิ การจัดให้มี ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษอย่างถูกต้อง การจัดให้มี โครงสร้างพ้ืนฐาน/เคร่ืองมือการทางานที่เหมาะสม การสร้าง โรงเรียนรองรบั สาหรับผ้มู ีความสามารถพิเศษ การสร้างความ ระบบเช่ือมโยงเครือข่ายวิจัยกับศูนย์ความเป็นเลิศท่ีมีอยู่ใน ร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ ในการพัฒนาผู้มีความสามารถ ปัจจุบันในรูปแบบของ consortium การมีกลไกการทางานใน พิเศษอย่างเหมาะสม ตลอดจนจัดทาฐานข้อมูลกลุ่มผู้มี ลั ก ษ ณ ะก า ร ร วม ตั ว ข อ ง ก ลุ่ มค น ใ น ห ล า ย ส า ข า วิ ช า ความสามารถพิเศษทั้งในและต่างประเทศ (Convergence) เพื่อรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยีช้ันแนวหน้าให้ สามารถต่อยอดงานวิจัยท่ีสามารถตอบโจทย์การพฒั นาประเทศ 3.4.3 การการดงึ ดดู กลุ่มผู้เช่ียวชาญต่างชาติและคนไทยที่ การสรา้ งความรว่ มมือและเชอื่ มตอ่ กบั สถาบันวิจัยอ่ืน ๆ ท่ัวโลก มีความสามารถสูงในต่างประเทศ เพือ่ ให้กลับมาชว่ ยสร้างและ เพ่ือสร้างความเขม้ แข็งให้นักวจิ ัยความสามารถสูงของไทย พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ ท้ังในรูปแบบการ ทางานชั่วคราวและถาวรตามความเหมาะสมของเป้าหมายการ พัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาตา่ ง ๆ 7.2
รา่ งยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 92 ส่วนที่ 3 3.5 การเสริมสรา้ งใหค้ นไทยมีสุขภาวะที่ดี มุ่งเน้นการเสริมสร้างการจัดการสุขภาวะในทุกรูปแบบ ที่นาไปสู่การมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะท่ีดีได้ด้วยตนเอง พร้อมทั้ง การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ สนบั สนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสรา้ งเสรมิ ใหค้ นไทยมสี ุขภาวะที่ดี และมี “ทกั ษะดา้ นสขุ ภาวะ” ท่ีเหมาะสม ดังน้ี ทรัพยากรมนุษย์ 3.5.1 การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 3.5.4 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุน โดยพัฒนาองค์ความรู้และการสื่อสารด้านสุขภาพที่ถูกต้องและ การสร้างสุขภาวะที่ดี โดยนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ เชอ่ื ถอื ไดใ้ ห้แกป่ ระชาชน พร้อมท้ังเฝ้าระวังและจัดการกบั ความรู้ทาง มาใช้ในการสร้างความเลิศทางด้านบริการทางการแพทย์และ สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง จนเกิดเป็น “ทักษะทางปัญญาและสังคม” สุขภาพแบบครบวงจรและทันสมัย ที่รวมไปถึงการพัฒนา ที่เป็นการเพ่ิมศักยภาพในการจัดการสุขภาวะตนเองของประชาชน ปัญญาประดิษฐ์ (Artiifcial Intelligence) ในการให้คาปรึกษา อาทิ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองให้มี วินิจฉัย และพยากรณ์การเกิดโรคล่วงหน้า การพัฒนาระบบ ความเหมาะสม และการมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอในการ การดูแลสุขภาพทางไกลให้มีความหลากหลาย เข้าถึงง่าย ดารงชวี ติ เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาบุคลากรทางการแพทย์ท่ีมีความ เช่ียวชาญในพ้ืนที่ห่างไกล มีการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์เข้ากับ 3.5.2 การป้องกันและควบคุมปัจจัยเส่ียงท่ีคุกคามสุขภาพ โดย อินเทอร์เน็ต (Internet of Things) ทางด้านสุขภาพ อาทิ การ ผลักดันการสร้างเสริมสุขภาพในทุกนโยบาย (Health in All พัฒนาอุปกรณอ์ จั ฉริยะ (Smart devices) ในการวดั อัตราการ Policies) ที่ให้หน่วยงานทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ เต้นชีพจรหัวใจและส่งข้อมูลให้แพทย์ทราบทันที และจัดให้มีระบบ ต่อสขุ ภาพของประชาชน เพื่อลดภัยคุกคามที่เป็นอุปสรรคต่อการ การเก็บข้อมูลสุขภาพของประชาชนตลอดช่วงชีวิตให้มี พัฒนาสุขภาวะคนไทย เช่น ยาสูบ เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ มลพิษ ประสทิ ธภิ าพ โดยอยู่บนพ้นื ฐานความย่งั ยนื ทางการคลัง ทางส่ิงแวดล้อม อาหารท่ีให้โทษต่อสุขภาพ และอุบัติเหตุ บนท้องถนน เปน็ ตน้ 3.5.5 การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะดีใน ทุกพื้นท่ี โดยให้ชุมชนเป็นแหล่งบ่มเพาะจิตสานึกการมีสุขภาพดี 3.5.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาวะท่ีดี ของประชาชน ผ่านการจัดการความรู้ ( Knowledge โดยส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีเป็นมิตรต่อ Management) ดา้ นสุขภาพทีเ่ ป็นประโยชน์และสนับสนุนให้มีการ สุขภาพและเอือ้ ตอ่ การมีกิจกรรมสาหรับยกระดับสุขภาวะของสังคม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างสุขภาวะที่พึงประสงค์ระหว่างกัน จัดทามาตรการทางการเงินการคลังที่สนับสนุนสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อ โดยรัฐจะทาหน้าที่เป็นผู้กากับ (Facilitator) ที่สาคัญในการ สุขภาพ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ช่วย อานวยความสะดวกให้ชุมชนสามารถสร้างการมีสุขภาวะดีของ ในการเสริมการมีสุขภาวะ รวมท้ังกาหนดให้มีการประเมินผลกระทบ ตนเองได้ เช่น ให้ความรู้ สนับสนุนทรัพยากรที่จาเป็นในการ ด้านสุขภาพโดยชุมชนและภาคประชาชนก่อนการดาเนินโครงการ จัดการสุขภาวะแก่ประชาชนในพ้ืนที่ เป็นต้น เพ่ือให้ชุมชนเป็น ท่อี าจกระทบต่อระดับสขุ ภาวะ พน้ื ทสี่ าคัญในการจดั การสุขภาวะของแต่ละพืน้ ที่
รา่ งยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 93 ส่วนที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 3.6 การสร้างความอยดู่ ีมีสขุ ของครอบครัวไทย ม่งุ เนน้ การสร้างความรูใ้ นการวางแผนชีวติ และการสรา้ งครอบครัว การพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ตอ่ การพฒั นาครอบครัว ดงั น้ี 3.6.1 การส่งเสริมการเกิดท่ีมีคุณภาพ โดยการสร้าง 3 . 6 . 2 ก า ร ส ร้ า ง ค ร อ บ ค รั ว ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ ค น รุ่ น ใ ห ม่ บุตรที่มีคุณภาพ มุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับ โดยส่งเสรมิ ความรใู้ นการวางแผนชวี ติ ที่เหมาะสมกบั ค่านิยมของ กลุ่มคนก่อนก้าวมาเป็นพ่อแม่ ตั้งแต่การพัฒนาการเข้าถึง คนรุ่นใหม่ ม่งุ เนน้ การใหค้ วามรผู้ ทู้ ่จี ะมาเป็นพ่อแม่/ผู้ปกครอง บริการสขุ ภาพ การส่งเสริมวางแผนครอบครัว การตรวจเช็ค ในเรื่องโภชนาการ วิธีการเลี้ยงดู วิธีการสื่อสาร และการจัด ความพร้อมในการสร้างครอบครัว การส่งเสริมอนามัยการ กิจกรรม ที่เหมาะสม บนฐานความรู้ทางวิชาการต้ังแต่ช่วง เจรญิ พนั ธุใ์ นกลมุ่ แมแ่ ละเด็ก รวมถึงการสนับสนุนกลุ่มผู้มีบุตร ตั้งครรภ์และถึงช่วงอายุต่าง ๆ ของการเลี้ยงดูบุตร รวมถึง ยากซ่ึงส่วนใหญ่เป็นกลุ่มท่ีมีความพร้อมให้สามารถมีบุตรได้ ขยายผลไปสู่การพัฒนากลไกในลักษณะของโรงเรียนพ่อแม่ เพื่อสง่ เสริมการเกิดท่ีมีคุณภาพในกลุ่มประชากรวัยเจริญพันธ์ุ ในวงกวา้ ง เพอ่ื มีส่วนชว่ ยในการสร้างพัฒนาการ วางพื้นฐาน ทุกกลมุ่ ความคิด ทักษะอารมณ์ ทกั ษะสังคม และพฒั นาความเปน็ คนดี 3.6.3 การพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการสร้าง ครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็ง โดยเน้นการส่งเสริมนโยบายการ สร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทางาน การสนับสนุน บทบาทของชุมชน/องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการเข้ามา เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว โดยเฉพาะกลุ่ม ครอบครัวเปราะบาง อาทิ การมีระบบพี่เลี้ยงชุมชน มาตรการ สนบั สนนุ การบริบาลและพัฒนาเด็ก นอกจากน้ี ควรปฏิรูปส่ือ ให้มีบทบาทในเชิงสร้างสรรค์ในการให้ความรู้ต่อการพัฒนา ครอบครัว เช่น การวางแผนชีวิต การป้องกันการท้อง ไม่พร้อม การเล้ียงดู การลดความรุนแรงในครอบครัว บทบาทของสมาชิกในครอบครัว เป็นตน้
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม 4.1 การสรา้ งความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมทง้ั ความมั่นคงในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของคนทุกลุ่มในสงั คม 4.2 การสรา้ งโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางสงั คมอย่างทั่วถงึ 4.3 การเสริมสรา้ งพลงั ทางสังคม 4.4 การสรา้ งความสมานฉันท์ในสังคม
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม การท่ีประเทศไทยจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศไทยจะต้องเป็นประเทศที่ทุกคน มีโอกาสและความเสมอภาคในทุกด้าน หรือการเป็น “สังคมแห่งโอกาส” ทั้งในมิติของการเข้าถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทรัพยากร กระบวนการยุติธรรม และบริการสาธารณะ ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีจะเป็น หลักประกันทางสังคมที่ลดความเสี่ยงของบุคคลท่ีจะตกลงสู่ภาวะความยากจน โดยเฉพาะกลุ่ม ประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าท่ีสุดและผู้ด้อยโอกาสท่ีต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพและ โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการดังกล่าว อันจะส่งผลให้ทุกคนสามารถพัฒนาศักยภาพ ของตนเองและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศภายใต้ศักยภาพสูงสุดท่ีตนเองมี รวมถึงการสร้าง สังคมท่ีเอื้อต่อการปรับเปลี่ยนสถานะของผู้คนในสังคมผ่านการสร้างสังคมแห่งโอกาสควบคู่ไปกับ การสร้างสมรรถนะทางสังคม ส่ิงสาคัญท่ีจะก่อให้เกิดสังค มแห่งโอก าสจาเป็นต้องมีก ารปรับโค รงสร้างทางสังค ม เพื่อยกระดับ คุณภาพสังคมในทุกๆด้านไปพร้อมกันโดยไม่ทอดท้ิงใครไว้เบื้องหลัง ประกอบด้วย การสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้กับคนทุกกลุ่มในสังคม ซ่ึงเป็นความจาเป็น ข้ั น พื้ น ฐ า น ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล ใ ห้ ไ ด้ รั บ ก า ร ต อ บ ส น อ ง โ ด ย ก า ร มี ห ลั ก ป ร ะ กั น ท า ง สั ง ค ม ที่จาเป็นในการดารงชีวิตอย่างพอเพียง กลุ่มผู้มีรายได้น้อยและผู้ด้อยโอกาส ได้รับโอกาส ในการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งการเข้าถึงบริการสาธารณะของกลุ่มผู้พิการ และมีการกระจาย ทรัพยาก รให้ทุกค น สาม ารถ เข้าถึงอย่างเป็น ธรรม ควบ คู่กับ ก าร สร้างโอกาสท่ีเ ป็นธรรม โ ด ย ไ ม่ แ บ่ ง แ ย ก แ ล ะ ค า นึ ง ถึ ง ห ลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น แ ล ะ ศั ก ด์ิ ศ รี ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม ใ น ฐ า น ะ ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม ท่ีทุกคนสามารถเข้าถึงและเป็นส่วนหนึ่งของสถาบัน และความสัมพันธ์ ทางสังคมต่างๆ ที่เก่ียวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างโอกาส การเข้าถึงบริการทางสังคม อย่างทั่วถึง และมีการบังคับใช้ กฎหมายกับทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ต้ อ ง มี ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง พ ลั ง ท า ง สั ง ค ม ท่ีเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ และเปิดช่องทางให้มีการใช้และพัฒนาศักยภาพดังกล่าวอย่างเต็มประสิทธิภาพ ขณะที่ โครงสร้างเชิงสถาบันของรัฐต้องเปิดกว้างและสนับสนุนการมีบทบาทของประชาชนและชุมชน โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร ส ร้ า ง ศั ก ย ภ า พ ใ ห้ ชุ ม ช น ส า ม า ร ถ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง การส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและการมีบทบาทที่สาคัญ ในสังคม รวมถึงส่งเสริมความเสมอภาคทางสิทธิข้ันพื้นฐานในการ ดารงชีวิต เสริม สร้างให้ป ระชาชน มี ภู มิ คุ้ ม กั น ต่ อ ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง สั ง ค ม ร ว ม ถึ ง ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น อั น ห น่ึ ง อั น เ ดี ย ว กั น ข อ ง สั ง ค ม ที่สังคมยอมรับความแตกต่างและเคารพซึ่งกันและกัน มี ค ว า ม ไ ว้ เ นื้ อ เ ชื่ อ ใ จ กั น มีค่า นิยม ร่ว ม กัน แ ละส าม ารถ ก่อ ให้เ กิด เป็น เค รือข่ าย สังค ม โดยการสร้างความเสมอภาค ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การส่งเสริมค่านิยม ความเสมอภาค ระหว่างกลุ่มคนในสังคม
เป้าหมายเพอื่ ลดความเหลอื่ มลา้ .... รา่ งยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 96 การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมในสังคม ส่วนที่ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค ต้ังอยู่บนหลักการและพ้ืนฐานสาคัญคือการสร้างสังคม และเ ่ทาเ ีทยม ักนทางสังคม คุณภาพสังคมในทุกๆ ด้านไปพร้อมกัน โดยไม่ทอดทิ้งใครไว้ ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม จ า เ ป็ น ขั้ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล ใ ห้ ไ ด้ รั บ เบ้อื งหลงั ประกอบด้วย การสรา้ งความมน่ั คงทางเศรษฐกิจและ การตอบสนอง โดยการจัดระบบสวัสดิการทางสังคมในรูปแบบ สังคม (Socio-economic Security) ต่างๆ ควบคู่กับการสร้างโอกาสที่เป็นธรรมโดยไม่แบ่งแยก (Social Inclusion) โดยเฉพาะการส่งเสริมความเสมอภาคและ ความเปน็ ธรรมในฐานะของสมาชิกในสังคมท่ีทุกคนสามารถเข้าถึง และเป็นส่วนหน่ึงของสถาบันและความสัมพันธ์ทางสังคมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง นอกจากนี้ยังต้องมีการเสริมสร้างพลังทางสังคม (Social Empowerment) ที่เ ป็นการเส ริ มส ร้า ง ศักยภ า พ ทรัพยากรมนุษย์ และเปิดช่องทางให้มีการใช้และพัฒนาศักยภาพ ดังกลา่ วอย่างเตม็ ประสิทธิภาพ ขณะทโี่ ครงสร้างเชิงสถาบันของ รัฐต้องเปิดกว้างและสนับสนุนการมีบทบาทของประชาชนและ ชุมชน รวมถงึ การสร้างความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันของสังคม (Social Cohesion) ที่สังคมยอมรับความแตกต่างและเคารพ ซ่ึงกนั และกัน มคี วามไวเ้ น้ือเชอ่ื ใจกัน มีค่านิยมรว่ มกนั และสามารถ ก่อให้เกิดเป็นเครือข่ายสังคม โดยมีแนวทางและประเด็นพัฒนา ทีส่ าคัญ ดังน้ี เพมิ่ โอกาสการเข้าถึงบรกิ ารท่ีมี โอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพ พฒั นาระบบหลักประกนั ทางสงั คม คณุ ภาพของรฐั ของรฐั ครอบคลุมท่ัวถงึ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ยกระดับรายได้ผา่ นการส่งเสริมทกั ษะ ส่งเสรมิ บทบาทชมุ ชนในการใหค้ วาม ปฏิรูปกระบวนการยุตธิ รรมทั้งระบบ การเขา้ ถึงข่าวสาร/เงินทุน คมุ้ ครองทางสงั คมที่เหมาะสมแต่ละ ให้มีความเป็นธรรมกับทกุ คนและ ชุมชน สงั คม ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบยี บใหเ้ กิด การแข่งขนั ทเี่ ป็นธรรม พฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบ มนี โยบายภาษีเพอ่ื ปฏิรปู การถอื ขนส่งทเี่ หมาะสมกบั คนทกุ กลุม่ ครองทรัพยส์ ิน ทบทวนระบบและอตั ราภาษใี นปจั จบุ ัน ประกาศใช้มาตรภาษีทชี่ ว่ ยกระจาย รายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น สง่ เสรมิ กระบวนการยตุ ธิ รรม ทางเลือก
ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 97 ส่วนท่ี 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเ ่ทาเ ีทยม ักนทางสังคม ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม
ร่างยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 2560 - 2579 98 ส่วนที่ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเ ่ทาเ ีทยม ักนทางสังคม 4.1 การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกจิ และสังคมใหค้ นทกุ กลุ่มในสังคม โดยการมหี ลักประกนั ทางสังคมท่ีจาเปน็ ในการดารงชีวิตอยา่ งพอเพยี ง กล่มุ ผมู้ รี ายไดน้ ้อยและผู้ดอ้ ยโอกาสไดร้ บั โอกาสในการพัฒนา ศกั ยภาพ และมกี ารกระจายทรัพยากรให้ทุกคนสามารถเขา้ ถงึ อย่างเปน็ ธรรม ดังน้ี 4.1.1 สรา้ งหลกั ประกันทางสังคมท่คี รอบคลุมและเหมาะสม 4.1.3 กระจายการถือครองทรัพย์สินให้มีความเป็นธรรม กับคนทุกช่วงวัยและทุกกลุ่ม โดยพิจารณาให้ครอบคลุมสิทธิ เพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนทุกกลุ่ม โดยการปฏิรูป พื้นฐานท่ีประชาชนทุกคนพึงมีตามรัฐธรรมนูญ รวมถึงการให้ ระบบภาษีเพื่อสร้างความเสมอภาคและการกระจายทรัพยากร สิทธิตามระดับข้ันความจาเป็นของแต่ละบุคคลต้ังแต่การสร้าง เช่น การพิจารณาปรับรายการหักลดหย่อนภาษีเงินได้ ความมนั่ คงสาหรบั ตวั บคุ คลจนถึงการนาไปสู่ประสิทธิภาพของ นิตบิ คุ คล การขยายฐานภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา การปรับลด สังคมในภาพรวม อาทิ การขยายความคุ้มครองระบบ การลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาท่ีเอื้อประโยชน์ต่อ ประกันสังคม การพัฒนาระบบบริหารจัดการหลักประกัน ผู้มีรายได้สูง การปรับอัตราภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้าง สขุ ภาพ และการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพในทกุ ระดับ เปน็ ตน้ การจัดเก็บภาษีมรดก และขยายการจัดเก็บภาษีท่ีเกี่ยวข้องกับ การถือครองทรัพย์สิน เป็นต้น รวมท้ังการมีมาตรการ 4.1.2 เพ่ิมรายได้ให้กับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย (ประชากร สนับสนุนให้ประชาชนมีที่ดินทากินเป็นของตนเอง ซ่ึงจะช่วย ร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าที่สุด) และผู้ด้อยโอกาส โดยการ ยกระดบั ความมัน่ คงในการดารงชีวติ ของประชาชน สร้างศักยภาพของคนอย่างยั่งยืน ให้สามารถพ่ึงตนเองได้ และส่งเสริมการออมในทุกช่วงวัย เพ่ือความมั่นคงทางรายได้ ในสังคมสูงวัยและบรรเทาภาระทางการคลังของรัฐบาล 2560 - 2579 2540 2504
รา่ งยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี 2560 - 2579 99 ส่วนที่ 3 4.2 การสรา้ งโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสงั คมอยา่ งท่วั ถงึ โดยประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงบริการทางสังคมได้อย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม ครอบคลุมคนทุกกลุ่มในสังคมตามสิทธิ และกลุ่มคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาค ทแี่ ตกต่างกนั สามารถได้ประโยชน์จากบรกิ ารสาธารณะอยา่ งเสมอภาค ดังนี้ และเ ่ทาเ ีทยม ักนทางสังคม 4.2.1 กระจายบริการทางสังคมที่มีคุณภาพให้แก่ประชาชน 4.2.2 สร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมทางสังคมท่ีเอื้อต่อ ทุกกลุ่ม โดยพัฒนาคุณภาพการให้บริการทางสังคมให้มี การดารงชีวิตสาหรับทุกกลุ่มทุกวัย โดยพัฒนาโครงสร้าง คุณภาพในทุกพ้นื ท่แี ละทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการดังกล่าวได้ พื้นฐานและสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับประชาชนทุกกลุ่มทุกวัย อย่างทั่วถึง ผ่านการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสื่อสาร ตามหลักอารยสถาปัตย์ (Universal Design) เช่น ทางเดินเท้า ทางไกลมาปรับใช้ในการให้บริการ และใช้การบริหารจัดการ ระบบขนส่งสาธารณะ พื้นท่ีสาธารณะ ท่ีอยู่อาศัย เป็นต้น ทรัพยากรร่วมกันระหว่างหน่วยงานในเขตพื้นที่ รวมถึง การลงทุนก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนให้มีความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ให้ประชาชนในพ้ืนที่ชายขอบสามารถเข้าถึงข้อมูลและการส่ือสาร และภาคประชาสังคมในพ้ืนที่ร่วมกันจัดบริการทางสังคมให้แก่ ได้สะดวกและรวดเร็ว รวมท้ังสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและ ประชาชนในรูปแบบต่างๆ เช่น การส่งเสริมวิสาหกิจเพ่ือสังคม นวัตกรรมสาหรับการดาเนินชีวิตให้แก่กลุ่มคนที่มีความต้องการ (Social Enterprise) และการสร้างความร่วมมือท่ีเน้นผลลัพธ์ พิเศษ เช่น นวัตกรรมป้องกันการล้มในผู้สูงอายุ หุ่นยนต์ดูแล เพ่อื สังคม (Social Impact Partnership Model) เป็นต้น ผู้สู ง อ า ยุ กา รทด ส อ บภ า วะส มอ ง เ ส่ื อ มผ่า นอุ ปกร ณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ อปุ กรณก์ ายเทียมสาหรับผพู้ ิการ เปน็ ต้น 4.3 การเสริมสรา้ งพลังทางสงั คม โดยการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการพัฒนาและบริหารจัดการชุมชน และการพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้มีส่วนร่วม ในการพฒั นาสังคม ดังนี้ 4.3.1 สร้างศักยภาพให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการ การทางาน และการดารงชีวิตประจาวัน พร้อมท้ังสร้างโอกาส ทรัพยากรในพ้ืนที่ได้ด้วยตนเอง โดยการสร้างองค์ความรู้ ใหค้ นทุกกลุ่มสามารถมีส่วนร่วมในการแสดงออกทางความเห็น ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรและการสนับสนุนให้ชุมชน ที่เป็นประโยชน์ และมีความพร้อมในการตัดสินใจเพื่อการพัฒนา มีโอกาสในการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นท่ีของตนเองให้ ในระดับปจั เจกและระดับประเทศไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี ม เหมาะสมกับความต้องการ และบริบทของพื้นที่ โดยไม่เป็นการ ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ หรอื รุกล้าพ้นื ที่อืน่ ผ่านการจัดทา 4.3.3 เสริมสร้างให้ประชาชนมีภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบทาง โฉนดชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้วิสาหกิจของชุมชนสามารถ สังคม ผ่านการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในทักษะที่จาเป็น เข้าถึงตลาดเงิน ตลาดทุน และมีการเชื่อมต่อกับตลาดสินค้า ต่อการดารงชีวิต โดยเฉพาะการเพ่ิมโอกาสและช่องทาง และบริการตามกลุ่มประเภทของแต่ละวิสาหกิจ และสร้างเสริม ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ข่ า ว ส า ร เ พื่ อ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น มี ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร ความรอบรู้ทางการเงินให้แก่สมาชิกของชุมชนพร้อมท้ังจัดตั้ง ติดต่อส่ือสารท่ีท่ัวถึง ขณะเดียวกันมุ่งเน้นพัฒนาและเชื่อมโยง สถาบันการเงินชุมชนในการให้บริการทางการเงิน การกระจาย ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่างๆ เพื่อเสริมสร้างการพัฒนา ความรู้ทางการเงิน และการติดตามพฤติกรรมทางการเงิน เครือข่ายที่มีศักยภาพในการพัฒนาภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ อย่างต่อเนือ่ งใหแ้ ก่คนในชมุ ชน ประชาชน 4.3.2 ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและการมีบทบาทท่ี สาคัญในสงั คม รวมถงึ ส่งเสริมความเสมอภาคทางสิทธิข้ัน พื้นฐานในการดารงชีวิต โดยเน้นการสร้างการยอมรับใน เพศสภาพของกลุ่มคนต่างๆ ภายใต้การสร้างเจตคติที่ถูกต้อง บนพน้ื ฐานของการเรยี นรแู้ ละรบั รู้รว่ มกันในสงั คม การศกึ ษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124