วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 1เทคโนโลยี 5 G 1.1เทคโนโลยี 5 G ความเป็นมา การสอื สารไร้สายรุ่นใหมๆ่ มกั ปรากฏทกุ ๆ 10 ปีนบั จากครัง้ แรกท่ีระบบเครือขา่ ย 1G โดย Nordic Mobile Telephone ได้เป็นท่ีรู้จกั กนั ในปี 1981 ต่อมาระบบเครือขา่ ย 2G ก็ได้เริ่มถกู ใช้งานในปี 1992 สว่ นระบบเครือขา่ ย 3G ได้ปรากฏเป็นครัง้ แรกเมื่อปี 2001 และระบบ เครือขา่ ย 4G ท่ีทางานสอดคล้องกบั ระบบ IMT Advancedก็ได้รับมาตรฐานใน ปี 2012 เช่นกนั การพฒั นาของมาตรฐาน 2G (GSM) และ 3G (IMT-2000 และ UMTS) ท่ีใช้เวลาประมาณ 10 ปี จากจดุ เริ่มต้นอยา่ งเป็นทางการของ โครงการ R & D และการพฒั นาระบบเครือขา่ ย 4G เริ่มต้น ในปี 2001 หรือ 2002 เทคโนโลยีรุ่นก่อนท่ีเกิดขนึ ้ ในตลาดไมก่ ี่ปีก่อนรุ่นมอื ถือใหมเ่ ชน่ ระบบ Pre- 3G CDMAOne / IS95 ในสหรัฐอเมริกา ในปี 1995 และระบบ Pre-4G Mobile WiMAX ในภาคใต้ ของเกาหลี ปี 2006 และเป็นครัง้ แรกที่ปลอ่ ย สญั ญาณ LTE ในสแกนดิเนเวียเมื่อปี 2009 เทคโนโลยีWiFi 1
วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 1.2 ข้อมลู ได้มากกว่า ถ้าเป็น 4G จะสามารถ รับ-สง่ 7.2 Exabytes ต่อเดือน แต่ สาหรับ 5G จะเพิ่มขนึ ้ ราว 7 เทา่ หรือ 50 Exabytes ต่อเดือน มากกว่า 4G ถงึ 20 เทา่ ซง่ึ เร็วมากพอที่จะดวู ดิ ีโอ 8K ออนไลน์แบบ 3 มิติ หรือดาวน์โหลด ภาพยนตร์ 3 มิติ ได้ในภาย 6 วินาที ความถี่ให้เลอื กใช้มากกว่า 5G จะสามารถใช้งานคลน่ื ความถี่ได้จนถงึ 30GHz ซง่ึ เป็น ความถยี่ า่ นใหมท่ ไี่ มเ่ คยมีการใช้งานมาก่อน รองรับการใช้งานทม่ี ากกวา่ รองรับจานวนผ้ใู ช้งานเพม่ิ ขนึ ้ 10 เทา่ จากทส่ี ามารถรับคนได้ราว 1 แสนคนต่อพนื ้ ท่ี 1 ตร.กม. กลายเป็น 1 ล้านคนต่อพนื ้ ที่ 1 ตร.กม 1.3 ระบบไร้สายรุ่นท่ี 5) เป็นเครือขา่ ยไร้สายทถ่ี กู พฒั นาและเริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2561 เป็น ต้นมา เทคโนโลยีพนื ้ ฐานได้แกค่ ลน่ื ความถ่ี (Millimeter wave bands 26, 28, 38, และ 60 GHz) มีประสทิ ธิภาพสงู สดุ ถงึ 20 จกิ ะบติ ต่อวนิ าที MIMO (Multiple Input Multiple Output - 64-256 antennas) ประสทิ ธิภาพสงู ซง่ึ เร็วกวา่ 4G ถงึ 10 เท่า 5G ย่านความถ่ีต่าและกลางใช้ความถร่ี ะหว่าง 600 MHz ถงึ 6 GHz โดยเฉพาะระหว่าง 3.5-4.2 GHz ในปี พ.ศ. 2560 หลายบริษัทต่างพฒั นาเทคโนโลยี 5G เชน่ Samsung, Intel, Qualcomm, Nokia, Huawei, Ericsson, ZTE และอ่นื ๆ แม้วา่ 5G จะครอบคุ ลมทวั่ โลกภายในปี 2563 เกาหลใี ต้ได้เร่ิมให้บริการเทคโนโลยนี ที ้ ่ีโอลมิ ปิกฤดหู นาว 2018 ในปีพ.ศ. 2561 Verizon วางแผนจะให้บริการ 5G FWA ใน 4 เมอื งในสหรัฐ แซคราเมนโต แอลเอ อนิ เดยี แนโพลสิ และฮวิ สตนั เทคโนโลยีWiFi 2
วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น 1.4 แนวคดิ ของเทคโนโลยี การพฒั นามาตรฐานสาหรับระบบ 5G หรือมาตรฐาน IMT for 2020 and beyond ของ ITU-R นนั ้ มีวตั ถปุ ระสงค์หลกั แตกตา่ งจากระบบ โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ยี คุ ที่ผา่ นมาตงั ้ แต่ยคุ 1G ถงึ 4G โดยระบบ 5G ไม่ได้มี วตั ถปุ ระสงค์เพยี ง เพื่อให้เกดิ การเช่ือมโยง การรองรับการติดตอ่ สอ่ื สาร และการเข้าถงึ ข้อมลู ของคน (Humancentric communication) เพียงอย่างเดยี วอีกต่อไป แต่ยงั มีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อรองรับความต้องการในการ ตดิ ต่อสอ่ื สารของสรรพสง่ิ (Machine-centric communication) ในภาคสว่ นต่างๆ ของเศรษฐกิจ หรือที่เรา เรียกวา่ Verticals ซง่ึ ได้แก่ ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการขนสง่ ภาคการเงนิ หรือ ภาคของสอ่ื เป็นต้น อกี ด้วย การที่ ระบบ 5G สามารถรองรับการติดตอ่ สอื่ สารในภาคสว่ นตา่ งๆ ของเศรษฐกิจ จะสง่ ผลให้โลก ของเราก้าวสู่ ยคุ ที่ 4 ของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมซง่ึ เป็นยคุ ของการเปลย่ี นผ่านส่สู งั คมดิจิทลั อย่างเตม็ ตวั แนวโน้มอตุ สาหกรรม จะมกี ารเชือ่ มตอ่ ระหว่างอปุ กรณ์และเครื่องมอื ตา่ งๆ หรือท่ี เรียกวา่ Internet of things (IoT) และการท างาน แบบอตั โนมตั ิจะเข้ามามบี ทบาทส าคญั โดยการท างานตา่ งๆที่เป็นกจิ วตั รของมนษุ ย์ในปัจจบุ นั อาจถกู แทนทีด่ ้วย เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมจะมีความแข็งแกร่งขนึ ้ รวดเร็วขนึ ้ และฉลาดขนึ ้ เทคโนโลยสี อื่ สารจะไม่เป็นเพียง แค่ สว่ นประกอบหนงึ่ ในวิถีชีวติ ของเราอีกตอ่ ไป แต่จะเป็นสงิ่ จ าเป็นที่เราขาดไม่ได้ในชีวิตประจ าวนั รวมทงั ้ จะเป็น แรงผลกั ดนั ให้เกดิ การรวบรวมข้อมลู และองค์ความรู้ขนาดใหญ่ และข้อมลู เหลา่ นจี ้ ะเป็นกญุ แจสาคญั ในการเพม่ิ ศกั ยภาพและประสทิ ธิภาพในการใช้ชวี ิตของมนษุ ย์ ไม่ ว่าจะในด้านเศรษฐกิจหรือสงั คม เน่อื งจากเทคโนโลยี 5G จะท าให้อตั รา คว ามเร็ วในกา รสง่ ข้อมลู แบบไร้ส ายนนั ้ เทียบเท่ากบั การเชอื่ มตอ่ แบบไฟเบอร์ เทคโนโลยี 5G จงึ จะมบี ทบาท สาคญั ในด้าน ตา่ งๆ มากมาย ไม่วา่ จะเป็น เกษตรกรรม ยาน ยนต์ การขนสง่ สงิ่ กอ่ สร้าง พลงั งาน การเงนิ สขุ ภาพ อตุ สาหกรรมการผลติ การบนั เทิง ความมนั่ คงปลอดภยั และ พฤติกรรมผ้บู ริโภค ทงั ้ นี ้ITU-R ได้กาหนดมาตรฐาน IMT for 2020 and beyond ของระบบ 4G โดยมีรายละเอยี ดทีส่ าคญั ตาม แผนภาพใยแมงมมุ ในรูป เทคโนโลยีWiFi 3
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 2 นาโนเทคโนโลยี 1.1นาโนเทคโนโลยี เป็นเทคโนโลยีของวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ ท่เี อาไปใช้ประโยชน์ในการ ออกแบบเพอื่ ประดษิ ฐ์วสั ดหุ รือผลติ ภณั ฑ์ใหมๆ่ การสงั เคราะห์วสั ดทุ ี่มขี ้อด้อยลดลง การตรวจ วิเคราะห์และวินจิ ฉยั ที่มีความละเอยี ดแมน่ ยาย่งิ ขนึ ้ สาหรับวสั ดหุ รือสง่ิ ของท่เี ลก็ มากอย่ใู น ระดบั นาโนเมตร ซง่ึ นาโนเทคโนโลยจี ะให้ความสาคัญแกก่ ระบวนการเตรียมหรือการใช้ เทคโนโลยใี นช่วงแรก โดยเริ่มจากการควบคมุ แต่ละโมเลกลุ หรือ อะตอม ท่สี ง่ ผลตอ่ การ ประกอบหรือการรวมตวั กนั ทาให้เกิดเป็นสารทมี่ ขี นาดใหญ่ ทาให้นาโนเทคโนโลยีมคี วามพเิ ศษ คือ มคี วามเฉพาะเจาะจง สามารถควบคมุ การทางานของสารท่สี ร้างขนึ ้ ได้ทงั ้ ในด้านเคมีและ ฟิ สกิ สอ์ ย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยหน่วยนาโนเมตร (nanometer) ทใี่ ช้สญั ลกั ษณ์ตวั ย่อ nm เป็นหนว่ ยของระบบ SI ซงึ่ ทค่ี ้นุ เคยกนั ดคี ือ ระดบั เซนติเมตรและเมตร ซงึ่ 1 นาโนเมตร คือความยาว 1 ในสบิ ล้านของ เซนติเมตร (10-7 cm) หรือ ในพนั ล้านของเมตร (10-9 m) เมือ่ เปรียบเทยี บกบั สว่ นประกอบในร่างกายทม่ี ีขนาดเลก็ เชน่ โมเลกลุ ของดเี อ็นเอ มีความกว้าง 2.5 นาโนเมตร ซง่ึ ขนาด 1 นาโนเมตร คอื ขนาดของอะตอมทม่ี คี วามเลก็ กวา่ เส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นผม มนษุ ย์ถงึ แปดหมื่นเทา่ โดยสิง่ ที่มีขนาดในช่วง 1-100nmจดั ว่าเป็นนาโนเทคโนโลยเี กือบ ทงั ้ สนิ ้ เทคโนโลยีWiFi 4
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น 1.2 นาโนอิเลก็ ทรอนิกส์ (Nanoelectronics) นาโนเทคโนโลยชี ีวภาพ (Bionanotechnology) นาโนเซนเซอร์ (Nanosensor) การแพทยน์ าโน (Nanomedicine) ทอ่ นาโน (Nanotube) นาโนมอเตอร์ (Nanomotor) โรงงานนาโน (Nanofactory) 1.3 งานด้านวสั ดนุ าโนเฉพาะทางและนาโนเทคโนโลยขี นั ้ สงู การพฒั นาวสั ดนุ าโนเฉพาะทางเพื่อให้มีคณุ สมบตั พิ ิเศษเฉพาะด้าน ทีม่ งุ่ เน้นการประยกุ ต์ใช้ งานด้านผลติ ภณั ฑ์สง่ิ ทอ ผลติ ภณั ฑ์ในครัวเรือน รวมถงึ การใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือเพ่ิมคณุ ภาพชีวิตที่ดี งานด้านการเกษตรนาโนและสงิ่ แวดล้อม การวิจยั และพฒั นานาโนเทคโนโลยดี ้านนวตั กรรมอาหาร เกษตรและสง่ิ แวดล้อม โดยการ ประยกุ ต์ใช้นาโนเทคโนโลยกี ารดดั แปลงโครงสร้างและพนื ้ ผวิ รวมทงั ้ การเตรียมนาโนคอมพอสิ ตี เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย ร่วมกบั การจดั การ สงิ่ แวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื งานด้านนาโนเพอื่ ชีวติ และสขุ ภาพ เทคโนโลยีWiFi 5
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น การวิจยั และพฒั นานาโนเทคโนโลยดี ้านการตรวจวินจิ ฉยั โดยการใช้โมเลกลุ เปา้ หมาย การ พฒั นาเทคโนโลยรี ะบบนาสง่ ยาชนิดใหม่และเวชสาอางจากการใช้ประโยชน์ ด้วยสารจาก ธรรมชาติและสมนุ ไพรไทย เพอ่ื การประยกุ ต์ทางด้านการแพทย์ สาธารณสขุ และเวชสาอาง งานด้านมาตรวทิ ยานาโนวิเคราะห์และวิศวกรรม การวิจยั และพฒั นาทางด้านมาตรวิทยาและความปลอดภยั ทางด้านนาโนเทคโนโลยี การ ให้บริการวเิ คราะห์ทดสอบระดบั นาโน การพฒั นาต้นแบบงานวิจยั เชงิ วศิ วกรรม เพอ่ื เป็น รากฐานในการสร้างความเชอื่ มนั่ ให้กบั ภาคการผลติ สนิ ค้าและบริการในด้าน คณุ ภาพและ มาตรฐานต่างๆในระดบั สากล งานด้านการพฒั นาวสั ดนุ าโนและวิศวกรรมระบบนาโน การพฒั นาและออกแบบ วสั ดุ โครงสร้าง และระบบในระดบั นาโนด้วยวธิ ีการคานวณทางเคมี คอมพวิ เตอร์ผา่ นการสร้างแบบจาลองและการประเมินเชงิ วศิ วกรรมผ่านการ สร้างต้นแบบและ ระบบนาร่องสาหรับการประยกุ ต์ใช้งานในด้านพลงั งาน ตวั เร่งปฏิกริ ิยา ประสทิ ธิภาพสงู และ ระบบตรวจวดั แบบจาเพาะ เพ่อื ความยงั่ ยืน และเป็นมติ รต่อสงิ่ แวดล้อม เทคโนโลยีWiFi 6
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 3Bluetooth 1.1 ประวตั คิ วามเป็ นมาของ Bluetooth นัน้ ตวั ชอ่ื Bluetooth ถกู ตงั้ ขน้ึ ในปี ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) โดย Jim Kardach จาก Intel ทเี่ ป็ นผพู ้ ัฒนา ระบบทที่ าใหโ้ ทรศัพทม์ อื ถอื สามารถตดิ ตอ่ สอื่ สาร กบั คอมพวิ เตอรไ์ ด ้ ซงึ่ ในขณะทเ่ี ขาคดิ คน้ เทคโนโลยดี ังกลา่ วขน้ึ เจา้ ตัวก็กาลังอยใู่ นระหวา่ ง การอา่ นนยิ ายประวตั ศิ าสตรเ์ รอ่ื ง The Long Ships ของผแู ้ ตง่ Frans G. Bengtsson ทม่ี เี นอื้ หาเกย่ี วกบั ชนเผา่ ไวกง้ิ และกษัตรยิ เ์ ดนชิ ในศตวรรษที่ 10 ทมี่ ี นามวา่ Harald Bluetooth เทคโนโลยีWiFi 7
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 1.2 Class ของ Bluetooth คืออะไร Class (คลาส) ของ Bluetooth คอื ระดับความแรงทส่ี ามารถสง่ ขอ้ มลู ไปหา อปุ กรณ์บลทู ธู อกี ชน้ิ หนงึ่ ได ้ ซงึ่ ณ ปัจจุบนั มที งั้ หมด 4 Class ดว้ ยกันไดแ้ ก่ 1. Class 1 : มกี าลังสง่ อยทู่ ี่ 100 มลิ ลวิ ตั ต์ และมรี ะยะทาการ ประมาณ 100 เมตร 2. Class 2 : มกี าลังสง่ อยทู่ ี่ 2.5 มลิ ลวิ ตั ต์ และมรี ะยะทาการ ประมาณ 10 เมตร 3. Class 3 : มกี าลงั สง่ อยทู่ ่ี 1 มลิ ลวิ ัตต์ และมรี ะยะทาการ ประมาณ 1 เมตร 4. Class 4 : มกี าลงั สง่ อยทู่ ่ี 0.5 มลิ ลวิ ัตต์ และมรี ะยะทาการ ประมาณ 0.5 เมตร จากตวั เลขคลาสและประสทิ ธภิ าพดา้ นบน จะเห็นไดว้ า่ กาลังสง่ และระยะทาการถกู ลดหล่ันลงมาเรอ่ื ย ๆ ตามระดบั คลาส ทาให ้ การมเี ลขคลาสสงู ไมไ่ ดห้ มายความวา่ จะสง่ สัญญาณไดไ้ กลขน้ึ ดังนัน้ การเลอื กซอ้ื อปุ กรณบ์ ลทู ธู ทกุ ครงั้ อยา่ ลมื เช็คคลาสขอ งบลทู ธู ดว้ ยทกุ ครงั้ แตถ่ า้ ผลติ ภณั ฑน์ ัน้ ๆ ไมไ่ ดร้ ะบคุ ลาสไว ้ ก็ อยา่ ลมื มองหาระยะทาการของมนั ดว้ ย เพอื่ ดวู า่ เหมาะสมกับการ ใชง้ านของคณุ หรอื ไม่ เทคโนโลยีWiFi 8
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 1.3 Bluetooth ในแต่ละเวอร์ชนั แตกต่างกนั อยา่ งไร การ พัฒนาของ Bluetooth แตล่ ะเวอรช์ นั ไดถ้ กู บันทกึ และเรยี กกนั เป็ นเลขเวอรช์ นั ซงึ่ ตัวเลข เวอรช์ นั ทเี่ พม่ิ ขนึ้ ก็หมายถงึ ประสทิ ธภิ าพและ ความรวดเร็วในการสง่ ขอ้ มลู ทดี่ ขี นึ้ ดว้ ยเชน่ กนั ในแตล่ ะเวอรช์ นั ของบลทู ธู มกี ารเปลยี่ นแปลง ไปอยา่ งไรบา้ ง เราจะสรปุ ครา่ ว ๆ พอใหเ้ ห็น ภาพในแตล่ ะเวอรช์ นั ไวใ้ หใ้ นดา้ นลา่ ง เทคโนโลยีWiFi 9
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 4 เทคโนโลยี ipv6 1.1เกือบจะทกุ คนท่ีเคยใชง้ านอินเทอร์เนต็ น่าจะคุน้ หูกบั คาว่า IP Address กนั มา บา้ งแลว้ แลว้ เคยทราบกนั บา้ งไหม ว่า IP Address ท่ีพูดถงึ กนั เป็นประจาคืออะไร IP Address ยอ่ มาจาก Internet Protocol Address เปรียบเสมือนบา้ นเลขท่ี ของเจา้ ตวั คอมพวิ เตอร์ท่ีออนไลน์อยบู่ นเครือข่าย เพ่ือท่ีแตล่ ะคนที่ใชง้ าน สามารถแยกแยะไดว้ า่ จะติดต่อกบั ใคร เหมือนกบั บา้ นเลขที่สาหรับใชส้ ่งจดหมายนนั่ เอง โดยทวั่ ไป IP Address มีอยสู่ องลกั ษณะดว้ ยกนั คือ แบบที่เป็น Static IP คอื จะเป็น IP Address ประจาสาหรับการใชง้ านน้นั ตลอดเวลา อีกแบบคือ Dynamic IP จะ เป็นเลข IP ที่เปลย่ี นไป ทกุ คร้ังท่ีคณุ เช่ือมตอ่ การใชง้ านกบั อินเทอร์เน็ต (dial-in หรือ login) แต่ละคร้ัง ซ่ึงหน่วยงานที่ทาหนา้ ท่ีจดั สรร IP Address เหล่าน้ีคือ องคก์ าร ระหว่างประเทศท่ีช่ือว่า Network Information Center – NIC ซ่ึง ISP หรือองคก์ รตา่ งๆ จะตอ้ งทาเร่ืองขอ IP Address จากหน่วยงานดงั กล่าว เทคโนโลยีWiFi 10
วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น 1.2จุดเด่นของ IPv6 ท่ีพฒั นาเพ่ิมข้ึนมากจาก IPv4 ขยายขนาด Address ข้ึนเป็น 128 บิต สามารถรองรับการใชง้ าน IP Address ที่เพม่ิ ข้ึนอยา่ งรวดเร็วได้ เพิม่ ขีดความสามารถในการเลือกเสน้ ทางและสนบั สนุน Mobile Host สนบั สนุนการทางานแบบเวลาจริง (real-time service) มีระบบติดต้งั Address อตั โนมตั ิ (Auto configuration) ปรับปรุง Header เพอื่ ใหม้ ีการประมวลผลไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้ึน เพิ่มระบบรักษาความปลอดภยั ใหม้ ีมากข้ึนและดีกวา่ เดิม จุดเด่นของ IPv6 ทพ่ี ฒั นาเพ่มิ ข้นึ มากจาก IPv4 การยอมรับและนามาใชข้ อง IPv6 ทว่ั โลก เน่ืองจากอุปกรณ์เทคโนโลยตี า่ งๆ ในอนาคตจะมีการพฒั นาข้ึนมาใหใ้ ช้ IP Address เพอ่ื ตดิ ต่อสื่อสารเขา้ กบั เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไดแ้ ลว้ เพอื่ เพ่ิมความสะดวกสบายและทนั สมยั ใหก้ บั การใชช้ ีวติ ของเราเพ่ิมข้ึน เช่น การผลิตตูเ้ ยน็ ที่รองรับมาตรฐาน Ipv6 จะช่วย ใหต้ เู้ ยน็ สามารถสแกนไดว้ า่ อาหารใดกาลงั จะหมดอายุ และเช่ือมตอ่ อินเทอร์เน็ตไปยงั ร้านคา้ เพ่อื สั่งซ้ือสินคา้ ไดโ้ ดยตรง ,การติดต้งั ระบบกลอ้ ง วงจรปิ ดตามบา้ งเรือนที่รองรับมาตรฐาน Ipv6 จะช่วยตรวจจบั ส่ิงไม่พึง ประสงคแ์ ละเช่ือตอ่ อินเตอร์เน็ตเพื่อแจง้ เหตุการณใ์ นทนั ที เป็ นตน้ เทคโนโลยีWiFi 11
วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น ดงั น้นั ปัจจุบนั หลายๆ ประเทศไดแ้ สดงเจตนารมน์ทจ่ี ะทาการอพั เกรดเทคโนโลยอี ินเทอร์เน็ตให้เป็ น IPv6 แลว้ เช่น กระทรวงกลาโหมสหรัฐ ไดป้ ระกาศวา่ จะเลิกสง่ั ซ้ืออุปกรณ์ เครือข่ายทส่ี นับสนุนมาตรฐานปัจจุบนั และ เปล่ียนไปใชม้ าตรฐาน IPv6 ในปี 2008 ในเอเชียเอง จีน ไตห้ วนั และ เกาหลีใตก้ ส็ ่งสญั ญาณวา่ จะอพั เกรดเทคโนโลยใี ห้รองรับ IPv6 ได้ เช่นเดียวกนั แต่ญปี่ ่ ุนคอื ผูน้ าในดา้ นน้ี รัฐบาลมีโครงการ e-Japan ท่ีจะ สร้างเครือข่ายให้ครอบคลุมทวั่ ประเทศเพ่อื ให้อุปกรณ์สามารถสื่อสารกนั ได้ และยงั มีการทดสอบ 1.3 IPV6 เหนอื กวา่ IPV4 อยา่ งไรบ้าง - IPV6 มีขนาดของ address 16 ไบท์ ซงึ่ มาก วา่ IPV4 ท่ีมเี พยี งแค่ 4 ไบท์ หมายความวา่ IPV6 มี จานวน address มากกวา่ พอสมควร - IPV6 มรี ะบบตดิ ตงั้ Address อตั โนมตั ิ (Automatically configuration) ตา่ ง จาก IPV4 จะเป็นแบบ Manual ซงึ่ สร้างความยงุ่ ยาก ในการดแู ลจดั การพอสมควร เทคโนโลยีWiFi 12
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น - มาตรฐาน ความปลอดภยั ของ IPV6 กาหนดเป็นตวั บงั คบั ซงึ่ ตา่ ง จาก IPV4 ทกี่ าหนดเป็นแคต่ วั เลอื กเท่านนั้ ซงึ่ ชว่ ยให้ ปลอดภยั ยิ่งขนึ ้ 5 เทคโนโลยีWiFi 11. Wi-Fi ย่อมาจาก wireless fidelity) หมายถงึ ชดุ ผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ ทีส่ ามารถใช้ได้กบั มาตรฐานเครือข่าย คอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (WLAN) ซงึ่ อย่บู นมาตรฐาน IEEE 802.11 เดมิ ทวี ายฟายออกแบบมาใช้สาหรับอปุ กรณ์พกพา ตา่ งๆ และใช้เครือข่าย LANเทา่ นนั้ แตป่ ัจจบุ นั นิยมใช้วายฟาย เพื่อตอ่ กบั อินเทอร์เน็ต โดย อปุ กรณ์พกพาตา่ งๆ สามารถเช่ือมตอ่ กบั อินเทอร์เนต็ ได้ผ่าน อปุ กรณ์ท่ีเรียกวา่ แอคเซสพอยต์ และบริเวณทีร่ ะยะทาการของ แอคเซสพอยต์ครอบคลมุ เรียกวา่ ฮอตสปอตแตเ่ ดมิ คาวา่ Wi- เทคโนโลยีWiFi 13
วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น Fi เป็นช่ือ ทตี่ งั้ แทน ตวั เลข IEEE 802.11 ซงึ่ ง่ายกวา่ ในการจดจา โดยนามาจาก เครื่องขยายเสียงHi-Fi อยา่ งไรกต็ ามในปัจจุบนั ใช้เป็นคายอ่ ของ Wireless-Fidelity โดยมีแสดงในเวบ็ ไซตข์ อง Wi- Fi Alliance โดยใช้ชื่อวายฟายเป็นเครื่องหมายการค้า เทคโนโลยี Wi-Fi ใช้คล่ืนวทิ ยคุ วามถ่ีสงู สาหรับรับสง่ ข้อมลู ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพวิ เตอร์ที่สามารถใช้ งาน Wi-Fi ได้ต้องมีการตดิ ตงั้ แผงวงจรหรืออปุ กรณ์รับสง่ Wi- Fi ซงึ่ มีช่ือเรียกว่า Network Interface Card (NIC) แตป่ ัจจบุ นั เครื่องคอมพวิ เตอร์โน๊ตบ๊คุ ที่มีจาหน่ายใน ท้องตลาดมกั ได้รับการตดิ ตงั้ ชิปเซต็ (Chipset) ทท่ี าหน้าท่ีเป็น ตวั รับส่งสญั ญาณ Wi-Fi ไปในตวั ทาให้สะดวกตอ่ การนาไปใช้ งานมากขนึ ้ การตดิ ตอ่ ส่ือสารด้วยเทคโนโลยี Wi-Fi ทาได้ทงั้ แบบเช่ือมตอ่ โดยตรงระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยไมต่ ้องผ่าน อปุ กรณ์ตวั กลาง (Ad-hoc) และแบบทผี่ ่านอปุ กรณ์จดุ เชื่อมตอ่ (Access Point) ดงั แสดงในรูปที่ 1 เนื่องจากการตดิ ตงั้ เครือข่าย Wi-Fi ทาได้ง่าย เทคโนโลยีWiFi 14
วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น 1.2 ความปลอดภยั (Security) เทคโนโลยี Wi-Fi มจี ดุ ออ่ นในเร่ืองของมาตรการรักษาความ ปลอดภยั ที่เกดิ จากการลกั ลอบเข้าใช้เครือขา่ ยโดยบคุ คลที่สามซ่งึ อาจใช้เคร่ืองรบั สง่ สญั ญาณและ ซอฟท์แวร์บางชนิดบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั ท่ีมีมาพร้อมกบั Wi-Fi ซงึ่ มี ชื่อเรียกวา่ WEP (Wired Equivalent Privacy) ไมส่ ามารถป้องกนั การลกั ลอบเข้าใช้งาน เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์โดยผา่ นทาง AP ได้แตอ่ ยา่ งไร ซึ่ง IEEE กม็ แี ผนการพฒั นาข้อกาหนด มาตรฐาน IEEE802.11i ซ่ึงนามาตรการเข้ารหสั ข้อมลู (Coding) และการตรวจยืนยนั เพ่ือตวั ผ้ใู ช้งาน (Authentication) ที่มีความซบั ซ้อน เพื่อรกั ษาความปลอดภยั ให้กบั เครือขา่ ย โดยใช้ เทคโนโลยี AES (Advanced Encryption Standard) มาเสริมความสามารถให้กบั ทงั้ มาตรฐาน IEEE802.11a, 802.11b และ 802.11g อย่างไรก็ตามในช่วงระหวา่ งที่รอประกาศ รับรองมาตรฐาน IEEE 802.11i กลมุ่ พนั ธมติ ร WECA ก็ได้มกี ารนาเทคโนโลยีรักษาความปลอดภยั ท่ีรู้จกั กนั ในชื่อของ WPA (Wi-Fi Protected Access) เข้ามาใช้งาน ซึ่งเทคโนโลยีดงั กลา่ วเป็น เทคโนโลยีมาตรฐานที่พบในอปุ กรณ์AP และเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถสอ่ื สารผา่ นเครือขา่ ย Wi- Fi ได้ นอกจากนีอ้ ปุ กรณ์ Wi-Fi รุ่นเก่า ๆ บางรุ่นท่ีเคยรองรับเพียงเทคโนโลยี WEP ก็สามารถพฒั นา โดยการติดตงั้ ซอฟท์แวร์เพิ่มเตมิ เพ่ือให้รองรับเทคโนโลยี WPA ได้ อีกทงั้ มคี วามเป็นไปได้วา่ อปุ กรณ์ Wi-Fi รุ่นใหม่ ๆ ที่รองรบั มาตรฐาน WPA อย่แู ล้วก็จะสามารถพฒั นาขนึ ้ เพื่อ เทคโนโลยีWiFi 15
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอร์เบอื ้ งต้น 1.3 การคา่ บริการ (Billing) รูปแบบ การทาธุรกิจให้บริการสือ่ สารไร้ สายในเชงิ สาธารณะ (Public Service) โดยใช้อปุ กรณ์ AP มาตรฐาน Wi-Fi ที่ตดิ ตงั้ โดยพนั ธมติ รแตล่ ะราย เชน่ อาคารสานกั งาน โรงแรม ศนู ย์การค้า หรือแม้กระทง่ั ตามบ้านพกั อาศยั และมีบริษัทคนกลางทาหน้าที่ เป็นผ้ใู ห้บริการ (Service Provider) กาหนดอตั ราคา่ ใช้บริการ อาจเกิด ปัญหาในเรื่องของการบนั ทกึ ข้อมลู ใช้งาน และการสง่ บนั ทกึ ระหว่างกลมุ่ อปุ กรณ์ AP แตล่ ะกลมุ่ ได้ เน่ืองจาพนั ธมติ รแตล่ ะรายอาจเลือกตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ AP ทีม่ ีขีดความสามารถไมเ่ ทา่ กนั สง่ ผลให้ผ้ใู ห้บริการไมม่ ีอิสระใน การกาหนดระดบั ราคาคา่ ใช้บริการท่มี ีความซบั ซ้อนและหลากหลายได้ เทา่ ท่คี วรจะเป็น อีกทงั้ ในรูปแบบการทาธรุ กิจร่วมกนั เช่นนี ้ผ้ใู ห้บริการยงั ต้อง มีภาระในการแบง่ รายได้ (Revenue Sharing) ให้กบั พนั ธมิตรแตล่ ะ รายโดยพิจารณาจากปริมาณการใช้งานจริงซงึ่ บางครัง้ อาจกลายเป็นประเดน็ ยงุ่ ยากในการตรวจสอบ (Monitoring) การใช้งานของแตล่ ะ เครือขา่ ย กลา่ วโดยสรุป เทคโนโลยี Wi-Fi อาจมีความเหมาะสมในการ ใช้งานระดบั องค์ธรุ กิจ (Corporate Service) แตก่ ็ยงั มีข้อจากดั ในด้าน การรักษาความปลอดภยั และไมอ่ าจพฒั นาไปสกู่ ารให้บริการในเชงิ สาธารณะ ได้อย่างสมบรู ณ์ ซง่ึ สงิ่ เหลา่ นีเ้ป็นการเปิดโอกาสให้เทคโนโลยีสอ่ื สารไร้สาย มาตรฐานใหม่ ดงั เชน่ การสือ่ สารแบบ BWA ทีไ่ ด้รับการออกแบบมาเพ่ือ เทคโนโลยีWiFi 16
วิชา ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น เน้นการ ให้บริการในเชงิ สาธารณะ และให้ความสาคญั กบั การรักษาความปลอดภยั เทคโนโลยีWiFi 17
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: