Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore inbound1333533032588364059

inbound1333533032588364059

Published by Guset User, 2021-12-13 07:54:23

Description: inbound1333533032588364059

Search

Read the Text Version

ความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณคดีกับจิตรกรรมไทย จัดทำโดย นางสาวณัฐริศา สมฤทธิ์ เลขที่19 ม.4/8

ความหมาย วรรณคดี หมายถึง บทประพันธ์ที่ได้รับ ยกย่องว่าแต่งดี มีคุณค่าทางวรรณศิลป์ จิตรกรรมไทย หมายถึง ภาพเขียนที่มีลักษณะ เป็นแบบอย่างของไทยที่แตกต่างจากศิลปะ ของชนชาติอื่นอย่างชัดเจน

ความรู้อื่นๆ จิตรกรรมไทยถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. จิตรกรรมไทยแบบประเพณี คือเป็น ศิลปะที่มีความประณีตสวยงามแสดง ความรู้สึกชีวิติจิตใจและความเป็นไทยที่มี ความอ่อนโยน นิยมเขียนบนฝาผนัง ภายในอาคารที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาและ อาคารที่เกี่ยวกับบุคคลชั้นสูง เช่น โบสถ์ วิหาร พระที่นั่ง วัง โดยเขียนด้วยสีฝุ่น ตามกรรมวิธีของช่างเขียนไทยแต่โบราณ 2. จิตรกรรมไทยแ บบร่วมสมัย เป็น ศิลปะพัฒนาไปตามสภาพแวดล้อม ความเปลี่ยนแปลงของชีวิต ความเป็น อยู่ ความรู้สึกนึกคิด และความนิยมใน สังคม สะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ใหม่ ของวัฒนธรรมไทยอีกรูปแบบหนึ่ง

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ในประเทศไทยวรรณคดีและจิตรกรรมเป็นเหมือนของ คู่กัน เพราะภาพวาดจิตรกรรมไทยส่วนใหญ่ มาจาก เค้าโครงเรื่องราวของวรรณคดีเรื่องต่างๆ ทำให้คน ไทยส่วนใหญ่มักได้เจอภาพวาดจิตรกรรมที่เป็นภาพ ของวรรณคดี ตัวอย่างภาพจิตรกรรมฝาผนัง วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์

วิธีการอนุรักษ์ สืบสาน และ เผยแพร่ 1. ชมนิทรรศการภาพวาดต่างๆ 2. ตั้งกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้คนเข้าถึงจิตรกรรมได้ง่ายขึ้น 3. ทำป้ายเชิญชวนให้คนเข้ามาดูงานนิทรรศการ 4. นำจิตรกรรมให้ร่วมสมัย ทำให้มีการเข้าถึงได้ง่าย

ขอบคุณค่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook