คู่มอื สนบั สนนุ สรา้ งสรรค์ พ่อแม่ 1 พฒั นาทกั ษะสมอง EF Eตxั้งแeตc่ปutฏivิสe นFuธnิ-c3tioปnsี ผกู พัน ไว้ใจ จ�ำเพือ่ ใชง้ าน ยับย้ัง ยดื หยุ่น ช่งั ใจ ปรับตัว
2
ค่มู อื พฒั นาทักษะสมอง EF Executive Functions ปฏิสนธิ – 3 ปี
หนังสอื คมู่ อื พ่อแม่ พฒั นาทกั ษะสมอง EF-Executive Functions ต้ังแตป่ ฏิสนธ-ิ 3 ปี ISBN 978-616-8045-13-8 ลขิ สทิ ธร์ิ ว่ ม สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) และ สถาบนั RLG (รกั ลูก เลริ ์นน่ิง กร๊ปุ ) บริษทั รักลูกกรุป๊ จ�ำกดั สงวนลิขสิทธิต์ ามพระราชบญั ญัตลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 จ�ำนวนพิมพ ์ 2,000 เล่ม บรรณาธกิ าร สภุ าวดี หาญเมธี / ผาณติ บญุ มาก วชิ าการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศิริพรพาณชิ ย์ ประสานงานเล่ม ภาวนา อรา่ มฤทธ์ิ พสิ จู นอ์ กั ษร ธดิ า มหาเปารยะ บรมานนั ท์ การตลาด ธนรร หาญวรโยธนิ ออกแบบรูปเลม่ และภาพประกอบ • เฉลิมพล พงศ์เจตนพ์ งศ์ • สุธนิ นั ท์ เชยโต • นิธพิ งศ์ มหัทธนิยโสภณ แยกส/ี พมิ พท์ ่ี บรษิ ัท โรงพมิ พอ์ กั ษรสัมพันธ์ (1987) จำ� กดั เพอื่ การคน้ คว้า Executive Functions เวบ็ ไซต:์ www.rlg-ef.com, www.rakluke.com เฟซบุ๊ค: www.facebook.com/พัฒนาทักษะสมอง EF รายชอื่ คณะท�ำงานจดั การความรู้ทกั ษะสมอง EF ตง้ั แตป่ ฏิสนธิ-3 ปี • แพทยห์ ญงิ ศริ ิพร กัญชนะ • รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ นิตยา คชภักดี • ศาสตราจารย์เกียรติคณุ แพทย์หญงิ ศิรกิ ุล อศิ รานุรกั ษ์ • ศาสตราจารยค์ ลนิ ิก แพทย์หญงิ ศริ าภรณ์ สวสั ดวิ ร • แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทกั ษ ์ • ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิง อดศิ รส์ ุดา เฟ่อื งฟู • รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจนั ทร์ จุฑาภักดีกลุ • ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ วรสทิ ธิ์ ศิรพิ รพาณชิ ย์ • สภุ าวดี หาญเมธี • อาจารยธ์ ดิ า พทิ กั ษ์สินสุข • ดร.ปยิ วลี ธนเศรษฐกร • ดร.นุชนาฎ รกั ษี • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร • อาจารยอ์ รพินท์ เลศิ อวัสดาตระกลู • อาจารยก์ รณฐั โรจน์ไพรนิ ทร ์ • อาจารย์ธนกร กาศยปนนั ท์ • ชนดิ า สุวรี านนท ์ • ธนรร หาญวรโยธนิ • ภาวนา อร่ามฤทธิ ์ • ผาณิต บุญมาก คำ� สำ� คัญเพื่อการคน้ ควา้ ความรู้เร่ืองสมอง / ทักษะสมอง EF / Executive Functions / การดูแลแม่ต้ังครรภ์ / ความเครียดระหว่างตั้งครรภ์ / นมแม่ / สัมพันธภาพ-Attachment / พัฒนาการเด็ก / วินัยเชิงบวก / กิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะสมอง EF / สภาพแวดล้อม ท่ีเอ้ือตอ่ การพัฒนาเดก็ / เตรยี มลูกกอ่ นเขา้ อนุบาล สงวนลิขสทิ ธ์ิ Copyright@2018 RLG Institute: กรณีน�ำไปใช้เพ่ือประโยชน์ทางการศึกษา ตอ้ งได้รบั อนุญาตอย่างเป็นทางการจากเจ้าของลิขสทิ ธิ์ ไม่อนุญาตให้ลอกเลียนแบบส่วนใดส่วนหน่ึงของหนังสือเล่มนี้ รวมทั้งการจัดเก็บ ถ่ายทอด ไม่ว่ารูปแบบหรือวิธีการใดๆ ในกระบวนการ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การถ่ายภาพ การบันทึก หรือวิธีการใดๆ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าตจากเจา้ ของลขิ สิทธ์ิ
ส า ร บั ญ คูม่ ือพัฒนาทกั ษะสมอง EF – Executive Functions ตั้งแต่ปฏิสนธิ – 3 ปี บทท่ ี 1 Executive Functions ตัง้ แต่ปฏสิ นธิ – 3 ปี 10 บทท่ี 2 ทักษะสมอง EF ดีไดต้ ้งั แต่ในครรภ์ 32 บทที ่ 3 พัฒนาการของทักษะสมอง EF ในทารกขวบปีแรก 56 บทท่ ี 4 นมแม่สร้างเสรมิ ทกั ษะสมอง EF ให้ลูก 68 บทที่ 5 พัฒนาการของทกั ษะสมอง EF 80 ในเด็กวัย 1-2 ปี (13-24 เดือน) บทที ่ 6 พัฒนาการของทกั ษะสมอง EF 92 ในเดก็ วัย 2-3 ปี (25-36 เดือน) บทท ี่ 7 สภาพแวดลอ้ ม ครอบครวั ชุมชน 114 ทเ่ี ออื้ ต่อการพฒั นาทักษะสมอง EF 132 ในเดก็ วยั แรกเกดิ – 3 ปี บทท ี่ 8 7 วิธีพัฒนาลูกสมวัย สมองดี
ค�ำนำ� มีผู้กล่าวว่า ในรอบเพียงไม่กี่สิบปีมาน้ี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท�ำให้มนุษย์รู้จัก การทำ� งานของสมองของเรา มากยิ่งกว่าทเี่ คยรูม้ าในชว่ งหลายพันปีของประวตั ศิ าสตร์ ............... แล้วเราจะรู้เรื่องการท�ำงานของสมองไปทำ� ไมกนั กเ็ พราะสมองคอื ศูนย์บญั ชาการชวี ิต เราจะคดิ อะไร ท�ำอะไร จ�ำอะไร เรยี นรูอ้ ะไร แกป้ ญั หาอะไร จะเคลอื่ นไหวไปทางไหน ฯลฯ กต็ อ้ งใชส้ มองในการกำ� กบั สงั่ การทง้ั นน้ั ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจธรรมชาตกิ บั การทำ� งาน ของสมอง และดแู ลมนั ไมเ่ หมาะสม คงจะใชส้ มองใหเ้ กดิ ประโยชนเ์ ตม็ ทตี่ อ่ ชวี ติ ไมไ่ ด้ และ “เรา” ในทนี่ ้ี รวมความตง้ั แตพ่ อ่ แม่ ผปู้ กครอง ไปจนถงึ บรรดาผคู้ นทท่ี ำ� งานเกย่ี วขอ้ งกบั การ พัฒนาเดก็ ทั้งหมด; ครู เจา้ หนา้ ที่สาธารณสุข หมอเด็ก พยาบาล นักจติ วทิ ยาเดก็ ฯลฯ ทักษะสมอง Executive Functions (EF) เป็นความรู้ใหม่เร่ืองสมองที่นักวิชาการทั้งโลก ก�ำลังสนใจศึกษาค้นคว้าจึงมีค�ำนิยามหลากหลาย แต่สรุปง่ายๆ ได้ว่า “EF คือ ความสามารถในการ ก�ำกับความคิด ก�ำกับอารมณ์ และก�ำกับพฤติกรรม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ” หลายคนจึงชีว้ า่ EF คอื ทกั ษะสมองทน่ี �ำไปสู่ความส�ำเรจ็ ของชวี ติ จากการคน้ ควา้ ของนักวทิ ยาศาสตร์ เรายังรู้ต่อไปอีกว่า • มนุษยท์ ุกคนมีศักยภาพท่จี ะมี EF ทที่ ำ� ให้เราแตกต่างจากสิง่ มีชีวิตอนื่ ๆ • สมองส่วนหน้าคือส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการคิด ใช้เหตุผล สมองส่วนกลางคือส่วนที่เก่ียวข้องกับ อารมณ์และความจ�ำระยะยาว สมองส่วนแกนเป็นส่วนท่ีท�ำงานด้วยสัญชาตญาณ สมอง 3 ส่วนน้ี ท�ำงานตอ่ เชือ่ มกนั ถ้าสมองสว่ นอารมณ์ไม่ชอบใจ ก็ยากจะเปิดใหส้ ว่ นคิดทำ� งานได้ • ศักยภาพ 3 ด้านท่ีจะ “จดจ�ำ-Working Memory” “ยับยั้ง–Inhibitory Control” และ “ยดื หยุ่น-Cognitive Flexibility” เปน็ พน้ื ฐานทต่ี ้องเกิดขึน้ ในชว่ งปฐมวยั เพอ่ื ทจ่ี ะพฒั นาคณุ ลกั ษณะ อื่นๆ ที่มนุษย์พึงมีเม่ือเติบโตข้ึน เช่น การมีสมาธิจดจ่อ การคิดวางแผน การปรับตัว การวิเคราะห์ ไตร่ตรอง การก�ำกับอารมณ์ตนเอง การคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น หรือจะเรียกได้ว่า EF เป็นรากฐานของ ทักษะศตวรรษท่ี 21 • EF พัฒนาได้ตั้งแต่ขวบปีแรก และจะพัฒนาได้ดีท่ีสุดในช่วงปฐมวัย จากนั้นก็สามารถพัฒนา ต่อเน่ืองจนถึงวัยประมาณ 25 ปี และถ้าได้ “ฝังชิปEF” นี้ในสมองแล้ว ก็จะอยู่ตลอดไป กลายเป็น บุคลกิ ภาพประจำ� ตัวไปตลอดชวี ิต ดังน้ัน น่ีจึงเป็นเหตุผล ท่ีบอกถึงความส�ำคัญและจ�ำเป็นท่ี “เรา” จะต้องส่งเสริมการพัฒนา EF ใหแ้ ข็งแรงตง้ั แตว่ ัยแรกของชีวติ
หนังสือ “คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF ตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 3 ปี” เป็นผลของการจัดการความรู้โดย คณะนักวิชาการสหสาขา ทั้งจากภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เชื่อมต่อความรู้เรื่องทักษะสมอง EF บนฐานความรู้เดิมเรื่องพฒั นาการ 4 ด้าน ความรทู้ ส่ี กดั ออกมาไดน้ นั้ นอกจากการทำ� ใหเ้ รอื่ งของ EF เขา้ ใจไดง้ า่ ยขน้ึ แลว้ คณะทำ� งานวชิ าการ ยังช้หี ลายประเด็นสำ� คญั เช่น • EF ดีไดต้ ้งั แต่อยู่ในครรภ์ ไม่ใชม่ าเร่มิ เมอื่ ออกมาดูโลกแลว้ • นมแม่ นอกจากมีคุณค่ามหาศาลต่อการพัฒนาทุกด้าน; ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา แล้ว ยังเสริมสร้าง “ฐานที่มั่นแห่งความผูกพันไว้ใจ” ให้แม่มีต่อลูกและ ลกู มตี อ่ แม่ อนั เปน็ รากฐานทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ ของการพฒั นา EF • การส่งเสริม EF ในเด็กเล็ก 0-3 ปีนั้น สามารถท�ำได้ในทุกกระบวนการท่ีพ่อแม่ผู้ปกครอง ใช้ชีวิตประจ�ำวันอยู่กับเด็ก นับตั้งแต่ การดูแลการกิน การนอน การกอด การเล่น การสื่อสารและเล่านิทานร้องเพลง การช่วยเหลือตนเอง และการให้เด็กร่วมกิจกรรม งานบา้ นตามความเหมาะสม ในยุคท่ีโลกเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน มีปัจจัยทางลบหรือสิ่งเร้าต่างๆ มากมายท่ีกระทบกระแทก การพัฒนาเด็กของไทย ให้เบี่ยงเบนออกไปจากร่องรอยที่ควรจะเป็น ในการนำ� ความรู้ EF ออกเผย แพร่ คณะท�ำงานฯ จึงได้พัฒนาเคร่ืองมือ “7 วิธีพัฒนาลูกสมวัย สมองดี มี EF” ให้น�ำเสนอวิธีการ พัฒนาเด็กอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือช่วยให้ผู้ท่ีดูแลเด็ก 0-3 ปีไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ผู้ปกครองเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขงานอนามัยแม่และเด็ก หรือครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง สามารถน�ำความรู้ EF ไปใช้เสริมกับความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กที่มีเป็นฐานเดิมอยู่แล้วในสังคมไทยให้เกิดผลดีข้ึน ในตัวเด็กไทยทุกคน ทีส่ �ำคัญทส่ี ดุ เราหวังกนั วา่ พ่อแม่ผปู้ กครองของเดก็ วยั 0-3 ปที กุ คน จะมโี อกาสได้เรยี นรู้กระบวน วิธีการเล้ียงลูกที่ส่งเสริม EF อย่างทั่วถึง เข้าใจง่าย และน�ำไปใช้ได้ง่าย เพื่อสร้างพ้ืนฐานในการน�ำพา เด็กๆ ให้เติบโตเป็นคนท่ีสมบูรณ์ ให้เขาเป็นพลเมืองรุ่นใหม่ท่ี “คิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้เป็น แกไ้ ขปัญหาเป็น อยกู่ บั คนอ่ืนเปน็ และมีความสุขเปน็ ” ในทสี่ ดุ ขอขอบคณุ คณะทำ� งานวชิ าการทกุ ทา่ นทร่ี ว่ มการจดั การความรอู้ ยา่ งแขง็ ขนั ไมเ่ หน็ แกเ่ หนด็ เหนอ่ื ย จนไดอ้ งคค์ วามรทู้ เ่ี ขม้ ขน้ คมชดั และสามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และขอใหเ้ ราไดห้ วงั รว่ มกนั วา่ การพฒั นา เด็กไทยในศตวรรษที่ 21 จะยึดในหลักธรรมชาติของสมองและส่งเสริมการพัฒนาเด็กโดยไม่ท�ำลาย สมองของเด็กไปโดยไมร่ ดู้ ังเชน่ ทผ่ี ่านมา สุภาวดี หาญเมธี สถาบัน RLG (Rakluke Learning Group) โครงการพัฒนาทักษะสมอง เพอ่ื สขุ ภาวะเด็กและเยาวชน ภายใต้การสนับสนนุ ของ สสส.
Executive Functions ตงั้ แต่ปฏสิ นธิ - 3 ปี
Executive Functions ตัง้ แตป่ ฏสิ นธิ - 3 ปี 10
Executive Functions คอื อะไร สำ� คัญต่อชีวิตลกู อยา่ งไร ลูกจะเติบโต มีชีวิตท่ีดี ความคาดหวังของพ่อแม่ต่อลูกน้อยที่เกิดมา นอกจากปรารถนาให้ลูกมี ประสบความ สุขภาพกายใจแข็งแรงสมบูรณ์แล้ว พ่อแม่ต่างวาดหวังว่าลูกจะเติบโตมีชีวิตท่ีดี ส�ำเร็จ ประสบความส�ำเร็จทงั้ ในการเรยี น การท�ำงานและชีวติ ครอบครวั ในฐานะเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญย่ิงต่อการวางรากฐานชีวิตลูก พ่อแม่ควรเรียนรู้ ได้อย่างไร ค้นหาค�ำตอบเพื่อจะได้เล้ียงดูลูกไปในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม สร้างพื้นฐาน ชีวิตที่ดีให้ลูก เมอื่ พดู ถงึ คนทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ เราจะสงั เกตไดว้ า่ เขาเหลา่ นน้ั มคี ณุ ลกั ษณะ ส�ำคัญคล้ายๆ กัน เช่น เป็นคนคิดเป็น ท�ำงานเป็น แก้ปัญหาเป็น มีเป้าหมาย มีการวางแผน และมุ่งม่ันในการท�ำส่ิงต่างๆ ให้ลุล่วง ไม่จนแต้มต่ออุปสรรค ปัญหา ฯลฯ เมื่อมองจากประสบการณ์ในชีวิตจริง มีตัวอย่างให้เห็นชัดเจนว่า คนท่ีคิดเป็น หรือคิดเป็นเหตุเป็นผล เป็นระบบ คิดวิเคราะห์เร่ืองราวต่างๆ ได้ดี เมื่อมีเรื่องต้องตัดสินใจก็มีหลักคิด มีการพินิจพิจารณาไตร่ตรองดี จะสามารถ ตดั สินใจไดเ้ หมาะสม รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ ควบคมุ พฤติกรรมตนเอง คนที่มีคุณลักษณะเช่นนี้ถ้าอยู่ในวัยเรียนก็เรียนได้ดี ถ้าท�ำงานก็ท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ ด�ำเนินชีวิตราบรื่น โดยเฉพาะการด�ำเนินชีวิตในโลกสมัยใหม่ ท่ีต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โลกที่มีความซับซ้อน เต็มไปด้วย สิ่งเร้าเย้ายวน ไม่ว่าเด็ก เยาวชน หรือแม้แต่ผู้ใหญ่ หากไม่มีความยับย้ังช่ังใจ คิดวิเคราะห์ไม่เป็น จะตกเป็นเหยื่อได้ง่าย พาชีวิตไปในทางตรงข้ามกับค�ำว่า ประสบความส�ำเร็จในชวี ติ 11
ปัจจุบันมีการค้นพบแล้วว่า คุณลักษณะของผู้ท่ีจะประสบความส�ำเร็จ ดังตัวอย่างข้างต้นเป็นทักษะความสามารถท่ีเกิดจากการท�ำงานของสมองระดับสูง เรียกว่า ทักษะสมอง EF หรือ Executive Functions of the Brain สมอง ส่วนนี้ต้ังอยู่บริเวณสมองส่วน Prefrontal Cortex ซ่ึงมีบทบาทเสมือน ศูนย์บัญชาการของสมอง ควบคุมการท�ำงานของสมองหลายส่วนให้ท�ำงาน เช่ือมประสานกัน ท�ำให้ประสบการณ์ที่คนเราได้รับผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ เข้าสู่สมองเกิดการน�ำไปวิเคราะห์ แปลความหมาย และสรุปเพ่ือให้เกิดการ ตดั สนิ ใจ การตอบรบั กบั สถานการณน์ น้ั ๆ oFfEuxtnhecectuiBotrinvaesin 12
การท�ำหน้าท่ีของสว่ นตา่ งๆ ของสมอง สมองส่วนหน้า Motor Cortex Executive Functions การเคลอ่ื นไหว การคิด การวางแผน การจัดการ การแก้ปัญหา Sensory Cortex การควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรม การสร้าง ความรู้สึกต่างๆ บุคลิกภาพ Parietal Lobe การรับรู้ การรู้จักโลก การคิดค�ำนวณ การสะกดค�ำ Prefrontal cortex Occipital Lobe การมองเห็น Temporal Lobe การรับรู้ การรู้จักโลก การคิดค�ำนวณ การสะกดค�ำ อธิบายภาพ : รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล 13
Executive Functions (EF) ทักษะสมองเพ่อื จัดการชวี ติ ใหส้ �ำเร็จ คิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอ่ืนเป็น มีความสุขเป็น Initiating MWeomrkoinrgy AFttoecnutsio/n = = = ริเรมิ่ และลงมือทำ� จำ� เพือ่ ใชง้ าน จดจอ่ ใส่ใจ ปทฏักิบษตั ะ ิ OPlragnanniinzgin&g CFloeSgxhni=bifittil/iivtey ทักษะ InChoibn=ittroorly ECmoont=itoronlal ตกทน�ำักกเษอบั ะง พืน้ ฐาน = ยดื หยุ่นความคิด ยงั้ คิด ไตรต่ รอง ควบคมุ อารมณ์ วางแผน จดั ระบบ ด�ำเนินการ GPoearls-idsitreenccteed MoSnie=tolf/ring = ตดิ ตาม มุ่งเปา้ หมาย ประเมินตนเอง copyright©2015 RLG Institute. All right reserved 14
ถอดรหสั -ค�ำส�ำคญั ของ EF คณะท�ำงานวิชาการ สถาบัน RLG ได้ถอดรหสั เพอ่ื สรปุ คำ� ส�ำคัญ (key words) ของ EF เพื่อใหเ้ ข้าใจงา่ ยข้นึ ดังน้ี กล่มุ ทกั ษะพน้ื ฐาน ความจ�ำเพอ่ื ใช้งาน การยั้งคิดไตรต่ รอง การยดื หยุ่นความคิด Working Memory Inhibitory Control Shift /Cognitive Flexibility ✿ จำ� ขอ้ มูลท่ีมคี วามหมาย ✿ หยดุ ..คดิ ไตรต่ รอง ✿ ปรบั เปลีย่ นความคดิ และจดั การกับขอ้ มูลนัน้ กอ่ นทำ� หรือพดู เม่ือเงอื่ นไขเปลย่ี น ✿ คดิ เช่ือมโยงกับ ✿ ชั่งใจ พินิจพจิ ารณา ✿ คดิ นอกกรอบ ประสบการณ์เดิม ✿ ชะลอความอยาก ✿ เหน็ วิธีและโอกาสใหมๆ่ ✿ ประมวลผลใชง้ านตอ่ “อดเปรย้ี วไวก้ ินหวาน” กลุ่มทกั ษะก�ำกับตนเอง การจดจ่อใสใ่ จ การควบคมุ อารมณ์ การตดิ ตามประเมินตนเอง Focus / Attention Emotional Control Self-Monitoring ✿ มงุ่ ใจจดจอ่ ✿ จดั การอารมณ์ได้เหมาะสม ✿ ทบทวนสิง่ ท่ีทำ� ไป ✿ มสี มาธติ อ่ เนื่อง ✿ ม่นั คงทางอารมณ์ ✿ สะทอ้ นผลจากการกระท�ำ ✿ จดจ่ออยา่ งตืน่ ตวั ✿ ไม่ใช้อารมณแ์ กป้ ญั หา ของตนเองได้ ✿ แสดงออกอย่างเหมาะสม ✿ แก้ไขปรบั ปรุงใหด้ ีขน้ึ 15
กลมุ่ ทกั ษะปฏิบัติ การริเริ่มและลงมือท�ำ การวางแผนและจดั การ การมุง่ เปา้ หมาย ทำ� งานใหส้ �ำเรจ็ Initiating Goal-Directed Persistence ✿ คดิ ริเรม่ิ Planning and Organizing ✿ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ✿ ตดั สินใจลงมอื ทำ� ✿ ตง้ั เปา้ หมาย / วางแผน ✿ เกาะติดเป้าหมาย ด้วยตนเอง ✿ จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ✿ พากเพียรอุตสาหะ ✿ ไม่ผัดวนั ประกนั พรุ่ง ✿ จดั ระบบ / ดำ� เนนิ การ ✿ ฝ่าฟันอุปสรรค ✿ บรหิ ารเวลา / บรหิ ารทรพั ยากร ✿ ประเมนิ ผล องค์ประกอบ กลุ่มทกั ษะพ้ืนฐาน EF 3x3 ด้าน 1) ความจ�ำเพอื่ ใช้งาน : Working Memory Working Memory คือความสามารถของสมองท่ีใช้ในการจัดข้อมูลหรือประสบการณ์เดิม ท่ีผ่านมาให้เป็นระบบ และประมวลมาใช้เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ให้เหมาะสม Working Memory ปลกุ ใหข้ อ้ มลู เคลอื่ นไหว แลว้ เลอื กขอ้ มลู ชนิ้ ทเี่ หมาะสม น�ำออกมาใช้ ช่วยให้เราจ�ำข้อมูลได้หลายต่อหลายเร่ืองในเวลาเดียวกัน Working Memory เปน็ ความจำ� ทเ่ี รยี กมาใชง้ านไดน้ ี้ จงึ มบี ทบาทสำ� คญั มาก ในชีวิต ตั้งแต่การคิดเลขในใจ การจดจ�ำสิ่งที่อ่านและจากประสบการณ์การ เรยี นรผู้ ่านส่งิ ที่เดก็ ลงมือทำ� เพือ่ นำ� มาประมวลใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ การจดจ�ำ กติกา ข้อตกลง เพ่ือน�ำมาปฏิบัติ ความสามารถน้ีช่วยให้เด็กจดจ�ำกติกา ในการเลน่ การลำ� ดบั ขั้นตอนในการเก็บของให้เข้าที่ ฯลฯ 16
2) การยงั้ คิดไตรต่ รอง : Inhibitory Control Inhibitory Control คือความสามารถที่เราใช้ในการควบคุม กลั่นกรองความคิดและ Shifting / Cognitive แรงอยากตา่ งๆ จนเราสามารถตา้ นหรอื ยบั ยง้ั สง่ิ ยว่ั ยุ ความวา้ วนุ่ หรอื Flexibility นิสยั ความเคยชินต่างๆ แลว้ หยุดคดิ กอ่ นท่จี ะท�ำ Inhibitory Control ท�ำให้เราสามารถคัดเลือก มีความจดจ่อ รักษาระดับความใส่ใจ จัดล�ำดับความส�ำคัญและก�ำกับการกระท�ำ ความสามารถด้านน้ีจะช่วยป้องกันเราจากการเป็นสัตว์โลกท่ีมีแต่ สัญชาตญาณและท�ำทุกอย่างตามทอี่ ยาก โดยไม่ได้ใช้ความคดิ เป็นความสามารถท่ีช่วยให้เรามุ่งจดจ่อไปที่เร่ืองท่ีส�ำคัญกว่า ชว่ ยใหเ้ ราระวังวาจา พดู ในส่ิงทค่ี วรพูด และเมื่อโกรธเกร้ยี ว เร่งร้อน หงุดหงิด ก็สามารถควบคุมตนเองได้ ไม่ตะโกน ตบตีเตะต่อยคนอื่น และแม้มีความวุ่นวายใจก็ละวางได้ จนท�ำงานต่างๆ ที่ควรต้อง ท�ำได้ลุล่วง ความสามารถน้ีจะช่วยให้เด็กรู้จักอดทน รอได้ รอเป็น ไม่แซงคิว ไม่หยิบฉวยของผอู้ ่ืนมาเป็นของตนเพราะความอยากได้ 3) การยืดหยุ่นความคิด : Shifting / Cognitive Flexibility คอื ความสามารถทจี่ ะ “เปลยี่ นเกยี ร”์ ใหอ้ ยใู่ นจงั หวะทเ่ี หมาะสม ปรบั ตวั เขา้ กบั ขอ้ เรยี กรอ้ งของสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นไป ไมว่ า่ จะเปน็ เวลาเปลี่ยน ลำ� ดบั ความสำ� คัญเปลีย่ น หรอื เปา้ หมายเปล่ยี น ชว่ ยให้ เราปรับประยุกต์กติกาเดิมหรือท่ีคุ้นเคย ไปใช้ในสถานการณ์ที่ แตกตา่ งได้ เปน็ ความสามารถทชี่ ว่ ยใหเ้ ราเรยี นรู้ ไมย่ ดึ ตดิ ตายตวั ชว่ ยใหเ้ รา มองเห็นจุดผิดแล้วแก้ไข และปรับเปล่ียนวิธีท�ำงานด้วยข้อมูลใหม่ๆ ช่วยให้เราพิจารณาสิ่งต่างๆ จากมุมมองที่สด ให้คิดนอกกรอบ นอกกล่อง ความสามารถนี้จะช่วยให้เด็กสนุกกับการปรับเปล่ียน วิธีเล่นให้มีความหลากหลาย แปลกใหม่ ช่วยปรับตัวปรับใจยอมรับ ได้ดใี นสถานการณ์ท่ไี ม่เป็นไปตามทค่ี าดหวงั 17
Focus / Attention กลุม่ ทกั ษะก�ำกบั ตนเอง Emotional Control 4) การใส่ใจจดจอ่ : Focus / Attention คือความสามารถในการรักษาความตื่นตัว รักษาความสนใจ ใหอ้ ยใู่ นทศิ ทางทคี่ วร เพอ่ื ใหต้ นเองบรรลสุ งิ่ ทต่ี อ้ งการจะทำ� ใหส้ ำ� เรจ็ ด้วยความจดจ่อ มีสติรู้ตัวต่อเน่ืองในระยะเวลาที่เหมาะสมตาม สมควรของวัยและความยากง่ายต่อภารกิจนั้นๆ การใส่ใจจดจ่อเป็นอีกคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็นในการเรียนรู้ หรือท�ำงาน เด็กบางคนแม้จะมีระดับสติปัญญาฉลาดรอบรู้ แต่เมื่อ ขาดทกั ษะความสามารถในการจดจอ่ เมอื่ มสี ง่ิ ใดไมว่ า่ สงิ่ เรา้ ภายนอก หรอื จากสง่ิ เรา้ ภายในตนเองกว็ อกแวก ไมส่ ามารถจดจอ่ ทำ� งานตอ่ ไป ได้ เช่นนี้ก็ยากท่ีจะท�ำงานใดๆ ให้ส�ำเร็จ ความสามารถนี้จะช่วยให้ เด็กๆ มสี มาธจิ ดจอ่ กบั การรอ้ ยลกู ปัด ตอ่ บล็อก ฟังนิทานจนจบเร่ือง และท�ำกิจกรรมตา่ งๆ อย่างใสใ่ จ ไม่วอกแวก 5) การควบคมุ อารมณ์ : Emotional Control คอื ความสามารถในการจดั การกบั อารมณข์ องตนเอง รวู้ า่ ตนเอง กำ� ลงั อยใู่ นภาวะอารมณค์ วามรสู้ กึ อยา่ งไร สามารถปรบั สภาพอารมณ์ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ และควบคมุ การแสดงออกทง้ั ทางอารมณ์ และพฤติกรรมได้เหมาะสม เด็กท่ีควบคุมอารมณ์ไม่ได้ อาจกลายเป็นคนท่ีโกรธเกร้ียว ฉนุ เฉยี วงา่ ย ขหี้ งดุ หงดิ ขร้ี ำ� คาญเกนิ เหตุ ระเบดิ อารมณง์ า่ ย เรอื่ งเลก็ กลายเปน็ เรอ่ื งใหญ่ และอาจจะกลายเปน็ คนขก้ี งั วล อารมณแ์ ปรปรวน และซมึ เศรา้ ไดง้ า่ ย ความสามารถนจี้ ะชว่ ยใหเ้ ดก็ ๆ อดทนและใหอ้ ภยั ต่อการกระทบกระท่ังกันเล็กๆ น้อยๆ ในระหว่างเล่นด้วยกันได้ เมื่อไม่พอใจจะหาวิธีแก้ปัญหา ไม่ใช่โวยวาย อาละวาด 18
6) การติดตามประเมินตนเอง : Self-Monitoring Self-Monitoring คือความสามารถในการตรวจสอบความรู้สึก ความคิด หรือ การกระท�ำของตนเองท้ังในระหว่างการท�ำงาน หรือหลังจากท�ำงาน แล้วเสร็จ เพื่อให้ม่ันใจว่า จะน�ำไปสู่ผลดีต่อเป้าหมายที่วางไว้ หากเกิดความบกพร่องผิดพลาดก็จะน�ำไปสู่การแก้ไขได้ทันการณ์ และเป็นการท�ำให้รู้จักตนเองทั้งในด้านความต้องการ จุดแข็งและ จุดอ่อนได้ชัดเจนขึ้น รวมไปถึงการตรวจสอบความคิด ความรู้สึก หรือตัวตนของตนเอง ก�ำกับติดตามปฏิกิริยาของตนเอง และดูผล จากพฤติกรรมของตนทก่ี ระทบต่อผู้อนื่ ความสามารถนจ้ี ะชว่ ยใหเ้ ดก็ ไดท้ บทวนสง่ิ ทท่ี ำ� ไป รสู้ กึ สำ� นกึ ผดิ แล้วปรับปรุงตนเองใหม่ เช่น การพูดท่ีท�ำให้เพื่อนเสียใจ หรือ เมื่อท�ำผลงานเสร็จ ได้ทบทวนเพื่อพฒั นางานใหด้ ีข้ึน กล่มุ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ Initiating 7) การริเริ่มและลงมือท�ำ : Initiating คือความสามารถในการคิดค้นไตร่ตรองแล้ว ตัดสินใจว่าจะต้องท�ำส่ิงน้ันๆ และน�ำส่ิงท่ีคิดมาสู่ การลงมือปฏบิ ัตใิ ห้เกิดผล คนท่กี ลา้ ริเร่ิมนั้นจ�ำเปน็ ตอ้ งมคี วามกล้าหาญ กล้าตดั สนิ ใจ ไมผ่ ัดวนั ประกัน พรุ่ง ต้องกล้าลองผิดลองถูก ทกั ษะนเ้ี ปน็ พน้ื ฐานของความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ จะน�ำไปสู่การพัฒนาส่ิงใหม่ๆ ให้เกิดข้ึน ความ สามารถนี้จะช่วยให้เด็กๆ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ และลงมอื เล่นหรอื ทำ� กจิ กรรม 19
Planning & Organizing 8) การวางแผนและจัดการทำ� งานใหส้ �ำเร็จ : Planning & Organizing คือความสามารถในการปฏิบัติท่ีเร่ิมต้ังแต่การวางแผนท่ีจะต้อง น�ำส่วนประกอบส�ำคัญต่างๆ มาเชื่อมต่อกัน เช่น การต้ังเป้าหมาย การเหน็ ภาพรวมทง้ั หมดของงาน การก�ำหนดกจิ กรรม ฯลฯ เป็นการ น�ำความคาดหวังท่ีมีต่อเหตุการณ์ในอนาคตมาท�ำให้เป็นรูปธรรม วางเป้าหมายแล้วจัดวางขั้นตอนไว้ล่วงหน้า มีจินตนาการหรือ คาดการณ์ในสถานการณ์ต่างๆ ไว้ล่วงหน้า แล้วจัดท�ำเป็นแนวทาง เพือ่ นำ� ไปสู่ความส�ำเร็จตามเป้าหมายต่อไป จากนน้ั จงึ เขา้ ไปสกู่ ระบวนการดำ� เนนิ การ จดั การจนลลุ ว่ ง ไดแ้ ก่ การแตกเปา้ หมายใหเ้ ปน็ ขัน้ ตอน มีการจัดกระบวน ระบบกลไกและ การด�ำเนินการตามแผน ต้ังแต่จุดเริ่มต้นไปจนถึงจุดหมายปลายทาง รวมถึงการบริหารพ้ืนท่ี วัสดุ และการบริหารจัดการเวลาอย่างมี ประสิทธิภาพและยืดหยุ่นเพื่อให้งานส�ำเร็จ ด้วยความสามารถนี้ จะท�ำให้เด็กรู้จักจัดการกับกิจวัตรประจ�ำวัน การวางแผนการเล่น ทไี่ มซ่ ับซอ้ นได้ดว้ ยตนเอง Goal-Directed 9) การมุ่งเป้าหมาย : Goal-Directed Persistence Persistence คือความพากเพียรเพื่อบรรลุเป้าหมาย และจดจ�ำข้อมูลนี้ ไว้ในใจตลอดเวลาที่ท�ำงานตามแผนนั้นจนกว่าจะบรรลุ ซึ่งรวมถึง ความใส่ใจในเรื่องเวลา (Sense of Time) กับความสามารถในการ สร้างแรงจูงใจให้ตนเอง และติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมาย อยา่ งตอ่ เนอื่ ง นน่ั คอื เมอ่ื ตงั้ ใจและลงมอื ทำ� สง่ิ ใดแลว้ จะมงุ่ มนั่ อดทน เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ไมว่ า่ จะมอี ปุ สรรคใดๆ กพ็ รอ้ มฝา่ ฟนั จนสำ� เรจ็ ความสามารถน้ีจะท�ำให้เด็กๆ เม่ือท�ำส่ิงใดก็จะมุ่งม่ันท�ำโดย ไม่ย่อท้อ เช่น ความพยายามที่จะข้ึนบาร์โค้งให้ได้ ความพยายาม ทจี่ ะผูกเชอื กรองเท้าจนสำ� เรจ็ ความต้ังใจทีจ่ ะกนิ ขา้ วจนหมดจาน 20
จะเห็นว่าคุณลักษณะของทักษะสมอง EF เหล่าน้ีมีความ การสร้างพ้ืนฐาน สอดคล้องกบั ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั การดำ� เนินชีวิตในโลกศตวรรษท่ี ตทัก้ังษแะสตมอ่แงรEกFเรใหิ่ม้ลูกขอหงลชาีวนิต 21 ซึ่งเป็นยุคที่คนเราต้องมที กั ษะในการคิดวเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ กลา้ คดิ รเิ รม่ิ ยดื หยนุ่ ปรบั ตวั มเี ปา้ หมาย และกำ� หนดชวี ติ ตนเอง ฯลฯ เท่ากับเป็นการสร้าง ดังนั้น การสร้างพื้นฐานทักษะสมอง EF ให้ลูกหลานตั้งแต่แรกเร่ิม ของชวี ติ จะเทา่ กบั เปน็ การสรา้ งรากฐานชวี ติ ทแ่ี ขง็ แรงใหก้ บั ลกู หลาน ใรหา้กับกลฐูกหาลนานทไป่ีแขต็งแลรงอดชีวิต ของเรา เพอ่ื ท่จี ะดำ� เนนิ ชวี ติ ในโลกปัจจบุ นั และอนาคตไดอ้ ย่างดี © RLG Institute 21
22
ทกั ษะสมอง EF เร่ิมพฒั นาข้นึ ในชว่ งวยั ใด กทัการษปะสูพมอ้นื งฐEาFน เดิมเข้าใจกันว่าทักษะสมอง EF พัฒนาในเด็กวัยเรียน แต่ปัจจุบันยอมรับกัน ที่ดียังสามารถ แล้วว่าไมใ่ ชเ่ ชน่ นัน้ พบวา่ ช่วงเวลาวิกฤตในการสร้างพื้นฐานทักษะสมอง EF คือช่วงวัยแรกเริ่ม เริ่มได้ตั้งแต่ ของชีวติ นนั่ เอง ประสบการณใ์ นช่วงแรกเรม่ิ ของชีวติ จะกำ� หนดทักษะสมอง EF ในครรภ์มารดา ของเดก็ คนนน้ั เมอื่ โตและเป็นผู้ใหญ่ การสร้างพนื้ ฐานทกั ษะสมอง EF ทแ่ี ข็งแรง ในชว่ งแรกของชีวิต จะส่งผลต่อทกั ษะสมอง EF ไปตลอดชีวิต หรอื อาจพดู ไดว้ า่ หากเร่มิ พฒั นาทักษะสมอง EF เมื่อเด็กโตแล้วอาจจะสายไป ยิ่งไปกว่านั้น พบว่า การปูพ้ืนฐานทักษะสมอง EF ท่ีดียังสามารถเร่ิมได้ต้ังแต่ ในครรภม์ ารดา นบั ตงั้ แตป่ ฏสิ นธเิ ลยทเี ดยี ว ในชว่ งทเ่ี ปน็ ทารกในครรภ์ สมองของลกู มกี ารกอ่ รปู อยา่ งรวดเรว็ มาก มกี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงแทบเรยี กไดว้ า่ เปลยี่ นวนั ตอ่ วนั ถ้าพ่อแม่มีความรู้เก่ียวกับทักษะสมอง EF ก็จะช่วยดูแลให้การสร้างสมองของลูก ในครรภเ์ ปน็ ไปดว้ ยดี ลกู มสี มองทส่ี มบรู ณแ์ บบ เมอ่ื เกดิ มาพรอ้ มจะเรยี นรแู้ ละพฒั นา ในวัยต้นของชีวิตนี้ ทักษะสมอง EF ของลูกยังไม่ปรากฏชัดเจนเหมือน ในเด็กโต แต่เป็นช่วงเตรียมความพร้อมให้ลูกมีพัฒนาการทุกด้าน เพื่อการพัฒนา ด้านการคิด และการควบคุมอารมณ์ของตนเองในช่วงวัยถัดไป 23
เด็กวัย 0-3 ปี ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญพัฒนาของทักษะสมอง EF ในวัยแรกเริ่ม พ่อแม่เป็นหลักในการ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเจริญพัฒนาของทักษะสมอง EF แบ่งออกเป็น 2 ปจั จยั หลกั คอื ปจั จยั ตามธรรมชาติ (Nature) และ ปจั จยั จากสงิ่ แวดลอ้ ม (Nurture) เป็นคเลนี้ยสงดำ� ูพคอ่ ัญแมท่ีสจ่ ุดึง ปัจจัยตามธรรมชาติ ได้แก่ ในการพัฒนา 1) พันธุกรรม ทักษะสมอง EF ของลูก 2) ความแข็งแรง ความปกติของสรีระและสมองตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา การตั้งครรภ์เป็นไปด้วยดี ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงที่กระทบต่อการก่อร่างสร้างสมอง เช่น ความเครียดหรือการขาดสารอาหารท่ีส�ำคัญ แต่ได้รับปัจจัยเสริมโดยพ่อแม่ พยายามส่ือสารสรา้ งความรกั ความผกู พนั กบั ลูกในครรภ์ 3) พนื้ อารมณห์ รือลักษณะนสิ ัยของเดก็ แตล่ ะคน ปจั จัยจากสงิ่ แวดล้อม ไดแ้ ก่ การเล้ียงดูของพ่อแม่ การตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานทางร่างกาย และจิตใจ การจัดสิ่งแวดล้อมและมีวิธีการดูแลเด็กที่เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก พอ่ แมม่ ที กั ษะสมอง EF ในการดแู ลเด็ก หลักการส�ำคัญในการพัฒนาฝึกฝนทักษะสมอง EF ของลูกวัย 0-3 ปี กอ่ นอื่น พ่อแมต่ ้องตระหนกั วา่ ✪ ทักษะสมอง EF เป็นส่วนส�ำคัญในการท�ำงานของสมอง แต่ไม่ใช่เพียงปัจจัย เดียวที่จะน�ำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพ ดังน้ัน นอกจากการ พัฒนาทักษะสมอง EF แล้ว ต้องเห็นภาพรวมการพัฒนาของพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ พัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ร่วมไปด้วย ✪ เด็กวัย 0-3 ปี พ่อแม่เป็นหลักในการเล้ียงดู พ่อแม่จึงเป็นคนส�ำคัญที่สุด ในการพัฒนาทักษะสมอง EF ของลกู 24
✿ การพัฒนาทักษะสมอง EF เป็นเร่ืองที่ต้องพัฒนาเป็นรายบุคคล พฒั นาแตกตา่ งกนั ไปได้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารเดยี วกนั กบั เดก็ ทกุ คน ✿ สำ� หรบั พอ่ แมแ่ ลว้ การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งลงลกึ กับเนื้อหาวิชาการหรือยึดติดงานวิจัย ควรยึดแค่หลักและน�ำมา ประยกุ ตใ์ หเ้ ปน็ เรอ่ื งง่ายๆ ในชวี ติ ประจำ� วัน ✿ พฒั นาทกั ษะสมอง EF ตามธรรมชาตขิ องพฒั นาการแตล่ ะชว่ งวยั พ่อแม่ต้องมีความรู้เร่ืองพัฒนาการสมองและจิตวิทยาพัฒนาการ กลา่ วคอื รวู้ า่ ชว่ งเวลาใดเปน็ ชว่ งทเี่ ดก็ พรอ้ มจะพฒั นาอะไร ชว่ งเวลา ใดสมองพฒั นาอยา่ งไร โดยอาศยั เกณฑม์ าตรฐาน เชน่ คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (Developmental Surveillance and Promotion Manual – DSPM) โดยกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ซึ่งสามารถปรับใช้ให้เหมาะกับลูกของตนหรือกับเด็ก แตล่ ะคนได้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจวา่ ทำ� ไมลกู จงึ มพี ฤตกิ รรมตา่ งๆ และควรจะ พูดคุยอย่างไรเพ่ือตอบสนองความต้องการและส่งเสริมพัฒนาการ ของลูกไดอ้ ย่างเหมาะสม ✿ ตอ้ งฝกึ อยา่ งต่อเน่ืองในชวี ิตประจำ� วัน ✿ การฝกึ ตอ้ งทำ� ใหเ้ กดิ ความสนกุ ความสขุ ทงั้ พอ่ แมแ่ ละลกู บรรยากาศ ไมเ่ คร่งเครียด (Positive Informative Message) 25
การเลี้ยงดูท่ีส่งเสริมทักษะสมอง EF ของลูกวัย 0-3 ปี ปัจจัยที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF ในช่วงวัยนี้ คือ ส่ิงแวดล้อม ซ่ึงสิ่งแวดล้อม ที่ส�ำคัญท่ีสุดของลูกวัยน้ีก็คือพ่อแม่น่ันเอง การเล้ียงดูและปฏิสัมพันธ์ของพ่อแม่ กบั ลกู จงึ มคี วามสำ� คญั อยา่ งมาก การมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ (ี Responsive Relationship & Positive Relationship) จะสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตของสมองลกู ทำ� ใหส้ มองลกู มีโครงสร้างและวงจรสมองท่ีดี แข็งแรง รวมทั้งท�ำให้ลูกมีสุขภาพกายใจที่ดี ในทางตรงข้าม หากพ่อแม่มีปฏิสัมพันธ์เชิงลบกับลูกในช่วงวัยน้ี จะท�ำให้ลูก มพี น้ื ฐานทักษะสมอง EF ทอ่ี อ่ นแอได้ การเลยี้ งดทู ่ีทำ� ให้ลกู มีทกั ษะสมอง EF ทด่ี ีคอื การสร้างสภาพแวดล้อมหรือการเลี้ยงดูท่ีมีการตอบสนอง ซึ่งกนั และกนั (Responsive Environment) พอ่ แม่ ผู้เลย้ี งดใู ห้ความรกั ความเอาใจใส่ โอบกอด พูดคุย มองตา เล่นกับลูก ในทางตรงข้าม ถ้าเด็กได้รับการเล้ียงดูแบบไม่มีปฏิสัมพันธ์ ไมม่ กี ารกระตนุ้ ความสมั พนั ธส์ องทาง เชน่ แมใ่ หน้ มไปดว้ ยเลน่ โทรศพั ท์ ไปด้วย พ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ท้ังหลาย เช่น ปล่อยลูกไว้กับทีวี คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ตโฟน ฯลฯ หรือ กลุ่มเด็กท่ีถูกทอดท้ิง เด็กก�ำพร้า ไม่ได้รับการโอบกอดสัมผัส สมองส่วนที่เก่ียวข้องกับทักษะ EF ก็จะไม่ได้รับการกระตุ้นพัฒนา สภาพแวดลอ้ มทต่ี อบสนองเดก็ นย้ี งั รวมถงึ การตอบสนองความตอ้ งการ พื้นฐานทง้ั ทางร่างกายและจิตใจของเดก็ ด้วย 26
พ่อแม่มีความสัมพันธ์เชิงบวก หรือความสัมพันธ์ท่ีดีกับลูก (Positive Relationship หรอื Supportive Relationship) พ่อแม่รู้จักรู้ใจลูก สามารถช่วยให้ลูกจัดการกับอารมณ์ ตนเอง (Emotional Support) เชน่ ลกู รอ้ งไหโ้ ยเยแลว้ พอ่ แมป่ ลอบ ประโลม แสดงความเขา้ ใจอารมณข์ องลกู และอนญุ าตใหล้ กู มอี ารมณ์ ดังกล่าวได้ แล้วจึงสอนการควบคุมอารมณ์ ในทางตรงข้าม หาก ลูกร้องแล้วพ่อแม่ดุให้เงียบทันที เป็นการตอบสนองที่ไม่ช่วยให้ ลูกเรียนรูก้ ารจัดการอารมณ์ที่ถูกต้อง ทั้งสองปัจจัยนี้จะช่วยสร้างเส้นใยประสาทที่จะพัฒนาเป็น พื้นฐานทักษะสมอง EF ที่ดีไปตลอดชีวิต ท้ังเสริมทักษะทางสังคม อารมณ์ การเรียนรู้ รวมถึงการเจริญเติบโตทางร่างกายที่ดีด้วย ถ้าพ่อแม่หรือผู้ก�ำลังจะเป็นพ่อแม่ได้มีความรู้เร่ืองการพัฒนาทักษะสมอง EF และพัฒนาการแต่ละช่วงวัยของลูก จะท�ำให้การเล้ียงดูลูกง่ายขึ้นอีกมาก และจะมกี ารตอบสนองลูกอยา่ งเหมาะสม เป็นไปในเชงิ บวก 27
บทบาทของทักษะสมอง EF ทสี่ ง่ ผลต่อชีวติ ในมติ ิต่างๆ รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกลุ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นทักษะสมอง EF จากศูนยว์ จิ ัยประสาทวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะท�ำงานวิชาการสถาบัน RLG ได้รวบรวมข้อมูลวิจัยจาก ตา่ งประเทศ เพอื่ สรปุ ใหเ้ หน็ ความเกยี่ วขอ้ งของทกั ษะสมอง EF ทม่ี ตี อ่ ชวี ติ ในมติ ติ า่ งๆ ไมว่ า่ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม สตปิ ัญญา ไวด้ งั น้ี ด้านสติ ปัญญา ดา้ นร่างกาย ด้านสังคม EF ที่บกพร่องจะเกี่ยวข้องกับโรคอ้วน ด้านอารมณ์ การกินอาหารมากไป การเสพติดสารต่างๆ จิตใจ และเม่ือเจ็บป่วยก็ไม่รักษาตัวต่อเน่ือง อัตราการบกพร่องใน EF สัมพันธ์กับ Crescioni et al.2011, Miller et al.2011, การมีงานท�ำและอาชีพการงาน การเรียน Riggs et al.2010 ต่อเน่ือง ความส�ำเร็จในการเรียน รายได้ ครอบครวั ความพงึ พอใจในชวี ติ คู่ การเปน็ คนท่ีมีความยับยั้งชั่งใจต่�ำ สขุ ภาวะ พอ่ แม่ สขุ ภาวะทางจติ ของลกู ความเส่ยี ง ขาดส�ำนึกรู้ตัวในวัยเด็ก จะมีอายุส้ันกว่า องค์รวมตลอด ในการขบั รถ ปญั หาการเงนิ และการไดร้ บั ด้วยโรคเลือดในหัวใจหรือมะเร็ง เพราะ ความเช่ือถือทางการเงิน พฤติกรรมผิด ใช้ชีวิตไปตามความอยากหรือแรงเร้า ช่วงชีวิต กฎหมาย อัตราการถูกจับ ความใส่ใจต่อ มักมีพฤติกรรมติดเหล้า สูบบุหรี่ สุขภาพและภาวะจิตเภท (รวมเป็นการ ไม่คุมน�้ำหนัก ไม่ออกก�ำลังกาย ศึกษาความบกพร่องในชวี ิต 15 ดา้ น) ไม่จัดการกับคอเลสเตอรอล เป็นต้น Barkley, 2011a; Barkley & Fischer, 2011; งานวิจยั ระยะยาว ของ Friedman et al.,1995 Barkley & Murphy,2010,2011) 28
ความพร้อมแรกเขา้ เรียน : EF ส�ำคัญต่อความพรอ้ มในการ EF เป็นเครื่องท�ำนายความส�ำเร็จในการ เรยี นยง่ิ กวา่ IQ หรอื ความสามารถในการอา่ นและคดิ คำ� นวณ เรียน การเข้าร่วมกิจกรรมกับโรงเรียน ในระดับแรกเขา้ เรยี นในชนั้ ประถม และสุขภาวะ EF เป็นเครื่องท�ำนายทักษะ ทางสังคม ความสัมพันธ์กับครูและเพ่ือนๆ Blair &Razza 2007, Morrison et al.2010 ท�ำนายฐานะการเงิน รายได้ในอนาคตและ อตั ราการทำ� ผิดกฎหมาย ความส�ำเร็จในการเรียน : EF พยากรณ์ความสามารถทั้ง คณติ ศาสตร์ การอา่ น ตลอดชว่ งการศกึ ษาในระดับต่างๆ Moffitt TE, Arseneault L, Belsky D, et al. 2011 Borella et al.2010, Duncan et al.2007, Gathercole et al.2004 สัมพันธภาพในชีวิตคู่ คู่สมรสที่มี EF ไม่ดี จะอยู่ด้วยกันยากกว่า พ่ึงพิงไม่ค่อยได้ มหี ลกั ฐานมากขนึ้ เรอ่ื ยๆชช้ี ดั วา่ ความจำ� เพอื่ ใชง้ าน (Working ใช้อารมณ์ หุนหันพลนั แลน่ Memory) กับการยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) เป็นส่ิงท่ีบอกถึงความส�ำเร็จหลังจบจากโรงเรียนแล้ว ได้ดี Eakin et al. 2004 ย่ิงกวา่ การทดสอบ IQ คนที่ EF อ่อนแอ น�ำไปสู่ปัญหาสังคม Diamonds,A.(2008) อาชญากรรม พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง และการระเบดิ อารมณ์ พบ EF บกพร่องในความผิดปกตทิ างจติ หลายดา้ น • การเสพติด (Baler&Volkow 2006) Broidy et al.2003, Denson et al.2011 • ADHD (สมาธสิ ้นั ) (Diamond 2005, Lui&Tannock, 2007) • Conduct Disorder (พฤติกรรมเกเร) (Fairchild et al, 2009) EF ทไ่ี มด่ ี น�ำไปสู่ผลิตผล (Productivity) • Depression (ซมึ เศรา้ ) (Taylor&Tavares et al, 2007) ที่ไม่ดี หางานยากและรักษางานไว้ได้ยาก • Obsessive Compulsive (ยำ�้ คดิ ยำ้� ท�ำ) (Penadeset al, 2007) • Schizophrenia (โรคจติ เภท) (Barch, 2005) Bailey 2007 การสง่ เสรมิ EF ทุกด้านช่วยให้เดก็ มีทักษะการ ปรบั ตัวและฟื้นตวั เมื่อเผชญิ กบั เหตกุ ารณ์วกิ ฤต สามารถกลับมาเข้มแข็งไดใ้ หม่ = ลม้ แลว้ ลุก Greenberg M.2007 29
สรุปแนวทางการพัฒนาพื้นฐานทักษะสมอง EF ลูกวัย 0-3 ปี เนื่องจากลูกวัย 0-3 ปี คือนับต้ังแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาไปถึงแรกเกิดและ จนกระท่ัง 3 ปี พ่อแม่เป็นบุคคลท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาทักษะสมอง EF ของลูกโดยตรง โดยในการเล้ียงดูลูกอาจมีคนในครอบครัวช่วยเหลือ เช่น ปู่ย่า ตายาย พี่เล้ียงเด็ก ฯลฯ ซ่ึงพ่อแม่รวมท้ังคนในครอบครัวท่ีใกล้ชิดเด็กน้ีควรต้อง มีความรู้เรื่องทักษะสมอง EF และพัฒนาการเด็ก เพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไป อยา่ งสอดคลอ้ งกนั ทำ� ใหผ้ ทู้ ไ่ี ดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ กค็ อื ตวั เดก็ นนั่ เอง สำ� หรบั วธิ กี าร พฒั นาทกั ษะสมอง EF ลูกวยั 0-3 ปี มีแนวทางหลักๆ ดงั น้ี ✪ ดูแลการตั้งครรภ์ให้เป็นไปอย่างราบรื่น มีคุณภาพ ขจัดหรือหลีกเล่ียง ปจั จยั ลบทจี่ ะสง่ ผลกระทบ ขดั ขวางการเจรญิ เตบิ โตของพฒั นาการสมอง ของทารก เช่น ความเครยี ด การขาดสารอาหาร ฯลฯ พ่อแมร่ วมทั้ง ✪ บูรณาการการพัฒนาทักษะสมอง EF ควบคู่ไปกับพฤติกรรมพัฒนาการ คนในครอบครวั ในชีวิตประจ�ำวัน ความรู้ในเร่ืองพฤติกรรมพัฒนาการจะช่วยให้พ่อแม่ ฝึกทักษะสมอง EF ควบคู่ไปกับพัฒนาการได้ เช่น พัฒนาการของเด็ก ท่ีใกล้ชิดเด็กควรต้อง วัย 9-10 เดือน สามารถใช้นิ้วหยิบของชิ้นเล็กๆ ได้ พ่อแม่อาจจะ หั่นแครอตช้ินเล็กๆ ให้ลูกหยิบกินเอง หรือพ่อแม่พูด “หม่�ำ หม�่ำ” มีความรเู้ รื่อง เป็นการฝกึ ภาษาใหก้ ับลกู เหลา่ นี้ลว้ นพฒั นาทกั ษะสมอง EF ดว้ ย ทักษะสมอง EF ✪ เดก็ เรียนร้ไู ดด้ ีจากการใชป้ ระสาทสมั ผัส การพฒั นาระบบประสาทสมั ผัส และพฒั นาการเด็ก ดา้ นตา่ งๆ จะเปน็ พน้ื ฐานใหเ้ ดก็ พฒั นาดา้ นภาษาตอ่ ไป ซง่ึ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF พ่อแม่จึงควรให้ลูกได้ใช้ประสาทสัมผัส เพอื่ เรยี นรจู้ ากกจิ กรรมในชวี ติ ประจำ� วนั และจากการปฏสิ มั พนั ธก์ บั พอ่ แม่ โดยพอ่ แมม่ กี ารสื่อสารทีด่ ี สือ่ สารด้วยความเขา้ ใจกบั ลูก 30
✪ เด็กวยั 0-3 ปี เป็นวยั ทก่ี �ำลงั กอ่ รูปความรกั ความผกู พนั (Attachment) กับพ่อแม่ ผู้ดูแล ดังนั้น ส่ือเรียนรู้ที่ส�ำคัญคือตัวพ่อแม่ซึ่งมีความส�ำคัญ กว่าของเล่นหรือเครื่องมือกระตนุ้ พฒั นาการใดๆ ถา้ พ่อแมส่ ามารถสรา้ ง ความผกู พนั ใหเ้ กดิ กบั ลกู ได้ ไมว่ า่ จะสอนอะไร รวมทงั้ การฝกึ ทกั ษะสมอง EF กจ็ ะไดผ้ ลดี ✪ เลย้ี งลกู ดว้ ยการสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวก ดแู ลใหค้ วามรกั ความเอาใจใส่ (Positive Discipline) จะทำ� ให้ลกู พัฒนาทักษะสมอง EF โดยหลกี เลย่ี งการลงโทษ ท้ังทางร่างกายและจิตใจ (Corporal Punishment) เพราะจะมีผล ให้ทักษะสมอง EF ของลูกอ่อนแอ ✪ พบว่าเด็กท่ีใช้สองภาษาอย่างเป็นธรรมชาติ เช่น พ่อพูดภาษาจีน แม่พูด ภาษาไทย ลูกจะมีทักษะสมอง EF ท่ีดี เพราะเด็กมีการใช้วงจรประสาท ดา้ นภาษามากกวา่ ปกติ แตท่ งั้ นเี้ ปน็ ทสี่ ภาพแวดลอ้ มทก่ี ระตนุ้ การพดู แบบ ธรรมชาติ ใชใ้ นชวี ิตประจำ� วนั ไมใ่ ชก่ ารนำ� เดก็ วัยเล็กไปเรง่ หรือฝกึ ภาษา ในห้องเรียน ✪ มีการคิดค้น Baby Sign Language หรือการใช้ภาษากาย ภาษามือ กับลูกที่ยังพูดไม่ได้เพ่ือช่วยให้พ่อแม่ตอบสนองลูกได้ดีขึ้น เน่ืองจาก เด็กเล็กยังไม่มที กั ษะทางดา้ นภาษาท่ีจะสามารถสื่อความตอ้ งการได้ เชน่ เวลาลกู หวิ เวลาอยากได้อะไร อยากไปไหน จะหาใคร เปน็ ตน้ หากพ่อแม่ เรียนรู้ ฝึกการใช้ Sign Language และใช้ภาษาท่าทางกับลูก กจ็ ะช่วยให้ พอ่ แมเ่ ขา้ ใจและตอบสนองความตอ้ งการของลกู ไดด้ ขี นึ้ ซง่ึ การตอบสนอง ทด่ี จี ะสรา้ งความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั ลกู อนั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการพฒั นา ทักษะสมอง EF นอกจากนี้เม่ือลูกฝึกใช้ Sign Language ก็จะเป็นการ ปพู ื้นฐานทักษะสมอง EF เช่น Inhibit, Working Memory และ Shifting ไดด้ ้วย 31
2 ทักษะสมอง EF ดีได้ตง้ั แตใ่ นครรภ์ 32
พัฒนาการสมองของทารกในครรภ์ ครรภข์ องแม่ เปรียบเสมือนโรงงาน การตั้งครรภ์ของแม่เปรียบเสมือนโรงงานผลิตฮาร์ดแวร์หรือเคร่ืองมือท่ีลูก สร้างสมองลกู จะใช้ในการรับรู้สิ่งแวดล้อมทั้งในช่วงที่อยู่ในครรภ์และจะใช้ต่อไปตลอดชีวิต แน่นอนว่าทักษะสมอง EF ของลูกในครรภ์อาจไม่ได้แสดงออกให้เห็น แต่ก็เป็น ช่วงเวลาส�ำคญั เพราะฮารด์ แวรห์ รอื สมองของลกู กำ� ลงั ก่อร่างสรา้ งตัว เพราะฉะนนั้ โรงงานนห้ี รอื ครรภข์ องแมจ่ ะตอ้ งมคี วามพรอ้ ม และให้ Input ท่ีดีท่ีเอ้ือต่อการเจริญงอกงามของสมอง ปราศจากปัจจัยลบมากระทบ กระบวนการสร้างสมองของลกู กระบวนการพัฒนาสมองและระบบประสาท (Nervous System) ของลูกในครรภ์ “กรุงโรมไม่ได้สร้างในวันเดียวฉันใด สมองของเด็กก็ฉันน้ัน” การก่อร่างสร้าง สมองของทารกในครรภ์เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง เริ่มจากการ ผสมกันของไข่กับสเปิร์มเป็นตัวอ่อน กลายเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว พัฒนาจน มีลักษณะคล้ายมนุษย์ขนาดเล็ก กระท่ังพร้อมที่จะเกิดมา ภายใต้กระบวนการ มากมายที่มีความสลับซับซ้อน และขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น พันธุกรรม สภาพแวดลอ้ ม ฯลฯ 33
กระบวนการพัฒนาสมองของทารกในครรภ์ แบ่งเป็น 3 ระยะ แต่ละระยะมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาดังนี้ 3 months ช่วงเวลา 3 เดอื นแรกของการตง้ั ครรภ์ (First Trimester) ในชว่ งนเ้ี ปน็ ระยะเวลาของการสรา้ งโครงสรา้ งสมองหลกั ๆ เรมิ่ จากทอ่ ประสาท (Neuron Tube) อวัยวะท่ีเป็นพ้ืนฐานของระบบประสาท มีลักษณะเป็นท่อหรือ หลอดยาวๆ หลังจากนั้นส่วนหน้าจะเริ่มมีการขยายเป็นกระเปาะ เกิดข้ึนในช่วง ต้ังครรภ์ 3 สัปดาห์แรก แล้วพัฒนาเป็นสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลางและ สมองส่วนหลังเม่ืออายุครรภ์ประมาณ 1 เดือน และจะมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ไปจนกระท่ังคลอด ปจั จยั หลกั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การสรา้ งสมองในชว่ งนคี้ อื พนั ธกุ รรม ปจั จยั รองเปน็ ปจั จยั ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การได้รับสารพิษ การได้รับรังสี การขาดโฟเลต (กรดโฟลิค) ซึ่งมีความส�ำคัญต่อการเติบโตของสมองและเซลล์ประสาทไขสันหลัง อาจรบกวน กระบวนการสร้างโครงสร้างของสมองให้ผดิ ปกตไิ ด้ 3-6 months ชว่ งเวลา 3-6 เดอื นของการตง้ั ครรภ์ (Second Trimester) สมองจะมีการพัฒนาขยายขนาดใหญ่ขึ้นและสร้างรอยหยัก หรือร่องสมองในต�ำแหน่งหลักๆ ก่อน เช่น รอยแยกระหว่างสมอง ส่วน Frontal กับ Temporal รอยหยักตรงกลางท่ีแยกสมองส่วน Frontal และ Parietal ในชว่ งนส้ี มองเนน้ การจดั รปู แบบการกระจาย ตัวของเซลล์ประสาท ซึ่งเดินทางไปอยู่ในต�ำแหน่งท่ีควรจะเป็น ทำ� ใหเ้ กดิ การจดั ชน้ั ของสมอง เกดิ รอยหยกั สมอง โรคทางพนั ธกุ รรม บางโรคท�ำให้การเดินทางของเซลล์ประสาทในระยะนี้ไม่เกิดขึ้น สมองไมเ่ รียงตวั เปน็ ชน้ั ไมม่ ีหยกั เกิดความผิดปกติของพฒั นาการ 34
ชว่ งเวลา 6-9 เดอื นของการตัง้ ครรภ์ (Third Trimester) 6-9 months ช่วงสุดท้ายของการพัฒนาสมองของทารกในครรภ์ เน้นการ กระจายตวั ของเซลลป์ ระสาท เมอ่ื กระจายตวั ไปอยใู่ นตำ� แหนง่ ทค่ี วร จะเป็นแล้ว แต่ละเซลล์ก็เร่ิมส่งสัญญาณเชื่อมต่อกัน สมองจึงมี รอยหยักและขนาดเพ่ิมข้ึนอย่างมาก มีรูปแบบใกล้เคียงกับสมอง ทีส่ มบูรณแ์ ล้ว ในกระบวนการสร้างสมองท้ัง 3 ระยะ การเช่ือมโยงของ วงจรประสาท (Synaptic Connection) เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาสมอง ท�ำหน้าที่เช่ือมต่อเซลล์ประสาทแต่ละเซลล์ เซลล์ประสาทจะปล่อยสารเคมี สื่อจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปสู่ อกี เซลล์หน่ึง ท�ำให้สมองเกดิ การทำ� งาน แต่ที่ควรทราบคือ การพัฒนาของ Synapse ไม่ได้เกิดขึ้น พรอ้ มๆ กันในทกุ สว่ นของสมอง สมองสว่ นทม่ี ีการท�ำงานพ้ืนฐาน เชน่ การไดย้ นิ การเคลอ่ื นไหวจะเปน็ สว่ นทพี่ ฒั นากอ่ น ตามมาดว้ ย สมองส่วนภาษา และทักษะสมอง EF เป็นส่วนที่พัฒนาในช่วงหลัง แม้ว่าหลักการพัฒนาสมองเป็นเช่นน้ี แต่ไม่ได้หมายความว่าเราไม่ สามารถทำ� อะไรได้ เพยี งแตช่ ว่ งแรกสมองทำ� งานในเรอื่ งของการไดย้ นิ เสยี งซงึ่ จะนำ� ไปสเู่ รอื่ งภาษาและการพดู และกระบวนการคดิ จะคอ่ ยๆ เกิดตามมาภายหลัง 35
กระบวนการพัฒนาสมองขัน้ พื้นฐาน 5 กระบวนการ 1. Neurogenesis 4. Synaptogenesis เปน็ กระบวนการสร้างเซลลป์ ระสาท เปน็ กระบวนการสรา้ งเครือขา่ ยเสน้ ใยประสาท ซึ่งเปน็ ขัน้ ตอนแรกในการพัฒนาสมอง เชอื่ มต่อ Synapse เรม่ิ ข้นึ ต้งั แตท่ ารกยังอยู่ในครรภ์ และเสร็จสมบรู ณก์ อ่ นทท่ี ารกจะคลอดออกมา สภาวะชว่ งต้งั ครรภ์รวมถงึ อณุ หภูมิ ความดนั และการเคล่อื นไหวของทารกในครรภ์ เชน่ การเตะ 2. Neural Migration มสี ่วนช่วยกระตุ้นใหเ้ กดิ กระบวนการน้ี Synaptogenesis เป็นกระบวนการทม่ี ตี ่อเน่อื งตลอดชวี ติ การโยกยา้ ยเซลล์ประสาท เปน็ กระบวนการ จดั ระเบียบสมองโดยการย้ายเซลลป์ ระสาท 5. Pruning ไปยังพน้ื ทีท่ รี่ ะบตุ ามหนา้ ทข่ี องเซลล์เหล่านี้ กระบวนการตัดแต่งกงิ่ สมอง เป็นกระบวนการ 3. Myelination จดั การกับการเช่อื มตอ่ เซลล์ประสาทท่ไี มจ่ �ำเป็น หรือทไ่ี มไ่ ดใ้ ช้งาน และเสรมิ สร้างความแข็งแรง เป็นกระบวนการเคลือบ Axon ของ ของส่วนท่ที �ำงานอย่เู สมอ การฝกึ เด็กให้ท�ำสิง่ ตา่ งๆ แตล่ ะเซลล์ประสาท โดยเน้อื เย่ือไขมนั ท่ีเรียกวา่ ซ้�ำๆ ท�ำให้สมองได้ใชว้ งจรประสาทน้ันบ่อยๆ ไมอลี ิน (Myelin) ซึง่ ช่วยใหก้ ารส่งสญั ญาณประสาท จนท�ำงานเปน็ อัตโนมตั ิ เชน่ การฝึกใหเ้ ดก็ รจู้ ักยบั ยงั้ ทำ� งานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น กระบวนการนี้ เดก็ ทไ่ี ดร้ บั การฝกึ บ่อยๆ เวลาเผชิญเหตุการณ์ จะเร่ิมข้ึนตง้ั แตอ่ ยใู่ นครรภ์ ถ้าแมต่ ้ังครรภอ์ ารมณด์ ี ที่ต้องหยดุ ต้องคดิ ต้องควบคุมตวั เอง จะท�ำไดด้ กี ว่า ได้รบั สารอาหารท่ดี ี จะท�ำให้ลกู เกิดมาพรอ้ มกับการ เดก็ ทไ่ี ม่เคยฝกึ มา ซึ่งวงจรประสาทส่วนของการ พัฒนาของไมอลี ินอย่างมาก ทำ� ให้เซลล์ประสาท หยุดคิดในเด็กทไ่ี มไ่ ดร้ ับการฝึก ไมไ่ ดใ้ ชง้ าน ส่งสญั ญาณไปได้เรว็ กระบวนการ Myelination ในทส่ี ุดก็จะค่อยๆ ฝ่อไป ของเซลลป์ ระสาทบริเวณก้านสมองและสมอง Cerebellum ก็เร่ิมตง้ั แต่ในครรภ์เช่นกนั และจะเจรญิ เตบิ โตเต็มทตี่ อ่ เน่ืองไปยงั บรเิ วณ สมองส่วน Frontal เมอื่ ถึงวัยรนุ่ ตอนปลาย 36
เซลล์ประสาท เดนไดรท์ (Dendrite) ไซเนปส์ (Synapses) เย่ือไขมัน (Myelin) 37
ศักยภาพของทารกในครรภ์ เราอาจคดิ วา่ ทารกในครรภย์ งั นอนนงิ่ ๆ ไมร่ บั รู้ ไมม่ คี วามสามารถใดๆ อนั ทจี่ รงิ สมองของทารกมีการพัฒนาไปเป็นขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้ทารกสามารถ ทำ� อะไรไดห้ ลายอย่าง ได้แก่ 1. การกิน 2. การต่ืนและการนอนหลับ ทารกสามารถกลืนน้�ำคร่�ำได้ อสางัแยเสกุเดทตยง่าจงั ถเไาปรึงกจ็นททังขาีพ่ หอ้รบถกวไกจะดเะกช้ถดาัดยี ริ้นเงจตวเนา่ื่ปนคท็กนือาาตรเรกวง้ั หแหลตลาล่อับับามขยแีชอคุล่วงระงทรทตภาด่ี ่ืนร์ ้ิน6กตใ-แงั้นแล7คตะรเส่รดภงือบ์ น ระถบ้าบกทลืนานงเ�้ำดคินร�่ำอไามห่ไดา้ รจมะทีป�ำัญใหห้ า เพียงแตว่ งจรของการตนื่ และการนอนหลับของทารก เพราะในน้�ำคร�่ำมีสารที่จ�ำเป็น ต่อการพัฒนา จะเกพิดอ่ขแ้นึ มไม่จึง่พใไนรม้อขม่ณคกวะับทรแลี่กมูกร่ แนะลตอะุ้นยนังลหไมูกลเ่ ใหับนมือคนรครนภท์ ัว่ ไป ระบบทางเดินอาหาร 3. กาแรลขะยล�ัำบตแัวขนขา 4. การได้ยิน คือ เ8ร-ม่ิ ต9งั้ แสตัปอ่ ดายาุคหร์รภม์ กี2ารเขดยือันบน้ิว ทารกได้ยินเสียงและสามารถตอบสนอง แต่เปก็นจรกึงะารทรสู้ ขงั่ ึกอยไาับดยน้ถคุ ึงอ้ รกยรๆาภร์ จ4ดน-ิ้นแ5มขไ่อเมดงท่ ลือันกู นได้ร้สู ึก ตอ่ เสียงท่ีได้ยิน อาจจะขยบั แขนขา หวั ใจเตน้ เรว็ ขึน้ พบวา่ เม่อื เด็กเกิดมาแลว้ ไดย้ ินเสียงท่ีคุ้นเคยตัง้ แตอ่ ย่ใู นครรภ์ เดก็ จะสงบง่ายขึ้น โดยเฉพาะ เสียงของมารดา ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องเปน็ เสยี ง เพลงคลาสสคิ เสยี งของแมแ่ ละพอ่ ท่พี ูดกับลูกโดยตรง ลกู สามารถรับรไู้ ด้ 38
5. การมองเห็น 6. การสัมผัส แม้ว่าสว่ นใหญ่แลว้ ทารกในครรภ์ ทารกสามารถตอบสนอง จะหลับตา แต่สามารถรับรู้และตอบสนอง ต่อการสัมผัสได้ เม่ือลูกดน้ิ ตอ่ แสงไฟทส่ี ่องมาทที่ ้องแม่ได้ แลว้ เราสมั ผัสทีท่ ้องแม่ ทารกจะขยบั เคลื่อนไหว เชน่ เตะตอบโต้ มีการทดลองโดยเอาไฟสอ่ งทอ้ งแม่ แล้วพบวา่ ทารกมกี ารตอบสนอง เชน่ ชีพจรเตน้ เร็วข้นึ หรือเคลอ่ื นไหว คทวาบรกคใุนมคตรัวรใภเอนอ์ งาก7ใยนุ.า7บกราเงดตาลือักรอนษคบณเรวสะม่ิ บแถนส้าคดทองุมางถรตตงึกคเั่วอหว็นเสาอแม่ิงสงสเงรสาเีม้าหาลอืรงถสใ่อนงกผา่ารน ตอบทาสรนเกขอจ้าะงไตปคอ่ใอ่ นยสมๆงิ่ดเหลรันกูา้ มจแะาลมสะะอสดงาุ้งมหแามลรา้วถยหตคันอวไบาปมสทนวาา่องทงออา่ืนรยกใา่ นมงีกขแาณตระคกทวตี่หบา่างกคตสุมอ่ ่อสตงง่ิแัวเสรเา้งอทสงฟีแ่ี ในตา้ กกตารา่ งได้ เรอ่ื งเสยี งกเ็ ชน่ กนั แมว้ า่ เดก็ ยงั ไมร่ วู้ า่ เสยี งทไี่ ดย้ นิ คอื เสยี งอะไร เสยี งเพลงโมสารท์ หรอื เสยี งเพลงในดสิ โกเ้ ทค แตท่ ารกมกี ารตอบสนองเสยี งทแี่ ตกตา่ งนใ้ี นลกั ษณะทต่ี า่ งกนั คอื จะตงั้ ใจฟงั หรอื สะดงุ้ เชน่ เดยี วกบั ผใู้ หญ่ หากเขา้ ไปในดสิ โกเ้ ทค ลดทกเ่ีอสายยีรา่ งตงดไรนอกตบด็รสีดี ทนงั าๆอรกหงใตวั นใ่อจคยสรรงั ิ่งเภเตอร์ น้ า้าแยทรตุ งซ่ี ง้ัจำ้�แนๆตร่กสู้8นักึ ไเเหดดน้ เอื อื่ปนยน็ ขกทน้ึ าาไรรปคกทใวปน่ี บคกครตริุมสภาตก์ มเ็ัวชาเน่รอถกงนั ได้ การที่พ่อแม่ได้รู้ว่าลูกในครรภ์มีชีวิต รับรู้ ตอบสนอง ท�ำสิ่งต่างๆ ได้ จะท�ำให้ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการดูแลทารกในครรภ์มากขึ้น รวมท้ังใส่ใจป้องกันปัจจัยที่จะเข้ามา ส่งผลกระทบต่อการสร้างสมองของทารกในครรภ์มากข้ึนด้วย 39
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างสมองและทักษะสมอง EF ของทารกในครรภ์ แม้ว่าการก่อร่างสร้างสมองทารกในครรภ์เป็นการสร้างฮาร์ดแวร์ข้ันพื้นฐาน ที่ท�ำให้สมองท�ำงาน เพื่อให้ทารกมีชีวิตอยู่รอด ใช้ในการรับรู้ส่ิงแวดล้อมเพื่อ เรียนรู้ต่อไป อย่างไรก็ตาม ในช่วงของการสร้างฮาร์ดแวร์น้ีก็มีความส�ำคัญมาก เป็นช่วงที่สมองของทารกก�ำลังสร้างโครงสร้างพื้นฐานและสมองส่วนส�ำคัญๆ เช่น สมอง Hippocampus, Prefrontal Cortex ซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีเป็นข้ันตอน ภายใต้การก�ำกับของปัจจัยใหญๆ่ 2 อยา่ ง ไดแ้ ก่ ยีนและสิ่งแวดลอ้ ม ดังนั้นการพัฒนาโครงสร้างสมองและการสร้างสารเคมีในสมองซ่ึงจะท�ำให้ สมองทารกหลงั คลอดทำ� หนา้ ทไี่ ด้ดีและทารกมพี ัฒนาการดหี รือไม่น้ัน ขึน้ อยกู่ บั ว่า มีปัจจัยอะไรมากระทบกระบวนการดังกล่าวในระหว่างอยู่ในครรภ์หรือไม่อย่างไร ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการสร้างสมองลกู ในครรภอ์ าจท�ำใหส้ มองทารกแรกคลอด ไม่สมบูรณแ์ ละสญู เสียโอกาสในการเรยี นรตู้ อ่ ไป ซง่ึ หลกั ๆ ไดแ้ ก่ 1. 2. พนั ธุกรรมของพอ่ แม่ สารอาหารทีแ่ ม่ตั้งครรภ์ไดร้ ับ ทารกไดร้ ับยนี มาอยา่ งไร มคี วามส�ำคญั มาก เพราะระหว่างท่ี เป็นเร่อื งทเ่ี ปลีย่ นแปลงไดย้ าก สร้างสมองต้องใชโ้ ปรตีนจำ� นวนมาก ช่วงทล่ี กู เปน็ ทารกในครรภเ์ ปน็ ชว่ งเวลา ใชไ้ ขมนั จ�ำเป็น วิตามิน แร่ธาตทุ ั้งหลาย แมต่ ง้ั ครรภ์ต้องได้รบั อย่างพอเพยี ง สร้างฮารด์ แวรข์ องสมอง โดยกระบวนการทางพนั ธกุ รรม ครบทุกหมูแ่ ละเพิม่ เติมในสว่ นท่ี แม่ตง้ั ครรภจ์ ะได้รับดว้ ย และสิ่งแวดลอ้ ม 40
3. 4. สิง่ แวดลอ้ ม การพักผ่อน อย่างพอเพียง อย่ใู นสภาพแวดลอ้ มท่ีไมม่ มี ลพิษ หรือการไดร้ บั สารที่เป็นอันตรายต่อสมองลกู การนอนหลับท่ีเพยี งพอ เชน่ บุหรี่ สรุ า ยาเสพติด สิ่งแวดลอ้ มท่มี ผี ล หากแม่อดนอนจะเครียด ต่อการสร้างสมองของทารกในครรภอ์ ย่างมาก คอื ความเครยี ดของแม่ตัง้ ครรภ์ หากทารกในครรภไ์ ด้รับ ส่งผลไปถึงลูกดว้ ย ความเครียดมากเกินไปเปน็ ระยะเวลานาน จะมผี ลกระทบต่อการสรา้ งโครงสร้างสมอง รวมทง้ั วงจรสมองท่ตี อบสนองต่อความเครยี ด Prefrontal Cortex จะถูกยับยัง้ การพฒั นา 5. การคลอดกอ่ นก�ำหนด ผลการทดลองของคณะเภสชั ศาสตร์ แหง่ มหาวทิ ยาลยั วอชงิ ตนั สหรฐั อเมรกิ า พบวา่ เดก็ คลอดกอ่ นกำ� หนด 10 สปั ดาห์ มคี วามเสย่ี ง ทจ่ี ะมปี ญั หาทางระบบประสาทและจติ เวชมากกวา่ เดก็ ทวั่ ไป อนั อาจเกดิ จากการเชอื่ มตอ่ ของเครอื ขา่ ย เสน้ ใยสมองออ่ นแอ ทำ� ใหเ้ ครอื ขา่ ยสมองในการ สรา้ งสมาธิ การสอ่ื สาร การประมวลผล ทางอารมณ์ ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทคี่ วร 41
ความเครียด ภัยเงียบที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสมองและ ทักษะสมอง EF ของลูกในครรภ์ ภาวะเครียดในแม่ตั้งครรภ์และภาวะซึมเศร้าภายหลังการคลอด (Prenatal Stress & Postpartum Depression) แม่ต้ังครรภ์มักมีสภาพอารมณ์ที่เปล่ียนไป ตกอยู่ในความเครียดได้ง่าย จากคนท่ีเคยมีเหตุผลอาจจะหงุดหงิดง่ายไม่มีเหตุผล รวมไปถึงหลังคลอดแม่อาจ เผชิญภาวะซึมเศร้า (Postpartum Depression หรือ Postpartum Blue) ซ่ึงบางคนอาจเป็นอยู่นานกว่าปกติ โดยเฉพาะคนท่ีมีความเส่ียงต่อการเป็นโรค ทางอารมณ์หรือวติ กกังวล เกิดจากหลายสาเหตุ เชน่ ✿ แม่มีความกังวลใจเกี่ยวกับการต้ังครรภ์ การเลี้ยงลูก ขาดความมั่นใจ ในการเลย้ี งลกู โดยเฉพาะเมอื่ มลี กู คนแรก ✿ ระดบั ฮอรโ์ มนในชว่ งตงั้ ครรภแ์ ละหลงั คลอดมกี ารเปลยี่ นแปลง มผี ลตอ่ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของแม่ ซงึ่ เดิมเขา้ ใจกันว่าเป็นการเตรียมสภาพ ร่างกายแม่ให้พร้อมรับการต้ังครรภ์ ปัจจุบันเราทราบแล้วว่าฮอร์โมน ท่ีเปล่ียนแปลงน้ีมีผลต่ออารมณ์ของแม่ ท�ำให้แม่ในช่วงต้ังครรภ์ ไวต่อสิ่งกระตุ้นเล็กๆ น้อยๆ อาจจะงอนหรือน้อยใจง่าย รวมไปถึง ชว่ งคลอดบุตรใหมๆ่ ✿ แม่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความเครียด เช่น สามีไม่ดูแลเอาใจใส่ มีการทะเลาะเบาะแว้งกัน บางคนเกิดความเครียดจากชีวิตครอบครัว เช่น สามีนอกใจ ไม่กลับบ้าน บางคนอยู่กับครอบครัวของสามีต้อง ปรบั ตัวให้เขา้ กับบา้ นของสามี เปน็ ต้น ✿ ความเครียดของแม่ยังอาจเกิดจากการเผชิญปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ การท�ำงาน สถานะทางสังคม ความสัมพันธ์ในชีวิตคู่ เผชิญความ สูญเสียต่างๆ ฯลฯ ความเครียดของแม่ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการสมองของลูกในครรภ์ ผลงานวิจัยหลายๆ ชิ้นยืนยันว่าหากแม่ต้ังครรภ์เกิดความเครียด วิตกกังวล มากๆ ตอ่ เนอ่ื งยาวนาน จะสง่ ผลต่อสมองทารกในครรภ์ 42
มีงานวิจัยจ�ำนวนมากที่ตามศึกษาดูแม่ต้ังครรภ์ที่เผชิญสภาวะเครียดมากๆ ฮอร์โมนเครียด เผชิญการสูญเสีย แม่ตั้งครรภ์ในช่วงประสบภัยพิบัติทั้งหลาย ดังเช่นเหตุการณ์ 9-11 (โศกนาฏกรรมเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์เม่ือ 11 กันยายน 2544) พบว่าเด็ก จากแม่จะผ่านรก ที่เกิดมามีระดับคอร์ติซอลสูงแม้ในภาวะปกติ และมีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเป็น เข้าสู่ลูกโดยตรง โรคซึมเศร้า (Depression) เมื่อโตขึน้ ท�ำร้ายสมอง ฮอร์โมนเครยี ดจากแมผ่ า่ นรกเขา้ สลู่ กู โดยตรง ทำ� รา้ ยสมอง และมผี ลตอ่ ทกั ษะสมอง EF ฮอรโ์ มนเครยี ดจากแมจ่ ะผา่ นมาทรี่ กเขา้ ไปสรู่ ะบบเลอื ดของลกู แลว้ ไหลเวยี น และมีผลต่อการ ไปท่ัวร่างกาย ส่งผลต่อการพัฒนาอวัยวะต่างๆ เช่น ระบบเส้นเลือด หัวใจ ไต พัฒนาทกั ษะ นำ� มาซงึ่ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ความดนั สงู หวั ใจลม้ เหลว ตบั และตบั ออ่ น เมอื่ ทารก สมอง EF เกิดมา อวัยวะเหล่าน้ีจะไม่สมบูรณ์ อาจท�ำให้เป็นโรคต่างๆ ในเวลาต่อมาได้ นอกจากน้ันความเครียดยังกระตุ้นให้ระบบประสาทอัตโนมัติหลั่งนอร์อดรีนาลีน (Noradrenaline) เพม่ิ ขนึ้ (เปน็ สารเคมที มี่ บี ทบาทในฐานะฮอรโ์ มนซง่ึ ทำ� ใหต้ น่ื ตวั ) ท�ำให้เส้นเลือดท่ีรกหดตัว เลือดไปเลี้ยงทารกได้น้อยลง ขณะเดียวกันก็ไปกระตุ้น การสร้างฮอร์โมนที่เป็นเอนไซม์สั่งการผลิตคอร์ติซอล (ฮอร์โมนเครียด) ในรก ให้เพิ่มขน้ึ ดว้ ย ที่จริงคอร์ติซอลมีความส�ำคัญต่ออวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ท�ำให้เรา กระตือรือร้น เมื่อเจอความท้าทายก็ทำ� ให้เราต่ืนตัวเพ่ือรับมือกับความท้าทายน้ัน ในกรณปี กตริ า่ งกายจะควบคมุ ไมใ่ หค้ อรต์ ซิ อลขนึ้ สงู เปน็ เวลานาน แตเ่ ดก็ ทเี่ กดิ จาก แม่ท่ีตกอยู่ในภาวะเครียดระหว่างตั้งครรภ์ เม่ือเผชิญความเครียด คอร์ติซอล จะขนึ้ สงู มากและคงอยเู่ ปน็ เวลานาน ไมล่ งมาสภู่ าวะปกติ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาสมอง ของเด็กในอนาคต โดยเฉพาะสมองส่วนความคิด เช่น สมองส่วน Prefrontal Cortex ไม่พร้อมท�ำงาน เม่ือสมองส่วน Hippocampus และสมองส่วน Amygdala ซงึ่ เป็นสมองส่วนท่ีถกู กระตุ้นเมอ่ื กลวั วติ กกงั วล จะทำ� งานมากกวา่ ปกติ ความเครียดจึงมีส่วนท�ำให้สมองส่วน Prefrontal Cortex ไม่พร้อมจะท�ำงาน การเอื้อใหส้ มองสว่ น Prefrontal Cortex อยใู่ นสภาพปกติกอ่ นคลอดจึงเป็นเร่ือง สำ� คญั ตอ่ การพัฒนาทักษะสมอง EF ยงิ่ กวา่ นนั้ จะกลายเปน็ ปจั จยั ทางพนั ธกุ รรมทสี่ ง่ ตอ่ ไปถงึ รนุ่ หลานเหลน โหลน 43
ความเครียด เรยี กไดว้ า่ เปน็ สภาพแวดลอ้ มทมี่ าสมทบกบั ปจั จยั ทางพนั ธกุ รรมทม่ี อี ยแู่ ลว้ กลายเปน็ ของแมต่ งั้ ครรภ์ Epigenetic ซง่ึ หมายถงึ ปจั จยั ควบคมุ การแสดงออกของยนี (Gene) อกี ปจั จยั หนง่ึ ดว้ ย สง่ ผลต่อสมอง ความเครียดของแม่ต้ังครรภ์ส่งผลต่อสมองและสุขภาพจิตของลูกไป และสุขภาพจิต จนกระทั่งเข้าสู่วัยรุ่น ของลกู ไปจนกระท่ัง ทสี่ ำ� คญั ความเครยี ดของแมอ่ าจสง่ ผลกระทบตอ่ กระบวนการสรา้ งสมองลกู เข้าสู่วัยรุ่น ในทางใดทางหนึ่ง ขนึ้ อยูก่ บั ว่าแม่เครยี ดในชว่ งทีส่ มองก�ำลงั พฒั นาไปสว่ นไหนหรอื กลไกการสรา้ งสมองสว่ นใด เพราะกระบวนการสรา้ งสมองลกู นนั้ เกดิ ขนึ้ เปน็ ขน้ั ตอน ตงั้ แตก่ ารแบง่ เซลล์ การแตกแขนงของเสน้ ใยประสาท การอพยพของเซลลป์ ระสาท เพอื่ ไปอยตู่ ามตำ� แหนง่ ตา่ งๆ และการสรา้ ง Synapse หากทำ� ใหก้ ารอพยพของเซลล์ ประสาทไมไ่ ด้ไปในต�ำแหน่งทเ่ี หมาะสม สมองของเด็กแรกเกิดน้นั จะเป็นฮารด์ แวร์ ทไี่ มส่ มบรู ณ์ ทำ� งานไดไ้ มเ่ ตม็ ท่ี จะทำ� ใหว้ งจรประสาทไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ พบวา่ ทารก ทแ่ี มเ่ ครยี ด เสน้ ใยประสาทจะแตกแขนงอยา่ งมากหลงั คลอดสองสปั ดาห์ หลงั จากนน้ั จะลดลงอย่างรวดเร็วเป็นระยะเวลานาน ซึ่งในเด็กปกติการแตกแขนงของเส้นใย ประสาทจะต้องค่อยเปน็ คอ่ ยไป ค่อยๆ ขนึ้ สงู สดุ แล้วจึงคอ่ ยๆ ลด ทั้งหมดน้ีจะส่งเสริมให้เด็กมีแนวโน้มที่จะเครียดง่าย หายยาก จัดการ อารมณ์ตนเองได้ยาก วิตกกังวลง่าย ไม่ค่อยกล้าออกไปส�ำรวจเรียนรู้ ปรับตัวเข้า กบั สถานการณใ์ หมๆ่ ยาก สงั เกตไดว้ า่ เมอ่ื ปลอ่ ยเดก็ ใหอ้ ยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ มใหมๆ่ เดก็ ทมี่ สี ขุ ภาพจติ ดจี ะกลา้ ออกสำ� รวจสง่ิ ตา่ งๆ กลา้ เรยี นรู้ ทำ� ความรจู้ กั คนและสงิ่ ตา่ งๆ เด็กท่ีไม่กล้าหยิบจับ ส�ำรวจ ไม่กล้าพูดคุยกับใคร แสดงว่าเด็กคนนั้นมีความวิตก กังวลมากกวา่ เด็กทวั่ ไป โดยเฉพาะถา้ เดก็ ไดร้ บั การเลย้ี งดไู มด่ ี ถกู ทอดทง้ิ ขาดอาหาร ถกู ทบุ ตี สมอง ก็จะย่ิงมีความผิดปกติท่ีชัดเจนข้ึนเรื่อยๆ เมื่อเด็กโตขึ้น และส่งผลไปจนกระท่ัง เข้าสชู่ ่วงวยั รนุ่ หากในช่วงวัยรุ่นซึ่งเป็นช่วงที่สมองมีการเปล่ียนแปลงหลายอย่างทั้งการ ตดั แตง่ เสน้ ใยประสาท (Pruning) การสรา้ งสมดลุ ของสารกระตนุ้ สอ่ื ประสาททย่ี บั ยงั้ เด็กเจอความเครียดซ้�ำ สมองจะเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ พบว่า เด็กท่ีได้รับ ความเครียดจากแม่ต้ังแต่ในครรภ์แล้วได้รับความเครียดซ�้ำในช่วงวัยรุ่น มแี นวโนม้ ท่ีจะเปน็ โรคทางจิตเวชได้ 44
สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของแม่ส่งผลต่อพัฒนาการทางสมอง ลูกหรือไม่ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมไม่ได้เป็นตัวก�ำหนดว่าเด็กโตข้ึนแล้วจะ มีปญั หาพัฒนาการทางสมอง ยงั ต้องมีปัจจัยอนื่ ๆ ร่วมด้วย คนที่มีฐานะยากจนอาจ ไมไ่ ดม้ คี วามเครยี ดเสมอไป และอาจเลยี้ งดลู กู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แตโ่ ดยพน้ื ฐานแลว้ หากมปี ัญหาทางด้านเศรษฐกิจกม็ ักจะมีปญั หาด้านอน่ื ๆ ตามมาดว้ ย ซ่งึ เป็นปจั จัย ทางออ้ มทสี่ ง่ ผลตอ่ พฒั นาการทางสมองของเดก็ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่ไม่ดีอาจจะส่งผลกระทบต่อแม่ต้ังครรภ์ โดยแม่ขาดโอกาสทางการศึกษา มีการศึกษาน้อย มีสิ่งแวดล้อมไม่เอ้ือต่อการ เรียนรูพ้ ฒั นา แมข่ าดสารอาหาร ทำ� ใหเ้ กดิ ความเครยี ดไดใ้ นบางคนซึง่ ความเครยี ด ยังมีผลต่อพฤติกรรมของแม่ และความสามารถของแม่ในการตอบสนองลูก ในการเล้ียงดูลูก อีกทั้งคนยากจนมักจะอยู่ในส่ิงแวดล้อมท่ีมีโอกาสได้รับ สารพิษต่างๆ เชน่ บหุ รี่ ยาเสพตดิ ฯลฯ ทั้งหมดนี้ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสมองของลูกท่ีก�ำลังพัฒนา ต้ังแต่อยู่ในครรภ์ ส่งผลกระทบต่อการท�ำหน้าที่ของสมอง ทั้งสมองส่วนการ เรยี นรภู้ าษา การอา่ น สมองสว่ นความจำ� สมองสว่ นทตี่ อบสนองตอ่ ความวติ กกงั วล ความกลวั และสมองสว่ น Prefrontal Cortex ภาพรวมคอื จะทำ� ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการ ล่าช้า ขาดทักษะในการเรยี นรู้ และมคี วามบกพรอ่ งทางด้านทกั ษะสมอง EF แม่และลูกในครรภ์ต้องการการนอน การพักผ่อนที่เพียงพอ การนอนเปน็ เรอื่ งสำ� คญั ของมนษุ ยเ์ รา การหลบั ตน่ื มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพจติ หากนอนไมเ่ พยี งพอจะสง่ ผลตอ่ การควบคมุ อารมณ์ การคดิ การอดหลบั อดนอนมากๆ ท�ำให้มีโอกาสท่ีจะมีอาการซึมเศร้าได้ คิดไม่คล่อง จ�ำได้ไม่ดี โดยเฉพาะเด็กทารก การนอนส�ำคัญต่อการพัฒนาสมอง ดังน้ันพบว่าแม่ตั้งครรภ์ท่ีหลับต่ืนเป็นเวลา ลูกจะหลับตื่นตามเวลาไปกับแม่ด้วย ถ้าแม่นอนดึก นอนไม่เป็นเวลาจะมี ผลกระทบต่อลูกในครรภ์ การนอนหลับพักผ่อนท่ีเพียงพอเป็นเรื่องส�ำคัญส�ำหรับแม่ต้ังครรภ์ งานบางประเภทบางอาชีพมีชัว่ โมงท�ำงานมากไปหรือทำ� จนดกึ ดน่ื เช่น ยืนขายของ ในหา้ งสรรพสนิ คา้ ส่งผลกระทบต่อแมต่ ัง้ ครรภแ์ ละลูกในครรภ์ได้ 45
วิธีรับมือกับภาวะเครียดระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด หาความรู้ เรียนรู้เกี่ยวกับการต้ังครรภ์และการเล้ียงลูก จะท�ำให้แม่มั่นใจในการ ต้ังครรภ์และการเลี้ยงลูก โดยเฉพาะในช่วงแรกของการเป็นแม่มือใหม่มีเรื่องให้ กังวลมาก เช่น น�้ำนมไม่ไหล ท่าให้นม การเลี้ยงลูกอ่อน เมื่อแม่มีความรู้ ท่ีช่วยแนะน�ำว่าควรจะท�ำอย่างไร หรือช่วยยืนยันว่าแม่ท�ำส่ิงท่ีถูกต้อง หรือท่ีลูก เป็นอยเู่ ป็นเร่อื งปกติ ก็จะช่วยให้แม่สบายใจขึน้ แม่มีความรู้เรื่องความเครียดท่ีจะส่งผลต่อลูกในครรภ์ จะท�ำให้แม่ตระหนักว่า ตนเองเปน็ คนสำ� คญั ทจี่ ะสรา้ งลกู ใหเ้ ปน็ คนคณุ ภาพ ปฏบิ ตั ติ ามคำ� แนะนำ� หลกี เลย่ี ง ภาวะเครียด หาวธิ ีคลายเครยี ด พ่อต้องเป็นหลักที่ม่ันคง ในขณะที่แม่ต้ังครรภ์มีสภาพอารมณ์แปรปรวน และ หลังคลอดต้องปรับตัวอย่างมากในการดูแลลูก เช่น ต้องอดนอนเพราะลูกยังนอน และต่ืนไม่เป็นเวลา กว่าทารกจะปรับเวลานอนได้ต้องพ้นอายุสองเดือนไปแล้ว ท�ำให้แมพ่ ักผอ่ นไม่เพียงพอ เกดิ ปัญหาอารมณ์ ควบคมุ อารมณ์ไมไ่ ด้ พ่อควรเข้าไป ช่วยคลี่คลาย หรอื อยา่ งน้อยรับฟงั ภรรยาบน่ ไมร่ ่วมทะเลาะดว้ ย การสนับสนุนทางจิตใจจากคนรอบข้าง (Family Support) ข้อดีของสังคมไทย คือมีปู่ย่าตายายท่ีจะช่วยแม่ได้ คนที่อยู่แวดล้อมใกล้ชิดควรเข้ามาร่วมดูแล แม่ต้ังครรภ์ พ่อควรจะต้องมีความรู้สึกว่าเป็นเจ้าของลูกในครรภ์ร่วมกัน ดูแล เอาใจใสภ่ รรยาเพอ่ื ให้ภรรยามีความสุข ไม่เครียด 46
กระบวนการป้องกันผลกระทบต่อสมองลูกในครรภ์ ปเดร็กะมเกาณิดใรหอ้อมยบุ ลตั่ 7ะกิ า02รณ0-์เ3,ก0่ยี หว0รกือ0บั ปครควะนามมามณผโี อิด3กปา0สกม,ต0คี ิขว0อามง0ผส-ิมด4อป0งกทต,า0ิหรล0กัง0ใคนลปคอรนะดเมท(สี BศาไiเrทหtยhตุจDาeกfกeาcรtท)่ี แม่ตั้งครรเภดเ์ไ็กดดก็แร้ รวับัยกปเ3ัจกจ-ิดัย5-ล2บปี ปมเชพีี น่มัฒพี เหัฒนลา้านกายาการาไบรมุหไ่สมรม่สี่ สวมัยาวรรัยอ้เคยรมล้อะียแล3ละะ4ค22ว2ามเครียด1 เพ่ือป้องกันทารกแรกเกิดมีความผิดปกติทางสมอง กระทรวงสาธารณสขุ ไดร้ ณรงคใ์ หแ้ มต่ งั้ ครรภไ์ ดร้ บั การดแู ล ดงั น้ี 1. รณรงค์ใหแ้ มต่ ง้ั ครรภ์ไดร้ บั โฟเลต โฟเลตเปน็ สารอาหาร สำ� คญั ตอ่ การพฒั นาทารกในครรภ์ ชว่ ง 3 เดอื นแรก ถา้ แมต่ งั้ ครรภ์ ขาดโฟเลต ลูกจะมีความเสี่ยงต่อความพิการทางสมองและ ทอ่ ระบบประสาทผดิ ปกติ (รวมทง้ั ระบบทางเดนิ ปสั สาวะผดิ ปกติ ปากแหว่งเพดานโหว่ โรคหัวใจพิการแต่ก�ำเนิด) แม่ควรได้รับ โฟเลตตัง้ แตก่ อ่ นตั้งครรภ์ 3 เดือน วันละ 500 ไมโครกรมั และ ในระยะตั้งครรภ์วันละ 500-800 ไมโครกรัม อาหารที่มีโฟเลต มาก ได้แก่ ผกั ใบเขยี ว แครอต ไขแ่ ดง ตบั โฟเลตนนั้ สำ� คญั กบั การสรา้ งรหสั พนั ธกุ รรม-DNA การกนิ โฟเลต ถ้าเริม่ กินตอนตั้งครรภอ์ าจจะไม่ทนั การ เพราะสมองลกู ได้เร่ิมก่อร่างแล้ว ซ่ึงถ้าจะเกิดปัญหากับสมองลูกก็มักจะเกิด ในช่วงแรกๆ ของการตั้งครรภ์ และแม่บางคนอาจยังไม่ทันรู้ตัว วา่ ตั้งครรภด์ ้วยซ�ำ้ 1 ขา่ วกระทรวงสาธารณสุข (www.thaigov.go.th) 2 สถาบนั แหง่ ชาติเพือ่ การพฒั นาเด็กและครอบครัว มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 47
ในสหรัฐอเมริกา จีน อินเดีย มีการรณรงค์การกินโฟเลต อย่างจริงจัง ในอินเดียมีการเสริมโฟเลตในข้าว อาหารเส้น ในสหรัฐอเมริกาใสใ่ นข้าวสาลี อย่างไรก็ตามมีงานวิจัยศึกษาเรื่องความเช่ือมโยงระหว่าง กรดโฟลิคกับการเกิดโรคออทิสซึม (Folic Acid and Autism) โดยพบว่าการได้รับกรดโฟลิคที่มากเกินไปในหญิงตั้งครรภ์ อาจจะ เพมิ่ ความเสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคออทสิ ซมึ ในเดก็ ได้ นอกจากนยี้ งั มขี อ้ มลู ในสตั วท์ ดลองดว้ ยวา่ หากหนไู ดร้ บั กรดโฟลคิ ในขนาดทมี่ ากกวา่ ปกติ 10 เทา่ พบวา่ จะมพี ัฒนาการชา้ แต่งานวจิ ัยช้นิ นกี้ ็ถูกโจมตีว่าไม่ได้ดู ปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลอย่างพอเพียง อย่างไรก็ดี งานวิจัยน้ีช่วยให้เรา ตระหนักว่าต้องให้สารอาหารแต่ละชนิดในปริมาณท่ีพอเหมาะ ไมม่ ากหรือน้อยเกินไป 2. รณรงค์ ให้แม่ต้ังครรภ์ ได้รับธาตุเหล็ก ธาตุเหล็กเป็นสารส�ำคัญในเม็ดเลือดแดง มีหน้าท่ี น�ำออกซิเจนไปเล้ียงทารกในครรภ์ ถ้าแม่ต้ังครรภ์ ขาดธาตุเหล็ก ทารกจะได้รับออกซิเจนน้อย ท�ำให้ เส่ียงต่อการมีน้�ำหนักต�่ำกว่าเกณฑ์และพัฒนาการ ล่าช้า แม่มีความเส่ียงต่อการแท้งและตกเลือด ระหว่างคลอด แม่ตั้งครรภ์ควรได้รับการเสริม ธาตเุ หลก็ วันละ 30 มลิ ลิกรัม อาหารทใ่ี หธ้ าตเุ หลก็ ไดแ้ ก่ หมู เนอ้ื ไก่ ไข่ ตับ ธัญพืช ถวั่ 48
3. รณรงค์ให้แม่ตั้งครรภ์ได้รับไอโอดีน ไอโอดีน คนในสังคมควรตระหนัก มีความส�ำคัญต่อการเติบโตและระบบประสาทของ ทารกในครรภ์ ถ้าแม่ขาดไอโอดีน ทารกแรกคลอดจะ ถึงความส�ำคญั น�้ำหนักน้อยและเป็นโรคเอ๋อ (สติปัญญาต่�ำ) เด็กไทย ของการเตรียมตวั แรกคลอดมีความผิดปกติทางสมองเพราะขาดไอโอดีน เป็นพ่อแม่ ประมาณปลี ะ 500 ราย แมต่ ง้ั ครรภค์ วรไดร้ บั การเสรมิ ไอโอดนี วนั ละ 175-200 ไมโครกรมั อาหารทมี่ ไี อโอดนี โดยหาความรู้ตั้งแต่ ได้แก่ อาหารทะเล เกลือทะเล เกลือเสริมไอโอดนี ก่อนแต่งงานและก่อน ตัดสินใจจะมีลูก 4. รณรงค์ให้มีการฝากครรภ์ตั้งแต่แรกเริ่ม จะทำ� ใหแ้ มไ่ ดร้ บั ความรใู้ นการดแู ลครรภ์ ปจั จบุ นั มกี าร ฝากครรภ์ประมาณร้อยละ 78 และฝากครรภ์ภายใน 12 สัปดาห์ของการต้ังครรภ์เพียงร้อยละ 50 ส่ิงที่ควร จะเป็นคือแม่ต้ังครรภ์ทุกคนต้องฝากครรภ์ และ ฝากครรภแ์ ตเ่ นน่ิ ๆ ภายใน 12 สปั ดาหข์ องการตงั้ ครรภ์ 5. รณรงค์ใหพ้ อ่ แมม่ คี วามรเู้ พอ่ื การเตรยี มตวั ทด่ี ี รวมถึงคนในสงั คมควรตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการ เตรียมตัวเป็นพ่อแม่ โดยหาความรู้ต้ังแต่ก่อนแต่งงาน และก่อนตัดสินใจจะมีลูก ก่อนตั้งครรภ์ ซ่ึงปัจจุบัน สังคมไทยยังไม่ตระหนักเร่ืองเหล่านี้ พ่อแม่ส่วนใหญ่ ยงั ไมม่ กี ารเตรียมตัวทด่ี ี 49
แนวทางในการพัฒนาสมองและทักษะสมอง EF ของทารกในครรภ์ ดังท่ีกล่าวแล้วว่าสมองของทารกในครรภ์แม้จะอยู่ในระยะก่อร่างสร้างตัว แต่ก็สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ สิ่งแวดล้อมอันได้แก่ แม่ พ่อ อาหารการกิน การพักผ่อน ฯลฯ ล้วนเป็นปัจจัยท่ีจะส่งเสริมกระบวนการสร้างสมองอันเป็น ฮารด์ แวร์ ทจ่ี ะพฒั นาทกั ษะสมอง EF ตอ่ ไปได้ มแี นวทางหลกั ๆ ในการพฒั นาสมอง และทักษะสมอง EF ของลูกในครรภ์ ไดแ้ ก่ 2. 1. ขปทอ้อจ่ี งงะแกมมนั ีผปแ่ลลตจั ะ่อจทภยั าาลรวบกะ ดูแลใคหแ้ ุณมภ่ตั้งาคพรรภ์ 3. เคร่ิมวกาารมสผง่ กูเสพรนัิม ระหว่างแม่ลูก 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146