หน่วยที่ 6 คอมเพรสเซอรแ์ ละการตรวจสอบคอมเพรสเซอร์ ครอู ภัย สุดจิตร แผนกวิชาชา่ งไฟฟา้ กำลงั หนว่ ยท่ี 6
4.เนือ้ หาสาระการเรยี นรู้ 1. หนา้ ที่ของคอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์ (Compressor) หมายถึง อุปกรณท์ ี่ใชเ้ พม่ิ ความดันให้กับสสารสถานะหน่ึงซึ่งมีความดันต่ำ ให้เปน็ สสารนะเดมิ และมคี วามสงู ขน้ึ ซงึ่ ในระบบเคร่อื งทำความเยน็ จะหมายถงึ การเปลยี่ นสถานะของสารทำความ เย็นสถานะไอความดันต่ำให้เปน็ สารทำความเย็นสถานะเดิม คือ สถานะไอแต่มีความดันสงู ขึ้น คอมเพรสเซอรใ์ น ระบบเครือ่ งทำความเย็นจะทำหน้าที่ดูดสารทำความเย็นสถานะไอความดันตำ่ จากอีวาปอเรเตอร์ แล้วให้เป็นสาร ทำความเยน็ สถานะไอความดันสงู เพอ่ื ส่งเข้าไปกลั่นตวั ในคอนเดนเซอร์ แล้วส่งเข้าไปไหลเวยี นในระบบเป็นวัฏจักร ต่อไป โดยมตี วั กำลังจากภายนอกมาขับใหค้ อมเพรสเซอร์ทำงาน เชน่ เคร่อื งยนต์ หรอื มอเตอร์ไฟฟ้า ฯลฯ คอมเพรสเซอรส์ ามารถแบ่งตามลกั ษณะโครงสร้างหรือแบง่ ตามลักษณะการทำงานไดด้ งั นี้ 1.1 คอมเพรสเซอรแ์ บง่ ออกตามลักษณะโครงสรา้ ง ท่พี บเหน็ ท่วั ไปสามารถแบ่ง เปน็ 3 แบบ คอื 1.1.1 คอมเพรสเซอร์แบบเปิด (Open Type Compressor) เป็นแบบที่ตวั คอมเพรสเซอร์และตวั ตน้ กำลัง (อาจเป็นเครื่องยนต์หรือมอเตอร์) แยกกันอยู่โดยอิสระ มีสายพาน (Belt) หรือตัวต่อ (Coupling) เชื่อม ระหวา่ งเพลาของคอมเพรสเซอรแ์ ละเพลาของเครื่องยนต์หรือเพลาของมอเตอร์ ซง่ึ จะพบเห็นใช้งานในเคร่ืองปรับ อากาศรถยนต์หรือระบบเครื่องทำคามเย็นขนาดใหญ่ 1.1.2 คอมเพรสเซอร์แบบกึง่ ปิด (Semi Hermetic Type Compressor) เป็นแบบที่คอมเพรสเซอร์ และมอเตอร์อยู่ในตัวเดียวกัน แต่ใช้สลักเกลียวเป็นตัวยึด เมื่อเกิดการเสียหายก็สามารถเปิดเพื่อถอดซ่อมแซม คอมเพรสเซอรแ์ ละมอเตอรไ์ ด้งา่ ยโดยท่โี ครงสรา้ งไม่เสยี หาย โครงสร้างของคอมเพรสเซอร์แบบกึง่ ปดิ ดงั รปู ท่ี 6.1 รูปที่ 6.1 คอมเพรสเซอร์แบบก่งึ ปดิ
1.1.3 คอมเพรสเซอร์แบบปิด (Hermetic Type Compressor) เป็นแบบที่คอมเพรสเซอร์และ มอเตอร์อยู่ในตัวเดียวกัน และเชื่อมปิดหมด ข้อดีคือ ป้องกันรอยรั่วได้ดี มีขนาดเล็ก ทำงานได้เรียบมีความ ส่ันสะเทอื นนอ้ ย แตข่ ้อเสยี คอื ไม่สามารถแยกตวั ต้นกำลังกับคอมเพรสเซอร์ออกมาซอ่ มไดเ้ พราะคอมเพรสเซอร์ถูก ประกอบด้วยการเชื่อมปิดสนิท ในระบบทางกลของคอมเพรสเซอร์แบบปิดจะมีท่อทองแดงต่ออกมาจากตัว คอมเพรสเซอร์ 3 ท่อ คือ ท่อทางดูด (Suction Line) ท่อทางอัด (Discharge Line) และท่อบริการ (Service Line) ซึ่งท่อบรกิ ารนีจ้ ะเปน็ ทอ่ เดยี วกันกับท่อทางดูด เพอ่ื ใช้สำหรับงานบรกิ ารในระบบและสามารถใช้แทนกับท่อ ทางดูดได้ รปู ร่างของคอมเพรสเซอร์แบบปิด ดังรปู ท่ี 6.2 รปู ท่ี 6.2 คอมเพรสเซอรแ์ บบปดิ 1.2 คอมเพรสเซอรแ์ บง่ ออกตามลักษณะการทำงาน ทพี่ บเห็นทั่วไปสามารถแบง่ เป็น 2 แบบ คือ 1.2.1 คอมเพรสเซอร์แบบลกู สูบ (Reciprocating Type Compressor) เป็นคอมเพรสเซอรท์ ใี่ ช้เพลา ขอ้ เหวี่ยงขบั ลูกสูบใหด้ ูด – อัดสารทำความเยน็ การทำงานคลา้ ยกบั ระบบการทำงานของเคร่อื งยนต์แต่ใช้มอเตอร์ ไฟฟ้าเปน็ ตัวต้นกำลงั แทน เหมาะสำหรบั เครือ่ งทำความเยน็ ขนาดเล็กจนถงึ ขนาดใหญม่ ากถงึ 100 แรงมา้ และเป็น แบบที่นยิ มใชง้ านมากที่สดุ รปู ร่างของคอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบ ดงั รูปที่ 6.3
รปู ท่ี 6.3 คอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสบู 1.2.2 คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี (Rotary Type Compressor) เป็นคอมเพรสเซอร์ที่อาศัยการ ทำงานของลูกสบู หมุนโดยอาศัยเพลาขับ ทำงานแทนเพลาข้อเหวยี่ ง ขอ้ ดีคือ มคี วามสั่นสะเทือนน้อยขณะทำงานมี เสียงเงียบและมีขนาดเล็กกว่าแบบลูกสูบเหมาะสำหรับเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กที่ใช้ตามบา้ นเรอื น รูปร่างขอ คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี ดงั รปู ท่ี 6.4 รปู ท่ี 6.4 คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี 2. การตรวจสอบขดลวดของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ในระบบทางไฟฟ้าของ Hermetic Type Compressor ทั้งแบบลูกสูบและแบบโรตารี ภายในจะเป็นมอเตอร์ ชนิด Split Phase Motor หรือ Capacitor Motor ประกอบด้วยขดลวด 2 ชุด คือ ขดลวดชุดสตาร์ตและขดลวด ชดุ รนั ดังรปู ที่ 6.5
รปู ท่ี 6.5 แสดงขดลวดมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ จากรปู ท่ี 6.5 จะสังเกตเห็นวา่ ขดลวดชดุ สตารต์ (Start,S) จะพ้นด้วยลวดทองแดงเส้นเลก็ จำนวนมากรอบ ส่วน ขดลวดชดุ รัน (Run,R) จะพันดว้ ยลวดทองแดงเสน้ โตจำนวนนอ้ ยรอบ และปลายด้านหน่ึงของขดลวดทั้งสองจะต่อ รว่ มกันทีจ่ ดุ ร่วม (Common,C) ออกมาเปน็ ขั้ว C ที่เทอรม์ ินอลของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ส่วนปลายอีกด้านหน่ึง ของขดลวดชุดสตาร์ตจะออกมาเป็นขั้ว S ที่เทอร์มินอลของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และปลายอีกด้านหนึ่งของ ขดลวดชดุ รนั จะออกมาเป็นขว้ั R ทเ่ี ทอร์มนิ อลของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ดังนั้นขั้วหลักทางไฟฟ้า (Terminal) ก็จะประกอบด้วยขั้ว S (Start) ขั้ว C (Common) และขั้ว R (Rum) ตดิ ตัง้ ไวท้ เ่ี ปลือกดา้ นนอกของมอเตอร์ที่อย่ภู ายใน จากรปู ท่ี 6.5 จะเหน็ ว่าค่าความตา้ นทานระหว่างขัว้ R – S จะมี คา่ สูงสุดท้ังสองชดุ ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ไม่ขาดก็ตาม แตก่ อ่ นทจ่ี ะนำมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ไปใช้งานจะต้อง ตรวจสอบกระแสไฟฟา้ รั่วลงโครงของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์เสยี ก่อน โดยใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรต์ ั้งย่านวดั R x 10 kΩ วัด ระหวา่ งขัว้ หลกั ทาไฟฟ้าทัง้ สามขัว้ ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เทียบกบั โครงโลหะของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ หาก คา่ ความต้านทานท่ีวดั ไดม้ คี ่าต่ำกวา่ 3 MΩ ไมค่ วรนำมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ 3. การตรวจสอบกำลังอัดของคอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอรเ์ ม่ือมีอายกุ ารใช้งานนานขึน้ จะทำให้กำลังอัดของคอมเพรสเซอร์ต่ำลง มผี ลใหค้ อมเพรสเซอร์ใช้ เวลาการทำงานนานขึ้นและสิ้นเปลืองกระแสไฟฟ้ามากขึ้นเพื่อทำให้ระบบสามารถทำความเย็นได้เท่ากับ คอมเพรสเซอรท์ ย่ี งั ใหม่กว่า การตรวจสอบกำลงั อัดของคอมเพรสเซอร์จะตรวจสอบที่ดา้ นความดนั สูงของเคร่ืองทำ ความเย็น โดยการใช้แมนิโฟลด์เกจวัดความดันดา้ นสงู ของระบบเครื่องทำความเย็น และมีขั้นตอนการตรวจสอบ ดังน้ี 3.1 ต่อสายแมนิโฟลด์เกจด้านความดันสงู (สายสแี ดง วดั ความดันด้านสงู ) เข้ากบั ทอ่ ดา้ นอัดของคอมเพรเซอร์ 3.2 ทอ่ ฟติ ตงิ้ ตวั กลาง (สายสรเหลอื ง) ให้ใช้นอตขันปดิ ให้แนน่ 3.3 เปดิ วาล์วของแมนโิ ฟลด์เกจท้ังด้านดดู และด้านอดั 3.4 จา่ ยกระแสไฟฟ้าใหม้ อเตอรค์ อมเพรสเซอรท์ ำงาน และใช้คลิปแอมป์วดั ค่ากระแสไฟฟา้ 3.5 คอ่ ยๆ ปิดวาลว์ ทางด้านความดันสงู จนกระทงั่ วาล์วปดิ สนิท และสงั เกตดูที่เกจวดั ทางด้านความ
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: