หนว่ ยที่11 อปุ กรณ์ไฟฟา้ ในระบบเครอื่ งทำความเย็น ครูอภัย สุดจิตร แผนกวชิ าชา่ งไฟฟ้ากำลงั หนว่ ยที1่ 1
4.เนือ้ หาสาระการเรียนรู้ 1. แมกเนตกิ คอนแทกเตอร์ แมกเนติกคอนแทกเตอร์ (Magnetic Contactor) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ควบคุมการตัด-ต่อ ของหน้าสัมผัสด้วยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า โครงสร้างประกอบด้วยขดลวดพันอยู่บนแกนเหล็กเพื่อสร้างอำนาจ แม่เหล็ก ในตัวแมกเนติกคอนแทกเตอร์มีคอนแทกเตอร์อยู่หลายชุดยึดติดบนแกนเดียวกันและทำงานพร้อมกัน คอนแทกเตอร์มีทง้ั แบบปกติปิดและปกติเปดิ จำนวนคอนแทกเตอร์ข้นึ อยูก่ บั การนำคอนแทกเตอร์ไปใชง้ าน การทำงานของแมกเนติกคอนแทกเตอร์ เมอ่ื จ่ายแรงดนั ไฟฟ้าใหก้ บั ขดลวดของแมกเนตกิ คอนแทกเตอร์ แกน เหล็กจะเกิดอำนาจแม่เหล็กและดูดคอนแทกเตอร์ให้มาต่อกัน จ่ายกระแสไฟฟ้าค่าสูงๆ ให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ ตอ้ งการควบคุมใหท้ ำงานซงึ่ สว่ นมากจะเปน็ มอเตอร์ และเมื่อหยุดจ่ายแรงดนั ไฟฟา้ ให้กบั ขดลวด แกนเหล็กจะหมด อำนาจแมเ่ หลก็ หนา้ สัมผัสจะแยกออกจากกนั ดว้ ยแรงของสปรงิ ไม่มกี ระแสไฟฟา้ จา่ ยให้กับอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ท่ีควบคุมอยู่ อุปกรณเ์ ครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ นน้ั กจ็ ะหยุดทำงานรูปร่างของแมกเนตกิ คอนแทกเตอร์ ดังรปู ที่ 11.1 รูปที่ 11.1 แมกเนติกคอนแทกเตอร์ 2. รเี ลย์ รเี ลย์ (Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหนา้ ท่ีเปน็ สวิตช์ ควบคุมดว้ ยอำนาจแม่เหลก็ หรอื ควบคมุ ดว้ ยความร้อน ซ่ึง ขึ้นอยู่กับชนิดของมอเตอร์และการออกแบบวงจร แต่จุดประสงคก์ ารนำไปใช้งานก็เพื่อตัดวงจรขดลวดชุดสตาร์ต ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ รีเลย์ที่ใช้ในงานเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศที่พบเหน็ และมีใช้งานในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกได้ 3 ชนิด คอื 2.1 เคอร์เรนต์รีเลย์ (Current Relay) เป็นรีเลย์ที่ทำงานโดยอาศัยกระแสไฟฟ้าเป็นตัวเหนี่ยวนำมีใช้กับ ตู้เย็นและตู้แช่ขนาดเล็ก โครงสร้างประกอบด้วยขดลวดเส้นโตจำนวนรอบน้อยพันอยู่บนแกนเหล็กต่ออนุกรมกบั
ขดลวดชุดรันของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ชนิดสปลิตมอเตอร์ และมีหน้าสัมผัสทางไฟฟ้าทำหน้าที่ต่อขดลวดชุด สตารเ์ ขา้ กบั วงจร และตดั ขดลวดชุดสตารต์ ออกจากวงจรเม่ือมอเตอร์หมุนความเรว็ รอบได้ 75% ของความเร็วรอบ สงู สุด รปู รา่ งของเคอร์เรนตร์ ีเลย์ ดังรปู ที่ 11.2 รูปที่ 11.2 เคอร์เรนต์รเี ลย์ หลักการทำงาน เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ขณะที่มอเตอร์จะยังไม่หมุน เนื่องจากขดลวดชุดสตาร์ยังไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทำให้กระแสไฟฟ้าจำนวนมากไหลผ่านขดลวดชุดรันและ เคอรเ์ รนตเ์ ลย์เท่าน้ัน ส่งผลให้เคอร์เรนตร์ ีเลยเ์ กดิ อำนาจแม่เหลก็ ดูดและผลกั ให้แกนเหล็กเกิดการเคลือ่ นท่ี ผลจาก การเคลอื่ นท่ขี องแกนเหล็กน้ีจะดันใหห้ น้าสัมผัสต่อกัน กระแสไฟฟา้ จะไหลผา่ นขดลวดชุดสตาร์ของมอเตอร์ ทำให้ มอเตอร์จะเริ่มหมุนและหมนุ ต่อไปจนกระทั่งความเรว็ รอบของมอเตอร์ได้ประมาณ 75% ของความเร็วรอบสูงสดุ กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านขดลวดชดุ รนั และเคอรเ์ รนต์รเี ลยจ์ ะลดลง ส่งผลให้อำนาจแมเ่ หลก็ ของเคอร์เรนต์รีเลย์ลดลง น้ำหนกั ของตวั แกนเหลก็ จะอาชนะอำนาจแม่เหลก็ และหน้าสัมผัสจะเปิดตัวออกตัดกระแสไฟฟ้าทไี่ หลผ่านขดลวด ชดุ สตารต์ มแี ตก่ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นขดลวดชุดรันชดุ เดยี ว และมอเตอรค์ อมเพรสเซอรจ์ ะยังคงหมนุ ต่อไป 2.2 โพเทนเชียลรีเลย์ (Potential Relay) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Voltage Relay เป็นรีเลย์ที่ทำงาน โดยอาศัยแรงดนั ไฟฟ้าเป็นตัวเหน่ยี วนำ นยิ มใชก้ บั เครอื่ งปรับอากาศท่มี ีขนาดใหญ่ ที่ใชค้ าปาซเิ ตอร์สตาร์ต – คา ปาซอเตอร์รันมอเตอร์ ซึ่งเป็นมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ขนาด 1 แรงม้าขึ้นไป โครงสร้างของโพเทนเชียลรีเลย์ ประกอบด้วยขดลวดเสน้ เลก็ จำนวนรอบมาก พันอยบู่ นแกนเหล็กต่อขนานกบั ขดลวดชุดสตาร์ตของมอเตอร์ และมี หน้าสมั ผสั ทางไฟฟ้าตอ่ อนุกรมกบั ตัวเกบ็ ประจุสตารต์ สาเหตุทีไม่ใช้เคอรเ์ รนตร์ ีเลย์ในเคร่ืองปรบั อากาศขนาดใหญ่
เพราะจะทำให้เกดิ อนั ตรายขณะเร่มิ สตาร์ต เนอ่ื งจากเคอร์เรนตร์ ีเลยห์ น้าสัมผัสเปน็ แบบปกติเปดิ แต่โพเทนเชียล รีเลยห์ นา้ สัมผัสเปน็ แบบปกติปิด และแรงดนั ไฟฟา้ เป็นตัวเหนย่ี วนำใหห้ นา้ สมั ผสั แยกออกจากกันจงึ ไม่เกิดอันตราย รูปร่างของโพเทนเชยี ลรเี ลย์ ดงั รูปที่ 11.3 รูปท่ี 11.3 โพเทนเชยี ลรีเลย์ หลกั การทำงาน เมื่อจ่ายรงดนั ไฟฟา้ ให้กับวงจรของคาปาซเิ ตอร์สตาร์ต – คาปาซิเตอรร์ ันมอเตอร์ ขณะท่ีคา ปาซิเตอรส์ ตาร์ตซึ่งมีคา่ ความจสุ ูงกว่า จะตอ่ ขนานกับคาปาซเิ ตอรร์ นั ซ่งึ มคี ่าความจุนอ้ ยกว่า เปน็ การเพมิ่ คา่ ความจุ ขณะเริ่มสตารต์ ทำให้แรงบดิ ขณะเร่มิ สตาร์ของมอเตอร์จะสูง มอเตอรเ์ ริ่มหมุน ความเร็วรอบของมอเตอร์จะสูงข้ึน ค่าแรงดันไฟฟ้าที่ขดลวดชุดสตาร์ตของมอเตอร์สูงขึ้นจากค่าแรงดันไฟฟ้าปกติ ซึ่งมีผลมาจากคาปาซิเตอร์ที่ต่อ อนุกรมอยู่กับขดลวด และเหนี่ยวนำให้มีกระแสไฟฟ้าสูงขึ้นไหลผ่านขดลวดของโพเทนเชียลรีเลย์ เกิดอำนาจ แมเ่ หล็กผลักหน้าสัมผสั ใหเ้ ปิดออก ตัดวงจรของคาปาซิเตอร์สตาร์ตออกออกเหลอื เพียงคาปาซิเตอร์รนั เท่านั้นที่ต่อ อย่ใู นวงจร และมอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะยังคงหมนุ ตอ่ ไป 2.3 ฮอตไวร์รีเลย์ (Hot Wire Relay) โครงสร้างประกอบด้วยลวดความร้อนต่ออนุกรมกับขดลวดชุดรัน และขดลวดชดุ สตาร์ต โดยขดลวดความรอ้ นจะตอ่ ผ่านหน้าสัมผสั M ไปยังขดลวดชดุ รนั และผา่ นหน้าสัมผัส S ไป ยังขดลวดชุดสตาร์ต ซ่ึงหน้าสัมผสั M และ S เป็นหน้าสัมผัสปกตปิ ดิ ทง้ั คู่
หลักการทำงาน เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทั้งขดลวดชดุ รันและขดลวดชุดสตาร์ต มอเตอร์จะหมุนและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อน ความร้อนจะส่งผลให้ หน้าสมั ผัส S แยกออกจากกนั ตลอดเวลาการทำงานของมอเตอร์ เปน็ การตดั วงจรขดลวดชุดสตาร์ตออก แต่ความ รอ้ นจากขดลวดความร้อนไม่สามารถทำใหห้ น้าสัมผัส M แยกออกจากกนั ไดจ้ งึ มีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นขดลวดชุดรัน ชุดเดยี วซึ่งเปน็ หลักการทำงานของสปลติ เฟสมอเตอร์ แต่ถ้าหากเกิดเหตุขดั ข้องขึ้นในตัวมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ ทำใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลเกนิ พิกดั หรือโอเวอร์โหลด ความร้อนจากขดลวดความรอ้ นจนสงู มากจนทำใหห้ นา้ สัมผัส M แยกจากกนั เปน็ การตัดวงจรขดลวดชุดรันออก การออกแบบกลไกของหน้าสมั ผัส หากหน้าสมั ผัส M แยกออกจากกันจะพาใหห้ น้าสมั ผัส S แยกออกจากกนั ดว้ ย เสมอ ดงั นน้ั ฮอตไวรีเลยจ์ ึงทำหนา้ ทเี่ ปน็ โอเวอรโ์ หลดในตวั 3. เทอร์มอสแตต เทอร์มอสแตต (Thermostat) หรืออปุ กรณ์ควบคุมอุณหภมู ิ (Temperature Control, TC) เปน็ อุปกรณ์ที่ ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของอีวาปอเรเตอร์ในระบบเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ เช่น ควบคุมอุณหภูมิต ของตู้เย็น ควบคุมอุณหภูมของอาหารหรอื สิ่งของทีแ่ ช่อยู่ภายในตู้เย็น หรือ ควบคุมอุณหภมู ิของอากาศในห้องที่ ติดต้ังเคร่ืองปรบั อากาศ เป็นต้น ในขณะที่อุณหภูมิภายในตู้เย็นหรือในห้องปรับอากาศยังสูงอยู่ หน้าสัมผัสของเทอร์มอสแตตจะต่ออยู่ มี กระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์ทำงานดดู – อัดสารทำความเยน็ ให้หมนุ เวยี นอยู่ ในระบบวงจรทางกล ทำให้เกดิ ความเย็นข้ึนท่อี ีวาปอเรเตอร์ ทำใหอ้ ุณหภูมิภายในตเู้ ย็นหรอื ในห้องปรับอากาศลด ต่ำลงจนถึงจุดที่ตั้งไว้ หน้าสัมผัสของเทอร์มอสแตตจะแยกจากกัน มอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะหยุดทำงาน ทำให้ อุณหภูมิที่อีวาปอเรเตอร์สูงงขึ้นนนเรื่อยๆ จนถึงจุดหนึ่งหน้าสัมผัสของเทอร์มอสแตตจะต่อวงจรอีกครั้ง ทำให้ มอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ทำงานอีกรอบ ซึ่งเป็นการควบคมุ อณุ หภูมภิ ายในตู้เย็น หรอื ในหอ้ งปรบั อากาศใหอ้ ยู่ในช่วง ทตี่ ้องการโดยอตั โนมตั ิ เทอร์มอสแตตที่ใช้ในระบบเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ ที่พบเห็นในปัจจุบันสามารถแบ่งออกได้ 3 ชนิด คอื 3.1 เทอรม์ อสแตตชนิดกระเปาะ (Bulb Bellow Type) เทอร์มอสแตตชนิดน้ีจะทำงานโดยอาศัยหลักการ ขยายตวั ของของเหลวหรือแก๊ส ประกอบด้วย Bellow (กล่องบรรจไุ อ) สารมารถยืดตัวและหดตัวได้ ภายในบรรจุ ด้วยสารท่มี คี วามไวตอ่ อุณหภูมิ ซึ่งสว่ นมากนยิ มใชป้ รอท และตอ่ จาก Bellow จะมที อ่ รูเข็มทำด้วยทอ่ เงินทำหน้าที่
เปน็ ทางเดินขงปรอท โดยปลายของทอ่ เงินจะมีกระเปาะแนบติดอยกู่ ับอีวาปอเรเตอร์เพ่ือรบั อุณหภมู ิท่ตี วั อีวาปอเร เตอร์ ขณะทปี่ รอทซึ่งบรรจใุ นกระเปาะขยายตวั จะไหลผ่านทอ่ รเู ขม็ เข้าไปยังเบลโล ทำใหค้ วามดนั ในเบลโลเพ่ิมข้ึน และยืดตัวออกดนั หนา้ สัมผัสทางไฟฟา้ ให้ตอ่ กันมกี ระแสไฟฟ้าไหลเข้าวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์ ทำงานดูด-อัดสารทำความเย็นหมุนเวียนในระบบ มีความเยน็ เกิดขึ้นทอี่ วี าปอเรเตอร์ และเมอื่ อุณหภูมิท่ีอีวาปอเร เตอร์ลดต่ำลง ปรอทซึ่งบรรจุในกระเปาะจะหดตัว ทำให้หน้าสัมผัสทางไฟฟ้าแยกจากกันส่งผลให้มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์หยุดทำงานรูปรา่ งของเทอร์มอสแตตชนดิ กระเปาะ ดังรูปท่ี 11.4 รปู ที่ 11.4 เทอรม์ อสแตตชนิดกระเปาะ 3.2 เทอร์มอสแตตชนิดหลักการขยายตัวของโลหะ 2 ชิ้น (BIMETAL Type) เทอร์มอสแตตชนิดนี้อาศัย หลักการขยายตัวของโลหะสองชนิดเมื่อได้รับความรอ้ น เนื่องจากสัมประสิทธิ์การขยายตัวของโลหะแต่ละชนิดท่ี อณุ หภูมเิ ดยี วกันจะไม่เท่ากนั เมื่อนำโลหะต่างชนิดมาวางประกบติดกันแน่นที่อุณหภมู ิค่าหนึ่งที่โลหะทั้งสองชนิด ยงั คงสัมผสั กันอยไู่ ด้ ทำให้มกี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านวงจรได้ เม่ือไดร้ บั ความร้อนโลหะที่ขยายตัวได้มากกว่าจะโก่งไป ทางด้านหนึง่ ทำให้หน้าสัมผัสเปิดออก เป็นการควบคุมการทำงานของวงจรไฟฟ้าของเคร่ืองทำความเย็นและปรับ อากาศได้ตามต้องการ 3.3. เทอร์มอสแตตชนิดควบคุมด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเทอร์มิสเตอร์ (Electronic Type of Thermistor) เครื่องทำความเยน็ และปรับอากาศรุน่ ใหม่ๆ ได้นำระบบอิเล็กทรอนกิ ส์มาใช้ควบคุมอุณหภมู ิ โดย อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงค่าตามอุณหภูมิ (Thermistor) Thermistor = Thermal (ความร้อน) + Resistor (ตัวต้านทาน) เป็นตัวต้านทานที่ค่าความต้านทานมีค่า เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ เมื่อค่าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจะทำให้สัมประสิทธิ์ความต้านทานของอุปกรณ์ทาง
อิเลก็ ทรอนิกสเ์ ปลีย่ นแปลง เทอร์มสิ เตอรเ์ ป็นอปุ กรณ์สารก่ึงตัวนำแบ่งออกได้ 2 แบบ คอื แบบทีห่ น่งึ เมือ่ อณุ หภูมิ สูงค่าความต้านทานจะสูง และอีกแบบหนึ่งคือ เมื่ออุณหภูมิสูงค่าความต้านทานจะต่ำ การนำเทอร์มิสเตอร์ไปใช้ งานขน้ึ อย่กู บั การออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ส่วนตวั เทอรม์ ิสเตอร์จะต้องแนบสัมผัสกับตัวอีวา ปอเรเตอร์ตลอดเวลา รูปร่างของเทอร์มอสเตอร์ชนิดควบคุมด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เทอร์มิสเตอร์ ดังรูปที่ 11.5 รปู ท่ี 11.5 เทอรม์ อสแตตชนิดควบคมุ ดว้ ยอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเทอรม์ สิ เตอร์ 4. คาปาซเิ ตอร์ (Capacitor) เปน็ อุปกรณ์ทีท่ ำหนา้ ท่ีเก็บและคายประจไุ ฟฟ้า เมอ่ื ใชใ้ นวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ จะทำใหก้ ระแสไฟฟา้ นำหน้าแรงดนั ไฟฟ้าเป็นมมุ ค่าหนึ่ง ในวงจรมอเตอร์ไฟฟ้าเราจะนำคาปาซเิ ตอรต์ ่ออนุกรมกับ ขดลวดชดุ สตาร์ต เพ่ือทำให้มุมระหว่างขดลวดชดุ สตาร์ตและขดลวดชดุ รนั ต่างเฟสกันเกิดแรงบิดขน้ึ ในตัวมอเตอร์ มอเตอรจ์ ะสตารต์ ได้น่ิมนวลขึน้ และกระแสไฟฟ้าในวงจรจะมีค่าลดลง คาปาซิเตอร์มหี น่วยวัดเปน็ ฟารัด (Farad) คาปาซเิ ตอรท์ ่ีใชใ้ นงานเครือ่ งทำความเย็นและปรับอากาศมี 2 ชนดิ คอื 4.1 คาปาซิเตอร์สตารต์ เป็นคาปาซเิ ตอร์ค่าความสูง ลกั ษณะเป็นทรงกระบอกบรรจอุ ยู่ในตวั ถังพลาสติกแช็ง ต่ออนุกรมกับขดลวดชุดสตาร์ตของมอเตอร์ เพื่อช่วยในการออกตัวของมอเตอร์ และจะถูกตัดออกจากวงจรเมื่อ ความเร็วรอบของมอเตอร์หมุนได้ประมาณ 75% ของความเร็วสูงสุด โดยสวิตช์แรงเหวี่ยงหรือเคอร์เรนต์รีเลย์ รปู รา่ งของคาปาซิเตอร์สตาร์ต ดงั รูปที่ 11.6
รูปที่ 11.6 คาปาซิเตอร์สตาร์ต 4.2 คาปาซิเตอร์รัน เป็นคาปาซิเตอร์ค่าความจุต่ำซึ่งถูกบรรจุอยู่ในตัวถังโลหะ รูปทรงเรขาคณิตแบนๆ ออกแบบมาเพื่อช่วยแก้เพาเวอร์แฟกเตอร์ เพื่อเพิ่มแรงบิดและลดค่ากระแสไฟฟ้าของมอเตอร์ ดังนั้นจึงถูกต่อ อนกุ รมกบั ขดลวดชุดสตารต์ ตลอดเวลา รปู รา่ งของคาปาซเิ ตอร์รัน ดงั รปู ที่ 11.7 รูปท่ี 11.7 คาปาซเิ ตอร์รัน 5. เพรสเชอรค์ อนโทรล เพรสเชอร์คอนโทรล (Pressure Control) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้องกนั อนั ตรายจากความดันของสารทำ ความเย็นในระบบ ซึ่งอาจทำให้ระบบเกิดการระเบิดได้ โดยเฉพาะในระบบเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ ขนาดใหญ่ แบ่งเป็น 2 ประเภทและตอ้ งติดตัง้ ใช้งานร่วมกนั 2 ชนดิ คอื 5.1 ไฮท์เพรสเชอร์คอนโทรล (High Pressure Control, HPC) เปน็ อุปกรณ์ควบคมุ ความดนั ด้านสงู ในวงจร ทางกล จะต่ออยู่กับท่อทางดา้ นอัดของระบบ ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายไมใ่ ห้เกิดขึ้นกับระบบของเครื่องทำความ เย็น เม่อื ความดันด้านทางอดั ของระบบสงู กวา่ ค่าพกิ ัด หนา้ สัมผสั ในวงจรทางไฟฟ้าของ HPC จะเปิดออก ตดั วงจร ทางไฟฟ้าของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะหยุดทำงานไม่เกิดอันตรายขึ้นในระบบ และ
หน้าสัมผัสทางไฟฟ้าของ HPC จะกลับมาต่อกันอีกครัง้ เม่ือระบบทางกลด้านความดันสูงได้รับการแก้ไขเรียบรอ้ ย แล้ว รูปร่างของไฮทเ์ พรสเซอรค์ อนโทรล ดงั รูปที่ 11.8 รปู ท่ี 11.8 ไฮทเ์ พรสเชอร์คอนโทรล 5.2 โลวเ์ พรสเซอรค์ อนโทรล (Low Pressure Control, LPC) เป็นอปุ กรณค์ วบคมุ ความดนั ดา้ นต่ำในวงจร ทางกล จะตอ่ อย่กู ับทอ่ ทางดา้ นดูดของระบบ เม่ือความดนั ด้านทางดดู ของระบบตำ่ กว่าค่าพกิ ดั หนา้ สัมผัสในวงจร ทางไฟฟ้าของ LPC จะเปิดออก ตัดวงจรทางไฟฟ้าของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะหยุด ทำงาน ไม่เกิดอันตรายขึ้นในระบบ และหน้าสัมผัสทางไฟฟ้าของ LPC จะกลับมาต่อกันอีกครัง้ เม่ือระบบทางกล ดา้ นความดนั ต่ำไดร้ ับการแกไ้ ขเรยี บรอ้ ยแล้วรูปรา่ งของโลวเ์ พรสเซอรค์ อนโทรล ดังรปู ท่ี 11.9 รูปท่ี 11.9 โลวเ์ พรสเซอรค์ อนโทรล
6. โอเวอร์โหลด (Overload) ทำหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้าออกจากวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เม่ือ กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นมอเตอรส์ งู เกินกวา่ คา่ กระแสพิกัด หรอื มีความรอ้ นสงู ทีต่ วั คอมเพรสเซอร์ โอเวอร์โหลดท่ใี ชใ้ นปจั จบุ นั มี 2 ชนิด คอื 6.1 โอเวอร์โหลดชนิดติดตง้ั ภายนอก มลี กั ษณะภายนอกทำด้วยพลาสติกแขง็ รปู ทรงกระบอกสน้ั ๆ ความหนา ประมาณฝาน้ำอดั ลม เสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณเหรยี ญสบิ บาท ภายในประกอบด้วยแผน่ โลหะ 2 ชนดิ (Bimetal) มขี ว้ั ติอทางไฟฟ้าออกมา 2 ข้วั ต่ออยกู่ ับข้วั คอมมอน (C) ของขดลวดมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ ทำหน้าทต่ี ดั วงจรของ มอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ เม่อื มีกระแสไฟฟา้ ไหลเกนิ พิกัด หรอื ขดลวดมอเตอร์มีความร้อนสงู เกินไป ซ่ึงอาจเกิดจาก ความผิดปกติของระบบ เช่น เกิดการอุดตันในระบบ ฯลฯ รูปร่างของโอเวอร์โหลดชนิดติดตั้งภายนอก ดังรูปท่ี 11.10 รปู ท่ี 11.10 โอเวอร์โหลดชนิดตดิ ต้ังภายนอก 6.2 โอเวอร์โหลดชนดิ ตดิ ต้ังภายใน ตวั โอเวอรโ์ หลดจะถูกฝงั อยู่ในขดลวดของมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ วงจร ทางไฟฟา้ ของตวั โอเวอรโ์ หลดกจ็ ะตอ่ อนุกรมกบั ขว้ั คอมมอน (C) ของมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ เช่นเดียวกับโอเวอร์ โหลดชนดิ ตั้งภายนอก และ Bimetal จะแยกออกจากกันเมอ่ื อุณหภูมิของมอเตอรค์ อมเพรสเซอรส์ งู เกินพิกัด 7. ฟวิ ส์ ฟิวส์ (Fuse) เป็นอุปกรณ์ควบคุมระบบไฟฟ้าที่พื้นฐานมาก การติดตั้งง่าย ไม่ต้องมีการบำรุงรักษาสามารถ ซอ่ มแซมหรอื เปลยี่ นง่าย การตอ่ ใชง้ านจะต่ออนกุ รมอยู่กับวงจร ทำหนา้ ทีป่ ้องกนั อันตรายจากกระแสไฟฟ้าในวงจร ไหลมากเกนิ พกิ ัด หรอื เกิด กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ฟิวสม์ หี ลายขนาดและหลายลกั ษณะ เชน่
7.1 คาร์ทริดจ์ฟิวส์ (Cartridge Fuse) มีลักษณะเป็นลักษณะเป็นหลอดไฟเบอร์ปิดมิดชิด มีฟิวส์อยูภ่ ายใน บัดกรีหัวท้ายติดกับโลหะ ภายในกระบอกฟิวส์บรรจุด้วยผงเฟอรสั ซึง่ มีลกั ษณะคล้ายชอล์ก ทำหน้าที่ป้องกันการ อารก์ หรือระเบดิ รปู ร่างของคารท์ ริดจฟ์ ิวส์ ดงั รปู ท่ี 11.11 รปู ที่ 11.11 คารท์ รดิ ฟิวสฝื 7.2 ปลัก๊ ฟิวส์ (Plug Fuse) ลักษณะภายนอกทำจากกระเบื้องพอร์ชเลน ภายในเป็นลวดเส้นเลก็ ๆทีท่ ำดว้ ย Fusible Alloy มีจุดหลอมละลายตำ่ ฐานเปน็ เกลียวโลหะเพื่อสวมเข้ากับ Socket โดยหมนุ เข้าตามเข็มนาฬกิ า ส่วนบนของปลก๊ั ฟิวส์มแี ผ่นไมกาเพอ่ื ใหม้ องเห็นเส้นฟวิ ส์ ซึง่ บอกขนาดมาตรฐานตา่ งๆ คือ 3, 6, 10, 12, 15, 20, 25, 30, แอมแปร์ เปน็ ตน้ ดงั รปู ท่ี 11.12 รูปท่ี 11.12 ปล๊ักฟิวส์ 7.3 ฟิวส์ตัดชา้ (Timedelay Fuse) จะเปน็ ฟวิ สท์ ่ีตดั วงจรช้ากว่าปกติ คือ ไมต่ ดั วงจรไฟฟ้าทนั ทถี งึ แม้ กระแสไฟฟ้าจะสูงเกินกว่าค่าพกิ ัดถงึ 25% แลว้ ก็ตาม แต่จะใชเ้ วลาระยะหน่งึ ทีจ่ ะให้ฟวิ สข์ าด แต่ถ้ากระแสไฟฟา้ เกนิ กวา่ 500% ฟิวส์จะขาดทันที ซง่ึ ฟวิ ส์ชนดิ น้ีเหมาะท่ีจะใชใ้ นงานควบคุมวงจรมอเตอร์ เพราะขณะท่มี อเตอร์ สตาร์จะมีกระแสไฟฟา้ ไหลมากกวา่ ปกติ หากใช้ฟิวสธ์ รรมดาจะไมส่ ามารถสตารต์ มอเตอร์ได้ เพราะจะทำใหฟ้ ิว ขาด ดังรปู ที่ 11.13
รปู ที่ 11.13 ฟวิ ส์ตัดชา้ 8. เซอร์กติ เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) เปน็ อุปกรณท์ ่ที ำหนา้ ทีต่ ัดกระแสไฟฟา้ ออกจากวงจรโดยอัตโนมัติ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรเกินค่าพิกัดของเซอร์กิตเบรกเกอร์ หรือเกิดกระแสไฟฟา้ ลัดวงจรโดยที่ตัวมนั เองไม่ เกิดความเสียหาย ซึ่งมีหนา้ ที่คล้ายกบั ฟิวส์ แต่เซอร์กิตเบรกเกอรแ์ ตกต่างกับฟวิ สต์ รงที่เมื่อเซอร์กิตเบรกเกอร์ตัด กระแสไฟฟ้าออกจากวงจรแล้ว ไม่ต้องเปลี่ยนตัวเซอรก์ ติ เบรกเกอร์ใหม่ และตัวเซอร์กิตเบรกเกอรก์ ็ไม่เกดิ ความ เสยี หาย เซอร์กิตเบรกเกอร์นอกจากจะทำหนา้ ที่ตัดกระสไฟฟ้าออกจากวงจรโดยอัตโนมัติแล้วยังทำหน้าท่ีเปน็ สะพาน ไฟ คือ สามารถใช้มือโยกคนั โยกเพื่อให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ่ – ตดั วงจรโดยตวั ของผใู้ ชง้ านเองได้และเม่ือเกิดกรณี ที่กระแสไฟฟ้าในวงจร ในการที่จะจ่ายกระแสไฟฟา้ ให้กับวงจรอีกคร้ังจะต้องทำการรีเซต (Reset) เซอร์กิตเบรก เกอร์ใหมโ่ ดยโยกคันโยกมาตำแหนง่ Off แล้วจึงเลอ่ื นกลับไปตำแหนง่ On รปู รา่ งของเซอร์กติ เบรกเกอร์ ดังรูปที่ 11.14 รูปท่ี 11.14 เซอร์กิตเบรกเกอร์ 9. สวติ ช์ประตูตเู้ ยน็ และหลอดไฟต้เู ยน็
สวติ ชป์ ระตูตเู้ ย็น (Door Switch) เปน็ สวิตช์ปกตปิ ดิ ตดิ ต้ังอยขู่ า้ งประตูตเู้ ยน็ เมอื่ ปดิ ประตตู เู้ ยน็ สวติ ชจ์ ะถูก ประตดู นั ใหห้ นา้ สัมผัสเปดิ ออก หลอดไฟตูเ้ ยน็ จึงดบั เมอ่ื เปิดประตตู ้เู ย็นหน้าสัมผัสของสวิตชจ์ ะต่อกัน หลอดไฟ ตู้เยน็ จึงสว่างเปน็ การอำนวยความสะดวกในการค้นหาส่งิ ของภายในตู้เยน็ ในเวลากลางคืน หลอดไฟตู้เยน็ (Refrigerator Lamp) เป็นหลอดไฟชนดิ Incandescent Lamp ข้วั หลอดเปน็ ข้วั เกลยี ว ขนาดของข้ัวหลอดมที ง้ั เลก็ และใหญต่ ามแต่บริษัทผ้ผู ลิต การเปล่ยี นหลอดไฟท่ขี าดจงึ ควรนำหลอดไฟเก่าไปเป็น ตวั อย่างดว้ ย สว่ นใหญจ่ ะติดตงั้ ไวต้ ำแหนง่ ใกล้กับเทอรม์ อสแตต รูปรา่ งของสวิตช์ประตูตเู้ ย็นและหลอดไฟตเู้ ย็นดัง รปู ที่ 11.15 รปู ท่ี 11.15 สวิตชป์ ระตูตเู้ ยน็ และหลอดไฟตู้เยน็ 10. อปุ กรณ์ต้ังเวลา อปุ กรณต์ ัง้ เวลา (Timer) เป็นอุปกรณ์ท่สี ามารถตัง้ เวลาให้สามารถควบคมุ หน้าสัมผัสให้ตัดหรือต่อวงจร ภายในเวลาเท่าใดกไ็ ด้ โดยทีต่ ัวมันอาจถูกออกแบบใหท้ ำงานด้วยระบบกลไกหรอื สนามแม่เหล็กหรือระบบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์กไ็ ด้ การตดั หรอื ตอ่ ของหนา้ สัมผัสแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 10.1 หนว่ ยเวลาหลงั จากจา่ ยไฟเข้า หมายความว่า เมือ่ จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั อุปกรณ์ตง้ั เวลา (Timer) หนา้ สัมผัสจะยงั ไมเ่ ปลีย่ นสถานะจนกวา่ จะถงึ เวลาท่ีต้งั ไว้ หนา้ สมั ผัสจึงจะเปล่ียนสถานะเปน็ ตรงกนั ขา้ ม และคา้ ง สถานะนีไ้ ว้ตลอดจนกว่าจะหยดุ จา่ ยกระแสไฟฟ้าใหอ้ ปุ กรณต์ ง้ั เวลา 10.2 หนว่ งเวลาหลังจากหยุดจ่ายไฟ หมายความวา่ เมือ่ จ่ายกระแสไฟฟา้ ใหก้ บั อุปกรณ์ตงั้ เวลา (Timer) หน้าสมั ผสั จะเปลีย่ นสถานะทนั ที และเมื่อหยุดจ่ายกระแสไฟฟา้ ให้อุปกรณต์ ง้ั เวลา หน้าสมั ผัสยังคงไมเ่ ปลีย่ น สถานะจนถึงเวลาท่ตี ั้งไว้ หนา้ สัมผัสจึงจะเปลย่ี นสถานะกลบั เป็นปกติรปู รา่ งของอปุ กรณต์ ั้งเวลา ดงั รูปท่ี 11.6
รปู ที่ 11.6 อุปกรณต์ ั้งเวลา
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: