การแนะแนวอาชพี วิชาจิตวิทยาในโรงเรียน เสนอ ผศ.ดร.อัมเรศ เนตสิทธิ์ จดั ทาโดย นางสาวปิยะนชุ ตบ๊ิ วงศ์ รหสั นักศึกษา 63941900328 นางสาวจริยาพร ต๊บิ เตปิน รหสั นกั ศึกษา 63941900329 นางสาวแพรพรรณ ลน้ี า รหสั นักศึกษา 63941900326 นางสาวบษุ บา จอมใจบ้ี รหสั นกั ศึกษา 63941900327 นายสราวุธ แก้วมณีวรรณ รหสั นักศึกษา 63941900325 นายสงกรานต์ อปุ ระหนอง รหสั นกั ศึกษา 63941900330 นักศกึ ษา ป.บณั ฑติ กล่มุ 3 หลกั สตู รประกาศนยี บัตรบณั ฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
ก คำนำ การแนะแนวและการให้ข้อมูลเพื่อเตรียมความพร้อมแก่นักเรียน ก่อนที่จะเข้าสู่การทาอาชีพ ต่างๆจะช่วยให้นักเรียน สามารถตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหรือเลือกประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม อันจะส่งผลให้เกิดการมีงานทาอย่างย่ังยืน ลดปัญหาการว่างงาน และการเปลี่ยนงานได้ในระยะยาว สาหรับการแนะแนวอาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน จาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือประกอบการ แนะแนวเพื่อช่วยให้การแนะแนวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การทดสอบศักยภาพต่าง ๆ ก็เป็นเคร่ืองมือ ส่วนหนึง่ ที่สามารถช่วยให้นักเรียน มีแนวทางในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหรือเลือกประกอบอาชีพได้ อย่างเหมาะสมตรงความตอ้ งการของตลาดแรงงาน คณะผู้จัดทาหวงั ว่า การแนะแนวอาชีพเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผอู้ ่าน หรอื นักเรียน นกั ศึกษา ทีก่ าลงั หาข้อมูลเรอ่ื งนีอ้ ยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัย มา ณ ทีน่ ้ดี ว้ ย
ข สำรบญั หน้ำ ก คานา..................................................................................................................................... ข สารบัญ.................................................................................................................................. 1 2 การแนะแนวอาชีพ.......................................................................................................... 4 ความหมายของการแนะแนวอาชีพ ............................................................................... 5 จดุ มงุ่ หมายของการแนะแนว........................................................................................... 7 หลักสาคญั ของการแนะแนวอาชีพ................................................................................... 8 ประโยชน์ของการแนะแนวอาชีพ...................................................................................... 10 แนวทางการเลือกอาชีพ................................................................................................... 11 บคุ ลิกภาพกบั การเลือกอาชีพ.......................................................................................... บทบาทหนา้ ทีข่ องหนว่ ยงานด้านการศกึ ษา ....................................................................
1 กำรแนะแนวอำชพี การแนะแนวอาชีพเป็นเร่ืองสาคัญของการเตรียมกาลังแรงงานของประเทศให้มีความพร้อม ในการประกอบอาชีพ ซึ่งควรเริ่มตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา การแนะแนวอาชีพ เป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้สามารถรู้จักตนเองรู้จักพัฒนาตนเองอย่างมีเหตุผลและใช้ปัญญา ในการแก้ไขปัญหาโดยมีข้อมูลประกอบ การแนะแนวได้มีมานานแล้วจนกลายเป็นศาสตร์หนึ่ง ปัจจุบัน ได้รับการรับรองว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์อย่างหนึ่ง ใช้คาว่า “Social Invention” เป็นสิ่งที่มนุษย์ได้กล่ันกรอง คิดค้นขึ้นมาเพื่อจะช่วยมนุษย์ด้วยกันและเป็นเคร่ืองมือที่จะแก้ปัญหาในเร่ืองของการเลือกเรียน เพื่อจะเตรียมตัวไปสู่อาชีพ การแนะแนวอาชีพจะต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ืองเพื่อความสาเร็จ ในอนาคต งานแนะแนวเป็นการช่วยเหลือบุคคลให้สามารถพฒั นาตนเองใหถ้ ึงขีดสงู สุดของความสามารถ กล่าวคือ ช่วยเพิ่มให้บุคคลได้เป็นหรือได้รับในสิ่งที่เหมาะสมกับตัวเขาให้มากที่สุด การแนะแนวจึงมิใช่ ความพยายามที่จะทาให้บุคคลได้เป็นหรือได้รับในสิ่งที่ผู้แนะแนวต้องการคาดหวังหรอื เห็นว่าเหมาะสม ดังน้ัน นักแนะแนวจะต้องมีการศึกษา พิจารณาและทาความเข้าในตัวบุคคลรวมท้ังปฏิบัติงาน ไปในลักษณ ะที่จะเอื้ออานวยให้บุคคลได้เข้าใจตนเองและพร้อมที่จะพัฒ น าตนเองให้ถึงขีดสูงสุด ของความสามารถของเขา
2 ควำมหมำยของกำรแนะแนวอำชีพ “แฟรงค์ พารส์ ันส์” (Frank Parsons) บิดา แหง่ การแนะแนวอาชีพให้ความหมายว่า การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) เปน็ กระบวนการสนบั สนนุ และส่งเสริมเพื่อให้ประชาชนมงี านทา โดยสอดคล้องกับ ความตอ้ งการ ของตลาดแรงงาน ท้ังน้โี ดยมุ่งหวังให้เกิด ความเข้าใจในโลกของอาชีพ และการทางาน ซึ่งจะทาให้ สามารถเลีย้ งดูตนเองและครอบครวั อย่างยง่ั ยืนไป การแนะแนวอาชีพจะช่วยใหเ้ กิดความเข้าใจ และสามารถ ตดั สินใจเลือกอาชีพได้ด้วยตนเอง อย่างสอดคล้องเหมาะสมกับความรคู้ วามสามารถ ความถนดั ความเข้าใจ ค่านิยมของสงั คม ตลอดจน สภาวะทางเศรษฐกิจ สวัสด สุวรรณ อักษ ร (2542, 143-144) กล่าวถึงการแนะแนวอาชีพ ว่าเป็น กระบวนการหนึ่งในการ 1) ช่วยให้บุคคลรู้จักและเข้าใจตนเองอย่างลึกซึ้งทุกด้าน คือ สติปัญญา ความสามารถ ความถนดั ความสนใจและอุปนิสัยใจคอว่าเหมาะกับงานหรอื อาชีพ ใด 2) ช่วยให้คนรู้จักและเข้าใจโลกขาองอาชีพต่างๆ และองค์ประกอบของงาน เช่น ลักษณะ ของงานอาชีพ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ เงนิ เดือน หรือรายได้ความม่ันคงในงาน โอกาส ก้าวหน้าในงาน สภาพปัจจุบันและแนวโม้นของตลาดแรงงานมนอนาคต 3) ช่วยให้บุคคลรูจัก เลือกและตัดสินใจ เลือกงานอาชีพอย่างฉลาดถูกต้องเหมาะสมกับอัตภาพ 4) ช่วยให้บุคคลรู จักตัดสินใจเลือก อย่างฉลาดในการเข้ารับการศึกษาและฝึกอบรมในวิชาชีพต่าง ๆ 5) ช่วยให้ บคุ คลได้มี โอกาสพัฒนาบุคลิกลักษณะของตนให้เหมาะกับงานอาชีพ เช่น ความอดทน ความ รับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ความขยนั หมั่นเพียร ความตรงต่อเวลาความร่วมมอื ในการทางาน 6) ช่วยให้บุคคลได้มีโอกาสสัมผัสกับงานอาชีพต่างๆ ตามความเหมาะสม กับวัยและ 7) ช่วยให้ บุคคลสามารถปรับตนให้เข้ากับงานอาชีพ จนประสบความสาเร็จและมีความสุขในงานอาชีพ ของตน
3 ดังน้ัน การแนะแนวอาชีพจงึ เปน็ กระบวนการช่วยเหลอื และสนบั สนุน เพือ่ ให้บุคคลเข้าใจในโลกของอาชีพและการทางานสามารถทาให้ผทู้ ี่ได้รับการแนะแนวรู้จกั คิด และตัดสินใจในการทางานตามความเหมาะสมของบคุ ลิกภาพแต่ละบุคคลและตามความถนัด ของตนเอง โดยยึดหลกั ในการแนะแนวอาชีพ ดงั นี้ 1. การวิเคราะหบ์ ุคคล นักแนะแนวจะช่วยผมู้ ารับบริการวิเคราะหค์ ณุ สมบตั ิต่างๆ เชน่ ความสามารถความสนใจความถนดั บคุ ลิกภาพ 2. การวิเคราะหอ์ าชีพ นักแนะแนวจะช่วยใหผ้ รู้ บั บริการมคี วามรเู้ กี่ยวกับอาชีพ เช่น มีความรเู้ กีย่ วกบั ลกั ษณะอาชีพความตอ้ งการของตลาดเกีย่ วกบั อาชีพนน้ั ๆ เวลาและทนุ ทรพั ย์ทีใ่ ชใ้ นการเตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ 3. การใชว้ ิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกอาชีพ นักแนะแนวช่วยใหผ้ รู้ ับบริการ ตดั สินใจเลือกอาชีพ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์ตนเองและวิเคราะห์อาชีพประกอบกัน
4 จุดมงุ่ หมำยของกำรแนะแนว การแนะแนวเป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคล โดยใช้เทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ เพือ่ ช่วยให้บุคคล แต่ละคนบรรลุความสาเร็จสูงสุดที่เหมาะกับความสามารถและความต้องการของตัวเขา นักแนะแนว ไม่ควรมีหน้าที่แก้ปัญหาให้กับผู้มีปัญหา แต่ควรพยายามหาหนทางช่วยให้ผู้ประสบปัญหาสามารถ แก้ปัญหาได้ด้วยตัวเอง นอกจากนี้นกั แนะแนวควรช่วยให้บุคคลสามารถพฒั นาตัวเองได้อย่างเหมาะสม ด้วย สาหรับการที่จะทาให้บุคคลแต่ละคนสามารถพัฒนาตนเองจนถึงขีดสูงสุดน้ัน ควรมีการกาหนด จุดมุ่งหมายของการทางานที่ชัดเจน เพื่อจะได้สามารถดาเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายหลักที่วางไว้ ซึ่งจดุ มงุ่ หมายของการแนะแนวควรกาหนดไว้ดงั น้ี 1. การพยายามทาให้บุคคลรู้จักตนเอง (Self-Understanding) เป็นการทาให้บุคคลรู้ข้อดี ข้อบ ก พ ร่องของต นเอ งท้ั งท างด้ าน อ ารม ณ์ สติปัญญา ความสามารถ และความถนัด เป็นต้น 2. การพยายามช่วยให้บุคคลสามารถ ตดั สินใจไดด้ ้วยตวั เอง (Self- Determination) เป็น ค ว า ม พ ย า ย า ม ที่ จ ะท าให้ บุ ค ค ล รู้จั ก ห าห น ท า ง ตัดสินปัญหาและเลือกแนวทางในการแก้ปัญหาได้ ด้วยตวั เอง 3. การช่วยให้บุคคลเกิดการปรับตัว (Self-Adjustment) เป็นการช่วยสนับสนุนให้บุคคล ยอมรับตนเองท้ังจุดดีและจุดบกพร่องจนเกิดการตัดสินใจแก้ปัญหาและนาพาตนเองไปสู่การพัฒนาที่ เหมาะสมตามลาดบั
5 หลักกำรสำคัญของกำรแนะแนวอำชพี หลักการสาคัญของการแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพมีหลักการว่า หากบุคคลใดได้ศึกษา หรือทางานที่ตรงกับความถนัด ความ สนใจ และอุปนิสัยใจคอแล้ว เขาย่อมมีความสุขและสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าการที่ต้องปฏิบัติงานในสิ่งที่ไม่ชอบไม่ถนัด หรือไม่เหมาะสมกับ อปุ นิสัยของตน ดงั นน้ั ในการแนะแนวอาชีพ จาเป็นจะต้องยึดถือหลักการทีส่ าคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. จะต้องจัดให้เป็นกระบวนการต่อเนื่องกันไป นับต้ังแต่เด็กก่อนเข้าเรียน ระหว่างเรียน และ ภายหลงั เมื่อเดก็ จบการศกึ ษาไปแล้ว 2. จะต้องจัดเพื่อเด็กทุกคน ไม่ใช่เฉพาะเดก็ ที่มปี ญั หาเร่อื งอาชีพเท่านั้น 3. จะต้องถือว่าเด็กเป็นศูนย์กลางสาคัญในการให้บริการแนะแนวอาชีพ โดยคานึงถึงความ แตกต่างของแต่ละบุคคลซึ่งมีสติปัญญา ความสามารถ ความถนัด ความสนใจและอุปนิสัยใจคอ แตกต่างกัน รวมทั้งศักยภาพในตนซึง่ อาจแตกต่างกัน 4. จะต้องถือว่าเด็กทุกคนย่อมจะมีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นคน ซึ่งมีสิทธิและเสรีภาพที่จะเลือก และตัดสินใจเลือกแนวทางชีวิตในด้านการงานอาชีพของตน โดยไม่มีการบังคับและถือว่าเด็กจะต้อง รับผิดชอบในการกระทาของตน 5. จะต้องจัดบริการแนะแนวอาชีพให้ครบทั้ง 5 บริการให้เป็นกระบวนการต่อเนื่องกันไป ดจุ ลกู โซ่เรม่ิ ตง้ั แต่ 5.1 บริการสารวจเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อช่วย ให้เด็กรู้จักและเข้าใจตนเอง ว่ามีสติปัญญาความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และอุปนิสัยใจคอหรือบุคลิกภาพเหมาะกับงาน อาชีพอะไร 5.2 บริการสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโลกของงานอาชีพต่าง ๆและความ ต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งเพื่อให้เด็กมีเจตคติที่ดีตอ่ งานอาชีพสจุ รติ ทกุ ชนิดดว้ ย
6 5.3 บริการให้คาปรึกษาเพื่อช่วยเด็กรู้จักตัดสินใจเลือกแนวทางประกอบอาชีพ อย่างฉลาดและถกู ต้องเหมาะสมกับอัตภาพ 5.4 บริการจัดวางตัวบคุ คล เพือ่ ช่วยใหเ้ ดก็ ได้มโี อกาสเลือกวิชาชีพเหมาะกับ งานอาชีพต่าง ๆ ที่สนใจด้วยการฝึกงาน ทดลองงานเพือ่ หาประสบการณใ์ นระหว่างศึกษา 5.5 บริการตดิ ตามผลและประเมินผล เพือ่ บริการให้ความช่วยเหลือในระหว่างศกึ ษา ระหว่างฝึกงานหรอื ลองงานหรอื ทางานเพือ่ หารายได้พิเศษตลอดจนเมื่อออกไปประกอบอาชีพแลว้ 6. การบริหารงานแนะแนวอาชีพและการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพ จะต้องประสานสัมพันธ์ และสอดคล้องกับการปฏิบัติงานด้านอื่น ๆ ของโรงเรียน เช่น การจัดแผนการเรียนการจัดการเรียน การสอนตามหลักการ 7. จะต้องมีบุคลากรหรือคณะบุคลากรผู้มคี วามศรัทธาต่องานนเี้ ป็นผู้รับผดิ ชอบในการกาหนด นโยบาย วางโครงการและวางแผนปฏิบัติงานแนะแนวอาชีพในโรงเรยี น 8. จะต้องได้รับความร่วมมือ และมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและ องค์กรต่าง ๆ ท้ังของรัฐและเอกชนในชุมชนหรือภายนอกโรงเรียน เพื่อรับและให้บริการ ทั้งเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ งานแนะแนวอาชีพดาเนินไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและอย่างเป็นระบบครบถ้วนตามหลักการแนะแนว 9. ในการแนะแนวอาชีพแต่ละระดับจะต้องคานึงถึงวัยและความพร้อมของเด็กเป็นสาคัญ กล่าวคือ ในระดับประถมศึกษาเด็กยังไม่ถึงวัยที่จะเลือกอาชีพหรือทางานทั้งยังไม่สนใจในเร่ืองอาชีพ มากนัก แต่เป็นวัยที่ควรปลูกฝังเจตคติที่ดีต่ออาชีพต่าง ๆ ควรให้เด็กรักการทางาน และมีกิจนิสัยใน การทางาน 10. ผู้จัดบริการแนะแนวอาชีพ จะต้องมีความรู้กว้างขวางเกี่ยวกับโลกของงานอาชีพ เช่น ความต้องการของตลาดแรงงานท้ังในปัจจุบันและอนาคต ลักษณะของงานอาชีพต่าง ๆสภาพ สิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับงานคุณสมบัติต่าง ๆ ของผู้ทางาน ระเบียบการรับสมัครงานเงินเดือน หรือค่าจ้าง สวัสดิการและโอกาสก้าวหน้าในอาชีพประเภทของอาชีพตา่ ง ๆ 11. จะต้องมีเคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จาเป็นตามสมควร เช่น แบบทดสอบความถนัด แบบสารวจความสนใจ ความสามารถและบุคลิกภาพที่พอเชื่อถือได้เพื่อช่วยให้เด็กรู้จักตนเองอย่าง ถูกต้อง จะต้องมีแฟ้มประวัติของเด็ก หรือระเบียบสะสมสาหรับประมวลข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็ก เพื่อ ความสะดวกในการให้บริการแนะแนวอาชีพได้ถกู ต้อง 12. จะต้องจัดระบบการให้ข้อมูลข่าวสารความรู้เกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ และความต้องการด้าน ตลาดแรงงานอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ โปสเตอร์สไลด์ วีดิโอเทป ภาพยนตร์ เปน็ ต้น เพื่อกระตนุ้ ความสนใจเจตคติที่ดแี ละค่านิยมทีถ่ กู ต้องในอาชีพต่าง ๆ 13. จะต้องพยายามให้เด็กผู้ปกครองและทรัพยากรต่าง ๆ ในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุด เท่าที่จะทาได้ในโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของการแนะแนวอาชีพ ทั้งจะต้องประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ให้เดก็ ครูผู้ปกครอง และชุมชน ทราบและมองเหน็ ความสาคญั
7 ประโยชนข์ องกำรแนะแนวอำชีพ 1. รู้จั ก เลื อ ก อ าชีพ ที่ เห ม าะส ม กั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ต น เช่ น ค ว า ม ถ นั ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ค ว า ม ส น ใจ บุ ค ลิ ก ภ า พ ความตอ้ งการของตนเอง เปน็ ต้น 2. ให้รู้จักโลกของงานอาชีพ เช่น อาชีพ ต่างๆ ที่อยู่ในชุมชนน้ัน ๆลักษณะงานของอาชีพ คณุ สมบัติของบุคคลที่จะประกอบอาชีพ หรอื งาน ย่อยในอาชีพต่าง ๆ ความก้าวหน้ารายได้ความ ม่นั คง การฝึกอบรมที่จะเข้าสู่อาชีพตา่ ง ๆ 3. ให้รู้จักเตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ เช่น การเข้ารับการอบรมในอาชีพต่าง ๆเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถในอาชีพนั้น ๆ เช่น การซ่อมคอมพิวเตอร์การแสวงหางานการสมัครงาน การเข้ารับการ สัมภาษณ์เปน็ ต้น
8 แนวทำงกำรเลือกอำชีพ การเลือกอาชีพมีความสาคัญ ผู้ที่จะเริ่มเข้าสู่อาชีพควรจะได้รู้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกบั อาชีพให้ มากที่สุดก่อนที่จะตัดสินใจเข้าสู่อาชีพนั้น ๆ เพราะธรรมชาติทาให้คนเรามีอะไร ที่แตกต่างกัน มีความ สนใจแตกต่างกัน มีความสามารถแตกต่างกนั มีบุคลิกภาพแตกต่างกัน จึงประกอบอาชีพที่แตกต่างกัน และเม่ือกล่าวถึงคาว่า \"อาชีพ\" เชื่อแน่ว่าคนทุกคนจะนึกถึง อาชีพที่แตกต่างกันออกไป บางคนอาจ กาลังนึกถึงอาชีพนักบิน นักวิทยาศาสตร์ นักธุรกิจ ข้าราชการ ทหารตารวจแอร์โฮสเตส พนักงานโรม แรม หรือนักการเมืองขึ้นอยู่กับความคาดหวัง หรือความคิดของแต่ละคน แนวทางการเลือกอาชีพ ประกอบด้วย ประการแรก ต้องรู้จักตัวเองโดยเริ่มจากการสารวจรูปร่างและลักษณะของร่างกาย สติปญั ญาและความสามารถอารมณ์และจติ ใจค่านิยม ทนุ ทรัพย์ความชอบหรือความสนใจ บุคลิกภาพ และความถนัดของตนเอง คงไม่มีใครรู้จักตัวเราเองดีเท่ากับตัวเรา อย่างไรก็ตาม นักจิตวิทยาเขาก็มี เคร่ืองมือสาหรับวัดบุคลิกภาพหรือความถนัด เพื่อค้นหาตนเองว่า มีความชอบ มีบุคลิกลักษณะหรือ ความถนดั ด้านไหน ประการท่ีสอง ต้องรู้จักอาชีพ ผู้ที่รู้จักอาชีพและมีความพร้อมของข้อมูลอาชีพ ที่ดีมักจะ ตดั สินใจเลือกเรียนในสาขาวิชาคณะหรือสถาบันการศึกษาที่ตนเองได้พิจารณาแล้ว และเมื่อตั้งใจเรียน จนสาเร็จการศึกษาก็มักจะได้งานทาไม่ต้องอยู่ในภาวะตกงานหรือว่างงาน หลายคนมักจะเรียนโดย ปราศจากหลกั การ ไม่ยึดหรือไม่คานึงถึงอาชีพทีจ่ ะต้องทาในอนาคต ขอเพียงเรียนให้จบหรือเลือกเรียน ตามกระแสเพือ่ น เพื่อนเรียนอะไรที่สถาบันไหนก็ตาม ไปเรียนด้วย ซึ่งไม่ใช่หลักการเลือกเรียนที่ดีข้อมูล อาชีพทีค่ วรรู้เช่น ลกั ษณะงาน คณุ สมบตั ิ ของผู้ประกอบอาชีพ โอกาสก้าวหน้าในอาชีพ เป็นต้น
9 ประการที่สาม รู้ทศิ ทางตลาดแรงงาน การพิจารณาเลือกอาชีพ มีแนวทางดงั นี้ 1. ต้องศึกษาติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจสังคมโลก ด้วยการ หม่ัน อ่านข่าวหนังสือพิมพ์ค้นหาข้อมูลจากสื่ออินเตอร์เน็ท รายงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ แนวโน้มความ ต้องการแรงงานโดยประเด็นที่ควรสนใจเป็นพิเศษ คือ อาชีพที่จะเกิดขึ้นใหม่ ซึ่งมักจะเปลี่ยนแปลงไป ตามเศรษฐกิจสังคมของโลกและประเทศ สาหรับประเด็นที่กล่าว ถึงกันมากในช่วงทศวรรษนี้เห็นจะ ได้แก่ การเปิด“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งมีสาขาอาชีพ แหง่ อนาคต ที่เปน็ ทีต่ อ้ งการของตลาด หลังเปิด AEC เกิดข้ึนเปน็ จานวนมาก 2. ต้องทราบแนวโน้มของเศรษฐกิจและรายได้ของประเทศ ข้อนี้มีหลักการง่ายๆ คือ “การจะเลือกประกอบอาชีพใด ควรดูจากรายได้ของประเทศว่ามาจากภาคเศรษฐกิจ หรืออตุ สาหกรรม ใด การจะเลือกประกอบอาชีพใดให้ดูจากรายได้หรือค่าตอบแทนแรงงาน ในอาชีพนั้น” แน่นอนว่าทุก คนหวังที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีบ้าน มีรถ และมีเงนิ ทองสาหรับ ใช้สอยในชีวิตประจาวัน เพราะฉะนั้นผู้ เข้าสู่ตลาดแรงงานใหม่จึงควรติดตามและสังเกตอาชีพ รอบตัวที่พบเห็นในสังคม มีวิธีการอยู่วิธีการ หน่ึง เรียกว่า “การวิจัยอาชีพ”โดยผทู้ ี่สนใจ ทีจ่ ะประกอบอาชีพใดใหท้ าการวิจัยด้วยการสารวจอาชีพที่ เราสนใจหรอื อาชีพที่เราใฝ่ฝันไว้ และสอบถามจากผรู้ ู้ (Key Person) 3 คน คอื นายจา้ งผู้ประกอบอาชีพ น้ันอยู่และหน่วยงานผลิต กาลังคนหรือสถาบันการศึกษา ที่ออกแบบหลักสูตรการศึกษาต่างๆเพราะ กลุ่มบคุ คลเหล่านี้ จะมีข้อมูลและทราบแนวโน้มสถานการณ์สภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพที่เรา สนใจ เม่ือเราเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วจึงนามาสังเคราะห์และสรุป เพื่อเป็นทางเลือกในการตัดสินใจ ว่าเหมาะสมที่เราจะเรียนต่อในสาขาวิชานั้น ๆ หรอื ไม่ สรุป แนวทางการเลอื กประกอบอาชีพเริ่มจาก ต้องรจู้ กั ตนเอง ต้องรจู้ กั อาชีพ รู้ทิศทางตลาดแรงงาน
10 บุคลิกภำพกบั กำรเลือกอำชีพ บุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อการเลือกอาชีพ โดย บุคคลจะเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับ บุคลิกภาพของ ตน บุคลิกภาพเฉพาะอย่างจะมีความสัมพันธ์กับ อาชีพเฉพาะอย่าง ทฤษฎีการ เลือกอาชีพของจอห์น แอลฮอลแลนด์มแี นวคิดพ้ืนฐาน 4 ประการ ประกำรท่ี 1 อาชีพเป็นเคร่ืองแสดงออกทางบุคลิกภาพ บุคคลจะเลือกอาชีพใด ย่อม แสดงวา่ บคุ ลิกภาพของเขาจะปรากฏออกมาในทิศทางเดียวกัน ประกำรที่ 2 บคุ ลิกภาพของเขาแตล่ ะบุคคลมีความสมั พันธ์กบั ชนิดของสง่ิ แวดล้อม ใน การทางานของบุคคลน้ัน ดังนั้น บุคคลจึงมีแนวโน้มจะหันเข้าหางาน หรืออาชีพที่สอดคล้อง กับ บคุ ลิกภาพของเขา ประกำรท่ี 3 บุคคลจะค้นหาสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออานวยให้เขาได้ฝึกทักษะ และใช้ ความสามารถของเขา ทั้งยงั เปิดโอกาสใหเ้ ขาได้แสดงเจตคตคิ ่านิยม และบทบาทของเขา ประกำรท่ี 4 บุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของแต่ละ บุคคล ดังน้ัน เม่ือสามารถทราบบุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อมของบุคคลแล้ว ก็จะทาให้ทราบ ผลที่จะติดตามมา ของบุคคลนั้นด้วย เช่น การเลือกอาชีพ ความสาเร็จในอาชีพ ตลอดจน ท้ังพฤติกรรมต่าง ๆ ท้ังการศึกษาอาชีพและสังคมด้วย การเลือกอาชีพและสาขาวิชาที่จะศึกษาให้เหมาะสมกับตัวเอง โดย เน้นเรื่องของ บุคลิกภาพ บุคคลแต่ละบคุ ลิกภาพที่แตกต่างกนั แต่ละคนจะมีลักษณะที่ชี้เฉพาะตนไม่ว่า จะเป็นรูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ หรือนิสัยใจคอ มีนักวิชาการบางท่านได้ให้ความหมายของ คาว่า \"บุคลิกภาพ\" คือ ลักษณะส่วนรวมของบุคคล ซึ่งประกอบด้วยสิ่งที่ปรากฏทางร่างกาย นิสัยใจคอ ความรู้สึกนึกคิด และพฤติกรรมรวมของบุคคลน้ัน ซึ่งได้รวมอยู่ด้วยกนั อย่าง ผสมกลมกลืนในตัวบุคคล น้ัน รวมถึงสิ่งที่เขาชอบและไม่ชอบ สิ่งที่เขาสนใจและไม่สนใจ เป้าหมายต่าง ๆ ในชีวิตของเขา สิ่งจูงใจ ต่าง ๆ ของเขา ความสามารถด้านต่าง ๆ ของเขา ลักษณะบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละคนน้ัน หากบุคคลรู้จักและเข้าใจบุคลิกภาพของตนเอง จนสามารถมองตนได้ตามสภาพความเป็นจริง ย่อมช่วยใหบ้ คุ คลตดั สินใจเลือกแนวทางชีวิต การศกึ ษาและอาชีพได้อย่างสอดคล้องกบั ตัวเองมากทีส่ ุด ลักษณะของบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละคนน้ัน หากบุคคลรู้จักและเข้าใจ บุคลิกภาพ จนสามารถมอง ตนได้ตามสภาพความเป็นจริงย่อมช่วยให้บุคคลตัดสินใจเลือกแนวทางชีวิต การศึกษา และอาชีพได้ อย่างสอดคล้องกบั ตัวเองมากทีส่ ุด
11 บทบำทหนำ้ ทีข่ องหนว่ ยงำนดำ้ นกำรศกึ ษำ บทบาทหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงาน ต่าง ๆ ทีจ่ ัดใหม้ ีการศกึ ษาในระดับมัธยมศึกษาตามมตคิ ณะรัฐมนตรีมีดังนี้ 1. จัดให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนต้องผ่าน การแนะแนวการศึกษาและอาชีพก่อนสาเรจ็ การศกึ ษาตาม กระบวนการแนะแนวครบถ้วน ทุกขั้นตอน 2. กาหนดให้การแนะแนวการศึกษาและอาชีพแก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 3 และ มัธยมศกึ ษาตอนปลายเป็นเป้าหมายและตวั ชีว้ ดั ผลการดาเนินงานประจาปี ของสถานศึกษาด้วย
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: