Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book

Description: e-book

Search

Read the Text Version

รวมรุนเคร่อื งบนิ รบ

1. F-35 Lightning II เปน็ เครอื่ งบินขบั ไล่รนุ่ ที่ 5 หนึ่งที่น่ัง หนึ่งเครอ่ื งยนต์ โดยเป็นเครอื่ งบนิ ขบั ไล่หลากบทบาทแบบล่องหน ซึ่ง สามารถใหก้ ารสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด การท้งิ ระเบดิ ทางยุทธวธิ ี และการปอ้ งกนั ทางอากาศ[6] เอฟ-35 มี ทั้งหมด 3 รนุ่ คอื แบบข้ึน-ลงปกติ แบบขึน้ -ลงแนวในดงิ่ และแบบที่ใช้บนเรอื บรรทุกเครอ่ื งบิน เอฟ-35 เปน็ ผ้สู บื ทอดจากเอก็ ซ์-35 เปน็ ผลติ ผลจาก โครงการเครอื่ งบินขับไลโ่ จมตรี ว่ มหรอื เจเอสเอฟ (Joint Strike Fighter, JSF) การพฒั นาของมนั นั้นได้รบั ทนุ หลกั จากสหรฐั อเมรกิ า โดยมสี หราชอาณาจกั รและประเทศอน่ื ๆ ใหท้ ุนเพ่มิ เติมมันถูกออกแบบและสรา้ งโดยทมี อตุ สาหกรรม การบนิ ทน่ี ําโดยลอ็ กฮดี มารต์ ิน โดยมนี อรท์ ธรอป กรมั แมน และบเี ออี ซิสเต็มส์เป็นหุ้นสว่ นหลักเครอ่ื งบนิ สาธติ บนิ ในปี พ.ศ. 2543มนั ทาํ การบินครงั้ แรกในวันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2549

2. Su-57 ซุคฮอย ซู-57 เครอ่ื งตน้ แบบใช้รหสั ท-ี 50พกั ฟามคี วามสามารถเทียบเทา่ กบั เครอ่ื งบนิ ขบั ไลร่ นุ่ ที่หา้ ของสหรฐั อเมรกิ า คือ เอฟ-22 แรพ็ เตอร์ และเอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 โดยไดร้ บั การออกแบบให้เปน็ อากาศยาน ลอ่ งหน เครอื่ งบนิ ตน้ แบบ ที-50 พักฟา ของซคุ ฮอย ออก บินครง้ั แรกเม่อื วันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2553มแี ผนการ เปิดตวั ในปี พ.ศ. 2556และจะเข้าประจําการในปี พ.ศ. 2561 ในวนั ท่ี 2 สิงหาคม 2560 บรษิ ัทผู้ผลติ ไดท้ ําการต้งั ชื่อเครอ่ื งอย่างเปน็ ทางการคือ ซุคฮอย ซู-57

3. Su-27 เปน็ เครอ่ื งบินขบั ไลเ่ ครอ่ื งยนตไ์ อพ่นหนึ่งและสอง ท่นี ่ัง ซึ่งเดิมผลติ โดยสหภาพโซเวียต และออกแบบโดย ซุคฮอย มันเปรยี บไดก้ ับเครอื่ งบินรนุ่ ท่ีสี่ของ สหรฐั อเมรกิ า พรอ้ มพิสัย 3,530 กิโลเมตร อาวธุ ขนาด หนัก ระบบอเิ ลคทรอกนิกอากาศที่ยอดเย่ียม มคี วาม คลอ่ งแคล่ว ซู-27 มักทําภารกิจครองความไดเ้ ปรยี บ ทางอากาศ แตม่ นั กส็ ามารถปฏบิ ัตภิ ารกิจรบอนื่ ๆ ได้ เช่นกนั มันมรี ปู รา่ งคล้ายคลงึ กับมิก-29 ทเ่ี ลก็ กว่า และ มีสว่ นประกอบที่ใกลเ้ คยี งกบั เอฟ-15 อเี กิลของอเมรกิ า แตม่ คี วามคล่องตวั เหนือกว่า มีการพฒั นามากมายของซู-27 ซ-ู 30 เปน็ แบบสอง ที่น่ังทาํ หน้าที่ทุกสภาพอากาศ ทาํ การสกัดก้ันทาง อากาศและพ้นื ดินในระยะใกล้ เทียบไดก้ บั เอฟ-15อี ส ไตรค์อเี กิล ซ-ู 33 แฟลงเกอร-์ ดสี ําหรบั การป้องกันใน กองทพั เรอื ซึ่งใช้บนเรอื บรรทุกเครอื่ งบิน เทียบได้กบั เอฟ /เอ-18อ/ี เอฟ ซูเปอรฮ์ อรเ์ น็ท รนุ่ นอกเหนือจากน้ันยงั มี ทั้งซ-ู 34 ฟลุ แบ็คสองทน่ี ั่งคูแ่ ละซู-35 แฟลงเกอร-์ อี สาํ หรบั การป้องกันทางอากาศ

4. F-18 Hornet ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจบุ นั คือโบองิ ) เป็น เครอ่ื งบนิ โจมตหี ลากบทบาทหลากสภาพอากาศทีส่ ามารถ ใช้บนเรอื บรรทกุ เครอื่ งบนิ และถกู ออกแบบมาเพ่ือการ โจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มนั ถูกออกแบบใน ทศวรรษท่ี 1970 ให้กบั กองทัพเรอื และกอง นาวกิ โยธนิ สหรฐั ฯ ฮอรเ์ น็ทยังถูกใช้โดยกองทพั อากาศใน หลายประเทศ มนั ถูกเลอื กให้ใช้ทาํ การแสดงโดยบลแู อง เจิลของกองทัพเรอื สหรฐั ฯ ตั้งแต่ปพี .ศ. 2529 ภารกจิ หลัก ของมนั คือเปน็ เครอื่ งบนิ คุม้ กนั สรา้ งการป้องกันทาง อากาศใหก้ ับกองเรอื การข่มการป้องกันภัยทางอากาศของ ข้าศกึ การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด และการ สอดแนม ความหลากประโยชน์และความไวใ้ จไดข้ องมันได้ พสิ จู น์ความมีค่าพอทีจ่ ะใช้บนเรอื บรรทกุ เครอื่ งบิน แมว้ า่ มันถูกวจิ ารณ์ในความบกพรอ่ งในเรอื่ งพิสยั และภาระ บรรทุกเมื่อเทียบกับเครอ่ื งบินสมัยเดยี วกนั เอฟ/เอ-18อ/ี เอฟ ซูเปอรฮ์ อรเ์ น็ทคือการพฒั นาที่ สําคัญของเอฟ/เอ-18 เพ่อื ทําหน้าท่ีเตมิ เต็มบทบาทของ ฮอรเ์ น็ทในกองทัพเรอื สหรฐั ฯ

5. F-15 Eagle เป็นเครอื่ งบินขบั ไล่ทุกสภาพอากาศสญั ชาติ อเมรกิ ันทถ่ี กู ออกแบบมาเพ่ือการเข้าไปในพื้นที่ ของศตั รทู ่อี ยูใ่ นระยะไกล มนั เปน็ การดดั แปลง มาจากเอฟ-15 อเี กลิ ซึ่งเป็นเครอื่ งบนิ ขบั ไล่ เหนือชั้น เอฟ-15อไี ด้พสิ จู น์ความมีคา่ ของมนั ในปฏบิ ตั กิ ารดีเซิรท์ สตอรม์ โดยทําการโจมตี เปา้ หมายสําคญั ต่อสู้ทางอากาศ และใหก้ าร สนับสนุนกบั ทหารราบในสงครามอา่ ว เอฟ-15 อี สไตรค์อเี กลิ แตกต่างจากเอฟ-15 ทั่วไปตรงที่ มนั มลี ายพรางที่เขม้ กวา่ และถังเช้ือเพลงิ ทต่ี ิด อยูด่ า้ นขา้ งของเครอ่ื งยนต์

6.F-22 Rapter เครอ่ื งบนิ เอฟ-22 เปน็ เครอ่ื งบนิ เจ็ทขบั ไล่ที่มแี ผนจะนํามาใช้ ปฏบิ ตั ิการครองอากาศทดแทนเครอ่ื งบินเอฟ-15 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 กองทัพอากาศสหรฐั อเมรกิ าได้กําหนดความตอ้ งการเครอื่ งบนิ ขบั ไล่ ยุทธวิธขี ้นั ก้าวหน้า (Advanced Tactical Fighter) ตอ่ มาเมอ่ื เดือน ตุลาคม พ.ศ 2529 จงึ ไดค้ ัดเลอื กเครอื่ งบินตน้ แบบจากสองกลุ่มบรษิ ทั ไดแ้ ก่ กล่มุ เจนเนอรลั ไดนามกิ ส/์ ล็อกฮดี /โบองิ (เจเนอรลั ไดนามกิ ส์ ควบ รวมกับลอ็ กฮดี ในภายหลัง) ที่สรา้ งเครอื่ งตน้ แบบวายเอฟ-22 กับกลุ่ม แมคดอนเนลล์ ดักลาส/นอรท์ ธอป ท่ีสรา้ งเครอ่ื งต้นแบบวายเอฟ-23 เพ่อื ดาํ เนินการสาธติ และรบั รองเครอื่ งต้นแบบ วันท่ี 23 เมษายน พ.ศ. 2534 กองทัพอากาศสหรฐั ฯตดั สนิ ใจเลือกเครอื่ งตน้ แบบวายเอฟ-22 ในการ ดําเนินการ เครอ่ื งตน้ แบบวายเอฟ-22 ดาํ เนินการสาธติ และรบั รองเครอื่ งต้น แบบนานกว่า 54 เดือน โดยมกี ารทดลองบนิ กวา่ 74 เที่ยวบนิ รวมเวลา 91.6 ช่ัวโมง ทดสอบติดต้ังและยงิ จรวดนําวถิ อี ากาศสู่อากาศ ไซดไ์ ว น์เดอร์ และ แอมแรม การเติมนามันกลางอากาศ ทดสอบปรบั แรงขบั ของ เครอ่ื งยนตข์ ณะบนิ ระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์อากาศ (Avionics) การทดสอบ และปรบั ปรงุ ห้องนักบนิ โดยการทดลองใช้จรงิ รว่ มกับกองทพั อากาศและ กองทพั เรอื สหรฐั ฯ และการทดสอบวดั ขนาดพ้นื ทสี่ ะทอ้ นเรดารก์ ับขนาด จรงิ ของเครอ่ื งบิน ส่วนการทดสอบเครอ่ื งยนตต์ น้ แบบมีอยู่ 2 แบบคือ เครอื่ งยนต์ตน้ แบบ วายเอฟ-119 ของบรษิ ัทแพรททแ์ อนด์วิทนีย์ และ เครอ่ื งตน้ แบบวายเอฟ 120 ของบรษิ ทั เจนเนอรลั อเิ ลค็ ทรกิ ผลการตัดสิน ของกองทพั อากาศสหรฐั ไดเ้ ลือกเครอ่ื งยนต์ต้นแบบวายเอฟ-119 สาํ หรบั ใช้กบั เครอ่ื งบินขับไล่ เอฟ-22

7.F-16 Fighting Falcon เป็นเครอื่ งบินขับไลห่ ลากบทบาทท่ีเดิมทพี ฒั นาขนึ้ โดยบรษิ ัทGeneral Dynamicsเพื่อกองทพั อากาศสหรฐั มันถูกออกแบบใหเ้ ปน็ เครอ่ื งบินขับไล่ ตอนกลางวันนาหนักเบา มันได้กลายมาเปน็ เครอื่ งบินขับไลท่ ปี่ ระสบความสําเรจ็ ความสามารถ รอบตัวของมันเป็นเหตผุ ลหนักที่มันทาํ การตลาดได้ เย่ียมโดยมันถกู เลอื กโดยกองทัพอากาศของ 25 ประเทศเอฟ-16 เป็นโครงการเครอื่ งบินขับไล่พลงั ไอพน่ ทใี่ หญท่ ีส่ ดุ ของฝ่ ังตะวันตกพรอ้ มด้วยการผลิต กวา่ 4,400 ลําต้ังแตป่ พี .ศ. 2519 ถึงแม้วา่ มนั จะไม่ ถกู ซ้ือโดยกองทพั อากาศสหรฐั อกี ตอ่ ไป รนุ่ ท่ี กา้ วหน้ากย็ งั คงทําตลาดในหมูต่ ่างประเทศได้ ในปี พ.ศ. 2536 เจเนรลั ไดนามกิ สข์ ายธรุ กิจการผลิต เครอื่ งบนิ ให้กบั บรษิ ทั ลอ็ กฮดี ซึ่งไดก้ ลายมาเป็น ลอ็ กฮดี มารต์ ินหลงั จากทําการรวมเขา้ กับมารต์ นิ มาเรยี ทตา้ ในปพี .ศ. 2538

8.F-20 Tiger Shark เปน็ เครอื่ งบนิ ขับไล่ขนาดเบาท่อี อกแบบและสรา้ งโดยนอรท์ ธร อป การพฒั นาเรม่ิ ข้นึ ในปีพ.ศ. 2518 เพ่อื พัฒนาเอฟ-5อี ไทเกอร์ 2 ให้ ก้าวหน้าขึน้ ดว้ ยการเพิ่มเครอื่ งยนตใ์ หมท่ ่ที รงพลัง และอเิ ลคทรอนิก อากาศและเรดารร์ นุ่ ใหมเ่ ขา้ ไป เมอื่ เทยี บกบั เอฟ-5อแี ลว้ เอฟ-20 รวดเรว็ กวา่ สามารถยงิ เปา้ หมายทีเ่ กนิ ระยะมองเหน็ ได้ และมรี ปู แบบ โจมตอี ากาศส่พู ืน้ ท่ดี ีกว่า ดว้ ยความสามารถเหล่าน้ีเอฟ-20 จงึ กลายมา เปน็ คู่แข่งของเอฟ-16 ไฟท์ต้งิ ฟอลคอน แตม่ รี าคาถกู กวา่ ทั้งในการซื้อ และการใช้งาน การพฒั นาของเอฟ-20 สว่ นใหญ่เป็นสว่ นหน่ึงของโครงการเอฟ เอกซ์ของกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ ซึ่งพยายามที่จะขายเครอื่ งบนิ ขบั ไล่ ท่ลี า้ สมัยของสหรฐั ฯ ให้กบั สมั พันธมิตรเพอ่ื จํากัดโอกาสทเ่ี ทคโนโลยี ของสหรฐั ฯ จะตกไปอยู่ในมอื ของสหภาพโซเวียต ถงึ แมว้ ่านอรท์ ธรอป หวงั ไวส้ งู ทจี่ ะนําเอฟ-20 เขา้ ทําตลาด แต่ดว้ ยการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ของโรนัลด์ เรแกนทาํ ให้เอฟ-20 พ่ายแพต้ ่อเอฟ-16 ไมม่ ีเอฟ-20 ลาํ ใด ถกู สง่ั ซื้อโดยตา่ งชาตืและในทีส่ ดุ โครงการกถ็ ูกละทง้ิ ในปพี .ศ. 2529 หลังจากที่ตน้ แบบส่ีลําได้ถูกสรา้ งขึน้ มา 2 ลาํ ได้ประสบอบุ ตั เิ หตตุ ก ขณะทําการบนิ ทดลองและนักบินเสียชีวติ ส่วนอกี 2 ลําไดถ้ กู นําไป แสดงไวท้ ่ี Smithsonian Washington DC และอกี ลาํ ไดเ้ กบ็ ไวท้ ี่ Natural History Museum of Los Angeles, CA 90007

9.J-20 เดิมอยใู่ นชื่อโครงการ J-XX ซ่ึงรเิ รมิ่ ในทศวรรษท่ี 1990 เรม่ิ ทาํ การทดสอบการบนิ ในช่วงปลายปี 2010 เรม่ิ เขา้ ประจาํ การในกองทัพปลดปลอ่ ยประชาชนจนี ในเดอื น มีนาคม 2017 โดยจะเป็นเครอื่ งบนิ ขับไลห่ ลากบทบาท เช่นเดียวกับ เอฟ-35 ของกองทัพอากาศสหรฐั อเมรกิ า เจ-20 เปน็ เครอื่ งบินรบในยคุ ท่ี 5 ทีม่ ีเทคโนโลยี ล่องหน (Stealth) เช่นเดยี วกับ เอฟ-22 แรพ็ เตอร,์ เอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 ของสหรฐั อเมรกิ า และ ซคุ ฮอย ท-ี 50 ของรสั เซีย โดย เจ-20 จะสามารถบรรทกุ อาวธุ และ เชื้อเพลิงได้มากกวา่ เอฟ-22 พสิ ัยทําการและจํานวนอาวธุ จงึ มมี ากกวา่ เครอ่ื ง เอฟ-22 ทําให้ภารกิจของเครอ่ื งบนิ เจ-20 มีความหลากหลายมากกวา่ ไปตามความสามารถ ในการบรรทุกท่ีมากกว่าและพสิ ยั การบนิ ทไ่ี กลกวา่ เจ-20 พัฒนาโดยบรษิ ัท เฉิงตู แอรค์ ราฟท์ อนิ ดสั ทรี กรปุ๊ (องั กฤษ: Chengdu Aircraft Industry Group) (CAC) โครงสรา้ งยานมีความคล้ายคลึงกับ เอฟ-35 คอ่ นข้างมากขณะท่ีขนาดลาํ ตัวมีขนาดใหญก่ ว่า เอฟ-22 ไม่มาก ใช้เครอื่ งยนตแ์ บบ Saturn117s ท่ผี ลติ ใน รสั เซียจาํ นวน 2 เครอื่ ง และระบบเรดาห์เปน็ แบบ Active Electronically Scanned Array (AESA)

10.Su-35 เปน็ เครอื่ งบินขับไล่ทพี่ ฒั นามากจาก ซ-ู 27 แฟลงเกอรเ์ ปน็ เครอ่ื งบนิ ขบั ไลท่ นี่ ่ัง เดีย่ ว , สองเครอ่ื งยนต์ , ความคลอ่ งตัวสูง และ หลากหลายบทบาท. มนั ถูกออกแบบ โดนบรษิ ทั ซุคฮอยและสรา้ งโดย บรษิ ัท KnAAPO เครอื่ งบนิ ลําแรกถูกออกแบบช่วงปี ค.ศ.1980s, เมื่อบรษิ ทั ซุคฮอยพยายามทจ่ี ะ พฒั นาเครอื่ งบินประสทิ ธภิ าพสูง ซ-ู 27 แฟลงเกอร์ , และในช่วงแรกรจู้ กั กนั ในชื่อ ซู-27 เอม็ . ในภายหลงั มกี ารออกแบบใหมเ่ ป็น ซู-35 , การออกแบบใหม่น้ีไดร้ บั การปรบั แตง่ อากาศพลศาสตร์ และความคลอ่ งตัวท่ีเพม่ิ มากขน้ึ , การปรบั ปรงุ ระบบการบนิ , พิสยั การบนิ ท่ีไกลกวา่ เดมิ , และเครอื่ งยนต์ท่ีแรงมากขน้ึ . เครอื่ งทดสอบของ ซ-ู 35 ลาํ แรก ดดั แปลมาจาก ซู-27 , และขนึ้ บินครง้ั แรกวนั ที่ 28 มถิ นุ ายน ค.ศ.1988. หลงั จากน้ันมัน ถูกสรา้ งข้ึนอกี มากกว่า 12 ลาํ , มบี างลาํ ถูกใช้โดยฝงู บนิ ผาดแผลง รสั เซียน ไนท.์ ซ-ู 35 ลาํ แรกถกู ดดั แปลงกลายเป็น ซู-37 เทอรม์ ิเนเตอร์ ดว้ ยครอบครองเครอ่ื งยนต์แบบปรบั ทิศทาง ซ-ู 37 ถูกใช้ในฐานะตัวทดสอบเทคโนโลยขี อง ซ-ู 35. ช่วงสิ้นปี ค.ศ.1990s ซู-35 ยูบี เปน็ เครอ่ื งบินฝกึ สองทีน่ ั่งได้ถกู สรา้ งขนึ้ จาํ นวนหนึ่งลาํ ซ่ึงมคี วามคล้ายคลึงกบั ซู-30 อยา่ งมาก ในปี ค.ศ.2003 บรษิ ทั ซคุ ฮอยลงมือปรบั แตง่ ความทนั สมัย ซ-ู 27 ครง้ั ท่ี 2 เพ่ือ ผลติ เครอื่ งบินขับไล่ยคุ 4++ เพ่อื เป็นรอยต่อระหวา่ ง เครอื่ งบินขบั ไลท่ ่เี ป็นมรดกตกทอด และเครอ่ื งบนิ ยุค 5 ซคุ ฮอย พเี อเค เอฟเอ ทีก่ าํ ลงั จะเข้ามา. การปรบั แตง่ น้ีจะละทง้ิ ปีก คารน์ าด และ เบรกอากาศ , และยังนํา การปรบั ปรงุ ระบบการบิน , เรดาร,์ เครอื่ งยนต์ แบบปรบั ทิศ และ หน้าตัดเรดาหท์ น่ี ้อยลง. ในปี 2008 มีการปรบั ปรงุ อกี ครง้ั , มกี ารตั้ง ช่ือ ซู-35บีเอม็ อยา่ งผดิ พลาดในสอ่ื , ต้งั แตม่ ันเรม่ิ โครงการบนิ ทดสอบที่เกี่ยวขอ้ งกบั เครอื่ งทดสอบทั้งสี่ลํา , หน่ึงในพวกมันได้หายไปในปี ค.ศ. 2009.

แหลงอางองิ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%B4%E0%B8% https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0 87%E0%B8%95%E0%B8%B9_%E0%B9%80%E0%B8%88-20 %B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8 %A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C_%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%8 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8% 1%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA_%E0%B9%80%E0%B8%AD 81%E0%B8%AE%E0%B8%B5%E0%B8%94_%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8% %E0%B8%9F-15_%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%81 A3%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8% %E0%B8%B4%E0%B8%A5 AD%E0%B8%9F-35_%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B 8%99%E0%B8%B4%E0%B8%87_2 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0 %B8%AE%E0%B8%AD%E0%B8%A2_%E0%B8%8B%E0%B8%B9-35 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8% 81%E0%B8%AE%E0%B8%B5%E0%B8%94_%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8% A3%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8% AD%E0%B8%9F-35_%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B 8%99%E0%B8%B4%E0%B8%87_2 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8% AE%E0%B8%AD%E0%B8%A2_%E0%B8%8B%E0%B8%B9-57 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9F-20_%E0% B9%84%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B 9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9F-22_%E0% B9%81%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8 %AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C

ประโยชนท่ไี ดรับ ไดประโยชนเกย่ี วกบั การที่ไดร ับรเู รื่องทเี่ ครื่องบนิ นั้นๆรูเร่อื งเก่ยี ว กบั ประวตั ิของเค่ืองบนิ น้นั ๆ แนวทางในการทาํ อยากใหทุกคนทมี่ าอา นอนั นอ้ี ยากใหทกุ คนไดร เู ร่อื งทีผ่ มได เอามาให

ด.ช. กาญจนกวนิ ธ กาญจนรัตน P6S2 เลขท่ี 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook