ก บทคัดย่อ วจิ ัยเรอื่ ง: การศกึ ษาผลสัมฤทธิ์เพ่อื พฒั นาทกั ษะการประกอบอาหารวชิ าอาหารว่าง โดยใช้รูปแบบการจดั การ เรียนรู้แบบรว่ มมอื (Cooperative Learning ของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาชั้น ม. 2 ผู้วิจยั : นางสาวสนุ สิ า ประทุมไชย ระยะเวลา: ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 การศึกษาคน้ คว้าในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารว่าง โดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เพ่ือนช่วยกัน ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาช้ัน ม. 2 เรื่องการประกอบอาหารว่างไทย การทำขนมเปียกปูนใบเตยน้ำตาลโตนด จำนวน 39 คน ผลการวจิ ยั พบว่า คะแนนในภาคทฤษฎี มีค่าเฉลี่ยรวมสูงสุด 4.7 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานรวม 0.4 คิดเป็นร้อยละ 98 การแปลผล ดมี าก โดยนักเรยี นผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ มากกวา่ รอ้ ยละ 60 ภาคปฏบิ ัติทักษะการประกอบอาหาร ว่าง การทำขนมเปียกปูนใบเตยน้ำตาลโตนด มีลักษณะด้านกล่ินหอมของใบเตย น้ำตาลโตนด และลักษณะ การจัดตกแต่งอาหารมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( X = 5.00) รองลงมานักเรียนจัดเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ ในการ เตรียมและประกอบได้อาหารอยู่ในระดับดีมาก ( X =4.90) นกั เรยี นมกี ารปฏิบตั งิ านตามข้นั ตอนอยู่ในระดบั ดี มาก ( X = 4.70) บุคลิกภาพและกิจนิสัยในการปฏิบัติงานอย่ใู นระดับดีมาก ( X = 4.60) ตามลำดับ และการ ทำความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ์บริเวณและจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณ์อยู่ในระดับดี ( X = 4.00) มีค่าเฉล่ีย ต่ำสดุ โดยนักเรยี นผ่านเกณฑป์ ระเมนิ มากกว่าร้อยละ 80
ข กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยฉบับน้ีสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีเพราะได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากคุณ ครูผู้สอนในระดับช้ันมธั ยมศึกษาชัน้ ปีท่ี 2 ห้อง 1-8 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ทุกท่าน ขอขอบคุณ ท่านเจ้าของเอกสาร บทความ ทฤษฎีและงานวิจัยต่างๆ ที่ให้ความช่วยเหลือในการค้นคว้าเอกสารอ้างอิง พร้อมทงั้ นกั เรียน และผู้ปกครอง ทใ่ี ห้การสนบั สนุนในการจัดทำวจิ ัย ขอกราบขอบพระคุณผู้อำนวยการและคณะครูโรงเรียนเบญจมเทพอทุ ิศจังหวัดเพชรบรุ ี ทุกท่านท่ี อำนวยความสะดวกในการดำเนนิ งานวิจยั เปน็ อยา่ งดี ขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา ตลอดจนเพอ่ื นๆ พๆ่ี นอ้ งๆ ท่มี สี ่วนช่วยสนับสนนุ เปน็ กำลงั ใจ ตลอดเวลาที่ทำการศึกษาและทำวิจัยในครง้ั นี้
ค คำนำ การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะต้องสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจรญิ กา้ วหน้าอย่างรวดเร็ว เพ่ือพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรใู้ ห้มีคณุ ภาพและมาตรฐานระดบั สากลสอดคล้องกบั ประเทศไทย 4.0โลกในศตวรรษท่ี 21 และทัดเทยี มกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดำรงชวี ิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลกตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาจึงต้องจัดการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระตุน้ ให้ผู้เรยี นได้ใช้กระบวนการคดิ โดยผสู้ อนจะตอ้ งเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้จัดบรรยากาศเชงิ บวก สรา้ งแรงจูงใจ ให้ผู้เรียนต้องการเรยี นรู้ ฝกึ ใหผ้ ู้เรยี นคดิ วิเคราะห์ ลงมอื ปฏิบัติและสรปุ เป็นความรฝู้ ังแน่น ซึ่งเปน็ องค์ความรู้ท่เี กิด จากประสบการณ์ของตนเอง แลว้ นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั การจดั การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี เป็นการจัดการเรยี นการสอนที่ชว่ ยพฒั นา ผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนำความร้เู กี่ยว ทักษะงานอาชีพกับการดำรงชีวิต มาใช้ประโยชน์ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน รายวชิ าอาหารว่าง เรื่องการประกอบอาหารว่างแบบไทย ของนักเรยี นระดับช้ัน ม.๒ ทลี่ งเรียนวชิ าเพม่ิ เติม นน้ั ได้ เรียนรู้เกี่ยวกับ การเลือกชื้อวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ อุปกรณ์การวัด ชั่ง ตวง การตัดแต่งช้ินอาหาร เพ่ือนำไป ประกอบอาหารว่าง และฝึกปฏิบัติการประกอบอาหารว่างแบบคาว-หวานจากวัตถุดิบที่มีในท้องถ่ิน ให้เกิดเมนู ใหม่ๆ โดยนำรูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) มาปรบั ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการ เรียนรู้ งานวจิ ัย เร่ือง การศึกษาผลสัมฤทธิ์เพ่ือพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารวา่ ง โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เพ่ือนช่วยกัน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้น ม. 2 เพื่อให้นักเรยี นสามารถทำความเข้าใจได้ดีย่ิงข้ึน และเปน็ การ แลกเปล่ียนความรู้ความเข้าใจร่วมกัน ซึ่งคาดว่าจะ ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน และนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการเรียนปฏิบัติ เพื่อท่ีจะเพิ่ม ผลสมั ฤทธแ์ิ ละทกั ษะทางการเรียน สนุ สิ า ประทุมไชย ผวู้ ิจัย
สารบญั ง บทท่ี หน้า บทคัดย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข คำนำ ค สารบัญ ง บทท่ี 1 บทนำ 1 ที่มาและความสำคญั ของปญั หา 1 วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 1 คำถามงานวจิ ยั 1 สมมติฐานการวจิ ยั 1 ตัวแปรท่ศี กึ ษา 2 ขอบเขตประชากร 2 ระยะเวลาดำเนินการวจิ ยั 2 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย 2 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั 2 นยิ ามศัพท์(นิยามเชิงปฏิบตั ิการ) 2 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง 4 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4 รูปแบบการจัดการเรยี นในรูปแบบแบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) 7 การวดั พฤตกิ รรมด้านทกั ษะพสิ ยั 14 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง 16 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการ 17 การกำหนดประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 17 เครื่องมอื ในการวิจยั 17 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 19 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 20
สารบญั (ต่อ) จ บทที่ หน้า บทท่ี 4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 22 22 แสดงคะแนนภาคทฤษฎี หลังเรยี นวชิ าอาหารว่าง 23 แสดงคะแนนภาคปฏิบตั ิ ทักษะการประกอบอาหาร 24 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 24 วัตถุประสงค์การวจิ ัย 24 ประชากร 24 เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย 24 ข้นั ตอนการดำเนินการ 25 สรุปผลการวิจยั 25 การอภปิ รายผล 25 ข้อเสนอแนะ 27 บรรณานุกรม 29 ภาคผนวก
1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานจะต้องสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพ่ือพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกบั ประเทศไทย 4.0โลกในศตวรรษท่ี 21 และทัดเทียมกบั นานาชาติ ผเู้ รียนมศี กั ยภาพในการ แข่งขัน แล ะด ำรงชี วิต อย่ างส ร้างส รรค์ใน ป ระช าคมโล กต ามห ลั กป รั ช ญ าของเศรษ ฐกิจพ อเพี ย ง สถานศึกษาจึงต้องจัดการศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ กระบวนการคิด โดยผู้สอนจะต้องเปล่ียนบทบาทเป็นผู้จัดบรรยากาศเชิงบวก สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน ต้องการเรียนรู้ ฝึกให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติและสรุปเป็นความรู้ฝังแน่น ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ เกิดจากประสบการณข์ องตนเอง แลว้ นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั การจดั การเรยี นการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี เปน็ การจัดการเรียนการสอนที่ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพ้ืนฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต มุ่งเน้นให้ผู้เรียน สามารถนำความรู้เก่ียวทักษะงานอาชีพกับการดำรงชีวิต มาใช้ประโยชน์ในการทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาอาหารว่าง เรื่องการประกอบอาหารว่างแบบไทย ของนกั เรยี นระดับช้ัน ม.๒ ที่ลงเรียนวชิ าเพิ่มเตมิ น้ันได้เรยี นรู้เกย่ี วกับ การเลือกช้ือวัตถดุ ิบ การเตรยี ม วัตถดุ บิ อปุ กรณ์การวัด ชงั่ ตวง การตดั แต่งช้นิ อาหาร เพือ่ นำไปประกอบอาหารว่าง และฝึกปฏิบตั กิ าร ประกอบอาหารว่างแบบคาว-หวานจากวัตถุดิบท่ีมีในท้องถ่ิน ให้เกิดเมนูใหม่ๆ โดยนำรูปแบบการ จัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ (Cooperative Learning) มาปรบั ประยุกต์ใชใ้ นกิจกรรมการเรียนรู้ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั เพอ่ื พัฒนาทักษะการประกอบอาหารวชิ าอาหารวา่ ง โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ รว่ มมือ (Cooperative Learning) เพ่ือนชว่ ยกัน ของนกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาชัน้ ม. 2 1.3 คำถามวิจยั การจัดการเรียนในรูปแบบแบบร่วมมือ(Cooperative Learning) เพื่อนช่วยกัน นักเรียนมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะการประกอบอาหาร ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ของระบบการ ประเมินผลการเรยี นใช่หรือไม่ 1.4 สมมตฐิ านการวจิ ัย นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทกั ษะการประกอบอาหาร โดยใช้รปู แบบการจัดการ เรียนในรูปแบบแบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) เพ่ือนชว่ ยกัน ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80
2 1.5 ตัวแปรทศี่ กึ ษา ตัวแปรต้น รูปแบบการจัดการเรียนในรูปแบบแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เพื่อนช่วยกนั ตัวแปรตาม นักเรียนมีทักษะความชำนาญ ความสารมารถในการประกอบอาหารว่างแบบ ไทย ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 80 1.6 ขอบเขตการศกึ ษา ประชากร นักเรียนระดับชั้น ม.2 ห้อง 1-8 กลุ่ม A,B ที่ลงเรียนรายวิชา อาหารว่าง (วิชาเพ่ิมเติม) ภาค เรียนท่ี 2/2564 จำนวน 39 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรยี นระดับชั้น ม.2 ห้อง 1-8 กลมุ่ A,B ทีล่ งเรียนรายวิชา อาหารวา่ ง (วชิ าเพ่ิมเติม) ภาค เรยี นที่ 2/2564 จำนวน 39 คน 1.7 ระยะเวลาดำเนนิ งานวิจยั ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 1.8 กรอบแนวคดิ ของการวิจัย ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม รปู แบบการจดั การเรยี นใน นกั เรียนมที ักษะความชำนาญ ความสารมารถในการประกอบ รปู แบบแบบร่วมมือ อาหารว่างแบบไทย ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80 (Cooperative Learning) เพือ่ นชว่ ยกนั 1.9 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ 1.9.1 นักเรยี นมที ักษะความชำนาญ ความสารมารถในการประกอบอาหารว่างแบบไทย 1.9.2 นกั เรยี นสารมารถปฏิบัติงาน การคดิ การแกไ้ ขปญั หางานได้อย่างเปน็ ระบบ 1.9.3 นกั เรียนมีทกั ษะความชำนาญ ความสารมารถในการประกอบอาหารว่างแบบไทยผ่าน เกณฑ์ร้อยละ 80 1.10 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ รูปแบบแบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) เพ่ือนช่วยกนั หมายถงึ ขัน้ ตอนการจัดการ เรยี นการสอนทเ่ี น้นใหน้ ักเรยี นทำงานรว่ มกัน โดยแบง่ ออกเปน็ กลุ่มย่อย ประมาณ 4-5 คน โดยคละ ความสามารถของนกั เรียนที่มีท้งั เก่งปานกลางและอ่อน เพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ การชว่ ยเหลือพ่ึงพาซึ่งกนั และกนั แลกเปล่ียนเรยี นรู้ร่วมกัน เพื่อเป้าหมายความสำเรจ็ ของกลมุ่ รว่ มกัน ทกั ษะการประกอบอาหาร หมายถงึ ความชำนาญ ความสารมารถในการประกอบอาหารวา่ ง แบบไทย แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน หมายถึง แบบประเมินผลการปฏิบัติอาหารว่างไทยโดยเป็น การประเมินผลการการปฏิบัตงิ านและการประเมินด้านผลงาน
3 เกณฑ์การประเมิน หมายถึง เกณฑ์การผ่านการประเมิน ภาคทฤษฎี (สอบหลังเรียน) ต้องได้ คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม และภาคปฏิบัติต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของ คะแนนเต็ม กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง นักเรียนระดับชั้น ม. 2 ห้อง 1-8 กลุ่ม A,B ท่ีลงเรียนรายวิชา อาหาร วา่ ง (วิชาเพ่ิมเติม) ภาคเรียนท่ี 2/2564 จำนวน 39 คน
4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกบั การวิจัย การพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารว่าง โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ (Cooperative Learning) เพื่อนช่วยกัน ของนักเรียนระดับชั้น ม. 2 ห้อง 1-8 กลุ่ม A,B ท่ีลง เรยี นรายวิชา อาหารว่าง (วิชาเพ่ิมเติม) ภาคเรียนที่ 2/2564 จำนวน 39 คนผู้วจิ ยั ได้ทำการศึกษาจาก เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้องดังน้ี 2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1.1 ความหมายการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2.1.2 ลกั ษณะและความสำคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1.3 วิธีจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 2.2 รปู แบบการจดั การเรยี นในรปู แบบแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 2.2.1 รปู แบบแบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) 2.2.2 ประเภทของการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ 2.2.3 โปรแกรมการเรยี นแบบร่วมมือ 2.3 การวัดพฤติกรรมดา้ นทักษะพสิ ยั 2.3.1 ประเภทของการวดั พฤตกิ รรมดา้ นทักษะพสิ ัยการวัดด้านทกั ษะพิสัย 2.3.2 ขั้นตอนการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพสิ ยั 2.3.3 คุณลกั ษณะที่ใชว้ ดั พฤติกรรมด้านทักษะพิสยั 2.3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมดา้ นทักษะพิสยั 2.4 งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1.1 ความหมายการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ในเร่อื งความหมายของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ไดม้ ผี ู้ศกึ ษา และ สรุปไว้ อาทเิ ช่น อันทริ า บุญญากร (2542 : 4) กลา่ ววา่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คอื กระบวนการ ในการจัดประสบการณ์ ตา่ งๆให้กบั ผู้เรียนโดยครูและผูเ้ รียนร่วมกนั จัดกจิ กรรม ทั้งที่เป็นกิจกรรม ในห้องเรียน และนอก ห้องเรียน เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถและลกั ษณะตา่ งๆที่กาํ หนดในหลักสูตร วฒั นาพร ระงับทุกข์ (2542 : 28) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ สภาพการเรียนรู้ ที่ เกดิ ข้ึน เพื่อนำผูเ้ รียนไปส่เู ป้าหมาย หรือ จุดประสงค์ การเรยี นการสอนที่กำหนด การออกแบบ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา และ สภาพแวดลอ้ ม การ เรยี นรตู้ ่างๆ จงึ เปน็ ความสามารถ และ ทักษะของครมู ืออาชีพในการจัดการเรยี นรูท้ ี่มปี ระสิทธิผล และ เสริมศักดิ ์บตุ รทอง (2547 : 28) กล่าววา่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ หมายถงึ กระบวน การท้ังมวลของการจดั ประสบการณ์ตา่ งๆใหก้ บั ผ้เู รียน โดยครูผสู้ อน และ ผ้เู รยี นร่วมกัน จดั กจิ กรรมทั้ง ในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น เพอื่ ให้การเรียนการสอนดำเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพน่าสนใจ และ ผเู้ รยี นมีความรู้ ความสามารถ และ ลกั ษณะต่างๆ ตามทกี่ าํ หนดไวใ้ นหลกั สูตร การจดั กิจกรรมการ
5 เรียนรู้จึงนบั ว่ามคี วามสำคญั จากการให้ความหมายดังกล่าว สรปุ ได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หมายถงึ การรว่ มกันจัดกิจกรรมของผ้เู รยี น และ ครทู ี่เปน็ ผสู้ อน ดว้ ยกระบวนการตา่ งๆทั้งในหอ้ งเรยี น และ นอกห้องเรยี น เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และ ลักษณะต่างๆท่ีไดต้ งั้ เป้ าหมายไว้ ได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2.1.2 ลักษณะและความสำคัญของการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ มีความสำคญั ต่อการบรรลุความมงุ่ หมาย แห่งการพฒั นา คุณภาพ ของผูเ้ รียน ให้เปน็ ไปตามเป้าประสงคแ์ ห่งหลักสูตร มีผู้ศกึ ษาลักษณะ และ ความสำคัญ ของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เช่น วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542 – 91) กลา่ ววา่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ มลี ักษณะ และ มี ความสำคญั คือ ต้องจดั ใหส้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ และ เนอ้ื หา เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อม ของ โรงเรยี น และ ชีวติ จริง เหมาะกับธรรมชาติ และ วยั ของผู้เรยี น และเน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ สุพนิ บุญชู วงศ์ (เสริมศกั ดิ บ์ ตุ รทอง. 2547 : 28-29; อ้างองิ จาก สุพนิ บุญชวู งศ.์ หลกั การสอน. 2535 : 76-77) กล่าววา่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีด่ ี ต้องเกยี่ วข้องกับสิง่ สำคัญดงั น้ี 1. กิจกรรมทกุ อยา่ งต้องเกี่ยวขอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. การจดั ลำดบั กิจกรรมต้องสอดคล้องกบั จุดประสงค์ทั้ง 3 ด้านคอื ดา้ นพุทธิพิสยั จติ พสิ ยั และ ทกั ษะพิสัย 3. กิจกรรมการเรียนการสอนควรเหมาะกบั วัย และ ความพรอ้ มของนักเรยี น 4. กิจกรรมการเรยี นการสอนควรมกี ารจัดลำดบั ข้ันตอน เพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้ มีความต่อเน่ือง แต่ละกจิ กรรมให้มีการสบื ทอดต่อจากการเรียนรทู้ ี่มอี ยู่กอ่ น จะตอ้ งเปน็ การจัดลำดบั จากรปู ธรรมไปยงั นามธรรม จากประสบการณ์ที่อยู่ใกล้ไปส่ปู ระสบการณ์ที่อยไู่ กล และ จากกระบวน การคดิ การทำงาน อย่างงา่ ยๆไปสู่การใหเ้ หตุผลที่เป็นแบบแผน และ เป็นนามธรรม 1. กจิ กรรมการเรียนการสอน ควรบังเกดิ ผลดอี ยา่ งเต็มท่ี ก่อใหเ้ กิดการเรียนรเู้ พิม่ ขึน้ 6. กจิ กรรมการเรียนการสอนตอ้ งทา้ ทายความสนใจของนกั เรียนให้นำส่ิงท่เี รียนในสถานการณ์ หนง่ึ ไปใชไ้ ด้กบั สถานการณ์ใหม่ 7. กิจกรรมการเรียนการสอน ควรเปน็ การพัฒนาความคดิ ส่งเสริมให้นักเรียน ไดจ้ ดั สืบสวน สอบสวน และ แกป้ ัญหาตามแนวทางของตน และ ต้องรู้จักประเมนิ ความคิดของตนเองด้วย 8. กจิ กรรมการเรียนการสอน ควรใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้หลายๆทาง ใหโ้ อกาสนักเรียน ได้สงั เกต วเิ คราะหแ์ ละอภิปราย โดยใชส้ ่ือการเรียนรูต้ า่ งๆมาประกอบกจิ กรรม 9. กจิ กรรมการเรียนการสอน ควรมีลักษณะเปิดกวา้ งแกน่ ักเรยี น ใหม้ ลี กั ษณะ ท่ีแตกต่างกัน ท้ังในดา้ นเนื้อหาและแนวความคดิ จากความสำคัญ และ ลักษณะของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ดงั กลา่ ว สรุปไดว้ า่ การจัด กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ดีน้ัน ต้องมีลกั ษณะ และ คำนึงถงึ จดุ ประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ การลำดับ กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับวัย และ ความพร้อมของผูเ้ รยี น มีลักษณะทีท่ ้าทาย และ พฒั นา ความคดิ มีกจิ กรรมฝกึ ให้ผู้เรียนรูจ้ ักการสังเกต การวิเคราะห์ และ อภปิ ราย มีลักษณะ เปิดกว้างใน เน้ือหา และ ความคิด และ การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ุกกิจกรรม ต้องคำนงึ ถึง ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
6 2.1.3 วธิ ีจดั การเรียนการสอนแบบโครงงาน การทำโครงงานเป็นกลยุทธ์ท่ีให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดประกอบด้วยขั้นตอนเป็นลำดับ เรียกวา่ วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method) ใช้การสร้างความรหู้ รอื สิ่งประดษิ ฐ์ด้วยตนเอง ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้(Constructiviism) และทฤษฎี “Constructionism” ซึ่งเป็นทฤษฎี การเรียนรู้ในกลุ่มปัญญานิยมท่ีเน้นเรอื่ งปัญหา เน้นการคน้ พบความรู้ด้วยวิธีค้นพบ ค้นพบความรู้ด้วย วิธีสืบสอบ (Inquiry Method) การทำโครงงานจึงเป็นวิธีการพัฒนาการคิด ถ้ายิ่งเปิดโอกาสให้ ผเู้ รยี นไดป้ ฏิบัตเิ อง ไดเ้ รยี นรูเ้ องมากเทา่ ไร ยิ่งทำใหเ้ ป็นผ้เู ข้าใจและรู้อย่างลกึ ซง้ึ มาก แนวคดิ / ทฤษฎีการเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning) สลาวิน (Slavin) เดวิด จอห์นสัน (David Johnson) และรอเจอร์ จอห์นสัน (Roger Johnson) พบว่า การ ส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และได้เรียนรู้ทักษะทาง สังคมและการทำงานรว่ มกับผ้อู นื่ องค์ประกอบของการเรยี นรู้แบบร่วมมือมี 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1) การพ่ึงพาและเกื้อกลู กัน 2) การปรึกษาหารือกนั อย่างใกลช้ ดิ 3) ความรับผิดชอบทีต่ รวจสอบได้ของสมาชกิ แตล่ ะคน 4) การใชท้ ักษะการปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและทักษะการทำงานกลุม่ ย่อย 5) การวเิ คราะหก์ ระบวนการกลุม่ การประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีในการเรยี นการสอน ผู้สอนสามารถนำทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือไปจัดการเรียนการสอนของตนได้โดยการ พยายามจัดกลุ่มการเรียนรู้ให้มีองค์ประกอบ 5 ประการ ดังกล่าว ข้างต้น และใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ ในการช่วยใหอ้ งคป์ ระกอบทงั้ 5 สมั ฤทธิ์ผล วธิ ีจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบร่วมมอื ได้แก่ การเรียนการสอน โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม และการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ดังนี้ 1. การเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ได้แก่ รปู แบบการสอนแบบทมี /กลุ่ม และการ สอนแบบจก๊ิ ซอว์ ทิศนา แขมมณี (2547:144) ได้เสนอแนวคดิ วา่ กระบวนการกลุม่ มตี ัวบ่งชี้ ดังนี้ 1.1 ผู้เรียนมีการปฏิสัมพันธ์/ทำงาน/ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ตามวตั ถปุ ระสงค์ 1.2 ผู้เรยี นมีการฝึก/ชี้แนะ/สอน ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เก่ียวกับกระบวนการทำงาน กล่มุ ท่ดี ี 1.3 ผู้เรียนมีการวิเคราะห์การเรียนรู้ของตนเองท้ังในด้านเนื้อหา สาระท่ีเรียนและ กระบวนการทำงานร่วมกนั 1.4 ผ้สู อนมกี ารวเิ คราะห์และประเมนิ ผลการเรยี นทง้ั ด้านเนื้อหาสาระ และกระบวนการ กล่มุ ตัวอย่าง การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการกล่มุ ของ สุจติ รา สิทธิ (2545:20) ไดแ้ บ่งการจดั การเรียนการสอนเปน็ 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1 ขน้ั จงู ใจความสนใจ ทบทวนความรเู้ ดิม 2 ขัน้ แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
7 3 ขน้ั แบ่งกลมุ่ ใหผ้ ู้เรียนมปี ฏสิ ัมพนั ธ์/ทำงาน/ทำกจิ กรรมรว่ มกนั เป็นกลมุ่ 4 ขน้ั ครเู สนอเน้ือหา ใหผ้ ู้เรียนวเิ คราะห์การเรยี นรเู้ นื้อหาท่เี รียน 5 ขนั้ วิเคราะหก์ ารเรยี นรู้ ใหผ้ ู้เรียนอภิปราย แสดงความคิดเห็น และรายงานผล 6 ขั้นสรปุ ใหผ้ เู้ รียนสรปุ ผลจากการศึกษาของกลมุ่ 7 ข้นั วัดผลประเมินผลเป็นระยะ ๆ 2. การเรยี นการสอนแบบร่วม การเรยี นการสอนแบบร่วมมือ มีองคป์ ระกอบการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ 5ประการดังกล่าว ขา้ งตน้ ตัวอย่าง การสอนแบบร่วมมือ เฉลิม อาจกลา้ (2547:36) ได้เสนอวิธีการจดั การเรียนการ สอนแบบรว่ มมือ โดยแบง่ เป็น 6 ขั้นตอน คือ 1) ข้นั แจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นร้ใู ห้ผเู้ รียนทราบ 2) ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน สรา้ งความสนใจใหผ้ ้เู รียนอยากเรียน 3) ขนั้ ดำเนินกิจกรรมการเรยี นการสอน อธิบายช้ีแจงเกย่ี วกบั งานของกล่มุ 4) ขนั้ ผเู้ รยี นร่วมมือชว่ ยเหลอื กันเรียนรู้ ผเู้ รยี นช่วยกันวเิ คราะหเ์ นื้อหาสาระจากใบงาน 5) ข้ันสรุป ผู้เรยี นรว่ มกันสรุปความรู้ทไี่ ด้เรยี น 6) ขั้นวัดผลประเมนิ ผล วัดผลประเมินผลเป็นระยะๆ ถา้ ผู้สอนจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีสง่ เสรมิ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์โดยใช้คำถามกระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ร่วมกันอภิปราย สงสัยใฝ่รู้ แสดงข้อคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และสามารถตัดสินใจ แก้ปัญหา รวมท้ังใช้วิธีการสอนที่หลากหลายให้เหมาะสมกับผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ สร้างความรู้ด้วยตนเอง สร้างสรรค์ผลงานตามความสนใจ และพัฒนาทักษะการคิดระดับท่ีสูงข้ึน เม่ือ ผเู้ รียนจบชว่ งชั้นท่ี 4 จะสามารถคิดในระดบั สงู ได้ตามท่ีหลักสูตรกำหนด ตวั อยา่ ง การทดลองใชแ้ ผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ท่ีเน้นวิธีสอนให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์มีจำนวนน้อยมากจึงควรศึกษาวจิ ัย เกี่ยวกับการจัดกิจกรรม ท่ีส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ และเผยแพร่วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมทักษะการคิด วิเคราะหอ์ ย่างหลากหลายรปู แบบ/วิธี 2.2 รูปแบบการจดั การเรียนในรูปแบบแบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) 2.2.1 รปู แบบแบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้ นักเรียนทำงานร่วมกันโดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซ่ึงกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและ ส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การจัดการ เรียนรแู้ บบรว่ มมือมขี อ้ ดีหลายประการ เช่น ชว่ ยพฒั นาความเชือ่ มนั่ ของนักเรียน ชว่ ยพฒั นาความคิดของนักเรียน ช่วยยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรียน ช่วยส่งเสรมิ บรรยากาศในการเรยี น สง่ เสริมทกั ษะการทำงานร่วมกัน ทำให้นักเรยี นมีวิสยั ทศั น์หรือมมุ มองกวา้ งข้ึน ชว่ ยการปรบั ตัวในสังคมดีขนึ้
8 การจดั การเรียนรแู้ บบรว่ มมือมรี ปู แบบอยา่ งหลากหลาย ดังต่อไปนี้ 1. คิดและคุยกัน(Think Pairs Share) , เพื่อนเรียน(Partners) , ผลัดกันพูด(Say and Switch)ท้ัง 3 รูปแบบเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีคล้ายคลึงกันให้นักเรียน จับคู่กันในการตอบคำถามอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นสถานการณ์ หรอื ทำความเขา้ ใจเนือ้ หาท่เี ปน็ ความคดิ รวบยอดท่ีกำหนดให้ 2. กิจกรรมโต๊ะกลม(Roundtable หรือ Roundrobin) เป็นรูปแบบการสอนที่จัดกลุ่ม นักเรียนท่ีมีจำนวนมากกว่า 2 คนข้ึนไป เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคน เขียนความคิดเห็น ของตน บอกเล่าประสบการณ์ความรู้หรือสิ่งท่ีตนกำลังศึกษาให้เพ่ือนคนที่อยู่ถัดไปโดย เวยี นไปทางด้านใดดา้ นหนึง่ สมาชกิ ทกุ คนจะใชเ้ วลาเท่าๆ กันหรือใกลเ้ คียง 3. คู่ตรวจสอบ(Pairs Check) , มุมสนทนา(Corners) , ร่วมกันคิด(Numbered Heads together)เป็นรูปแบบการสอนที่คล้ายคลึงกัน คือ เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีแบ่ง นักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ ให้ช่วยกันตอบคำถาม แก้โจทย์ปัญหา หรือทำแบบฝึกหัด เมื่อสมาชิกทุกคนในกลุ่มย่อยสามารถตอบปัญหา หรือแก้โจทย์ได้แล้วให้แลกเปลี่ยนกัน ตรวจสอบคำตอบ โดยการจบั คตู่ รวจสอบหรอื จัดมุมสนทนา 4. การสมั ภาษณแ์ บบสามข้นั ตอน(Three Step Interview)รูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบนี้มี 3 ขั้นตอน โดยครูกำหนดคำถามหรือประเด็นโจทย์ปัญหาให้นักเรียนตอบมี หลกั การดงั น้ี 4.1 นกั เรยี นจบั คู่กนั คนที่ 1 เปน็ ผสู้ ัมภาษณ์โดยถามคำถามใหค้ นที่ 2 เป็นผู้ตอบ 4.2 นักเรยี นสลับบทบาทกันจากผูถ้ ามเป็นผู้ตอบ และจากผตู้ อบเป็นผถู้ าม 4.3 นกั เรียนในแต่ละกลมุ่ ยอ่ ยผลดั กนั เล่า ส่งิ ท่ตี นรจู้ ากคู่ของตน ให้กลมุ่ ทราบ 5. การแข่งขันระหว่างกลุ่มดว้ ยเกม(Team Games Tournament หรือ TGT) , การแบ่งกลุ่ม สมั ฤทธิ์(Student Team Achievement Division หรือ STAD) เปน็ รูปแบบการสอนท่ีจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนคล้ายคลึงกนั ซ่ึงมรี ายละเอียดดงั นี้ 5.1 การนำเสนอบทเรียน(Class Presentation) 5.2 การจัดทมี (Team) 5.3 การแขง่ ขนั /การทดสอบ(TGT ใช้การแข่งขัน ส่วน STAD ใช้การทดสอบ) 5.4 การยอมรับความสำเร็จของทมี (Team Recognition) 6. ปริศนาความรู้(Jigsaw) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ทุกกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้ทำ กิจกรรมเดียวกันโดยครูผู้สอนแบ่งเนื้อหาของเรื่องท่ีจะเรียนออกเป็นหัวข้อย่อยเท่าจำนวนสมาชิก แต่ละกลุ่มและมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มค้นคว้าคนละหัวข้อย่อยโดยนักเรยี นแต่ละคน จะเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่ตนได้รับมอบหมายจากกลุ่มสมาชิกต่างกลุ่มท่ีได้รับมอบหมายใน หัวข้อเดียวกันจะร่วมกันศึกษาจากนั้นแต่ละคนจะกลับเข้ากลุ่มเดิมของตนเพ่ืออธิบายหัวข้อท่ีตน ศึกษาให้เพือ่ นรว่ มกลุ่มฟงั 7. การสืบสอบเป็นกลุ่ม(Group Investigation)เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น บรรยากาศการทำงานร่วมกันเพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และการเรียนรู้ท่ีจะดำเนินชีวิตอยู่ใน สังคมประชาธปิ ไตยได้อย่างเหมาะสม กลา่ วคือสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มจะเลือกหัวข้อย่อยและเลือก วิธีการแสวงหาคำตอบในเร่ืองนนั้ ๆดว้ ยตัวเองหลังจากน้ันสมาชิกแตล่ ะคนจะรายงานความกา้ วหน้า และผลการทำงานให้กลุ่มตนเองทราบ
9 8 . ก ารเรีย น รู้ เป็ น ก ลุ่ ม เพ่ื อ ช่ ว ย เห ลื อ เพ่ื อ น เป็ น รา ย บุ ค ค ล (Team Assisted Individualization หรือ TAI)เป็นการเรียนการสอนท่ีผสมผสานระหว่างการจัดการเรียนแบบ ร่วมมือและการเรียนการสอนแบบรายบุคคลเข้าด้วยกันเน้นการสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล โดย ให้ นั ก เรียน เรียน รู้ด้ วยต น เองต าม ค วาม ส าม ารถ ส่งเส ริม ค วาม ร่วม มื อภ า ย ใน ก ลุ่ มมี ก าร แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรยี นร้แู ละปฏิสมั พันธท์ างสงั คม 9. การเรียนรู้แบบร่วมมือผสมผสานการอ่านและการเขียน(Cooperative Integrated Reading and Composition หรือ CIRC) เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมี องค์ประกอบน่าสนใจ ได้แก่ การสร้างกลุ่มอ่าน การจัดกลุ่มย่อยกิจกรรมการอ่านพ้ืนฐาน การหา เพ่ือนช่วยตรวจสอบ การทดสอบ การสอนอ่านการสอนเขียน เป็นต้น 2.2.2 ประเภทของการจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบรว่ มมอื รว่ มใจ การแบ่งประเภทของการเรียนแบบร่วมมือร่วมใจนั้นขึ้นอยู่กับเกณฑ์ท่ีใช้ในการแบ่ง ในที่นี้จะแบ่งโดยใช้ช่วงเวลาในการดำเนินกิจกรรมเป็นเกณฑ์ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของการเรียน แบบรว่ มมอื รว่ มใจได้ 2 ประเภท ดังน้ี 1. เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมใจ ท่ีใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดคาบเรียน หรือตง้ั แต่ 1 คาบเรียนข้ึนไป เทคนิคเหล่าน้ีมีลักษณะการจดั กิจกรรมแตกต่างกัน ดังนั้นจงึ ต้องเลือกใช้ ให้ตรงกับเปา้ หมายทต่ี อ้ งการ เทคนิคท่นี ิยมใช้ในปจั จบุ ันมดี ังน้ี 1.1 เทคนิคการแบ่งกลุ่มแบบกลุ่มสัมฤทธิ์ (Student Teams Achievement Divisions หรือ STAD) โดยจัดสมาชิกในกลุ่ม 4 คน ระดับสติปัญญาต่างกัน เช่น เก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ผู้สอนกำหนดบทเรียนและการทำงานของกลุ่มไว้แล้ว ผู้สอนทำการสอนบทเรยี น ให้ผู้เรียนทั้งชั้น จากนั้นให้กลุ่มทำงานตามที่กำหนด ผู้เรียนในกลุ่มช่วยเหลือกัน ผู้เรียนเก่งช่วยเหลือ และตรวจงานของเพื่อนให้ถกู ต้องกอ่ นนำสง่ ผู้สอน การสอบผู้เรียนตา่ งคนตา่ งทำข้อสอบแลว้ นำคะแนน ของทุกคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ผู้สอนจัดลำดับคะแนนของทุกกลุ่มปิดประกาศให้ทุกคน ทราบ 1.2 เทคนิคการแข่งขันระหวา่ งกลุ่มด้วยเกม (Teams – Game Tournament หรือ TGT) เป็นเทคนิคการจัดกลุ่มเช่นเดียวกับ STAD แต่ไม่มีการสอบทุกสัปดาห์ แต่ละทีมท่ีมี ความสามารถเท่ากันจะแข่งขันตอบปัญหา มีการจัดกลุ่มใหม่ทุกสัปดาห์โดยพิจารณาจาก ความสามารถของแต่ละบุคคล คะแนนของกลุ่มจะได้จากคะแนนของสมาชิกที่เข้าแข่งขันร่วมกับ กลุ่มอน่ื ๆ รวมกัน แล้วจดั ให้มีการให้รางวลั กับกลุม่ ที่ไดค้ ะแนนเฉล่ียสงู ถึงเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้ 1.3 เทคนิคการจัดกลุ่มแบบช่วยรายบุคคล (Teams Assisted Individualization หรือ TAI) จัดให้สมาชิกของกลุ่ม 4 คนมีระดับความรู้ต่างกัน ใช้สำหรับระดับประถมศึกษาปีที่ 3-6 ผู้สอนเรียกผู้เรียนท่ีมีความรู้ระดับเดียวกันของแต่ละกลุ่มมาสอน ความยากง่ายของเนื้อหาวิชาท่ี สอนแตกต่างกนั ผเู้ รียนกลบั ไปยังกลุ่มของตนและตา่ งคนตา่ งทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย แตช่ ่วยเหลือ ซ่ึงกันและกัน ทุกคนสอบข้อสอบโดยไม่มีการช่วยเหลือกัน มีการให้รางวัลทีมที่ทำคะแนนได้ดีกว่า เดิม
10 1.4 เทคนิคการเรียนรู้ร่วมกัน (Learning Together) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2-6 ทำ การสอนทั้งชั้น ผู้เรียนแต่ละคนทำงานตามที่ผู้สอนมอบหมาย คะแนนของแต่ละกลุ่มพิจารณาจาก ผลงานของกลมุ่ 1.5 เทคนิคการตรวจสอบเป็นกลุ่ม (Group Investigation) สมาชิกในกลุ่มมี 2-6 คน แต่ละกลุ่มเลือกหัวเรื่องที่ต้องการศึกษาค้นคว้า สมาชิกในกลุ่มแบ่งงานกันท้ังกลุ่ม มีการ วางแผน การดำเนินงานตามแผน การวิเคราะห์และสังเคราะห์งานที่ทำ การนำเสนอผลงาน หรือ รายงานต่อหน้าช้นั การให้รางวัลหรือคะแนนใหเ้ ป็นกลมุ่ 1.6 เทคนิคจิกซอ (Jigsaw) เป็นเทคนิคท่ีใช้กับบทเรียนท่ีหัวข้อท่ีเรียน แบ่งเป็น หัวข้อย่อยได้ เช่น ประเภทของมลพิษ สามารถแบ่งเป็น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียง มลพิษ ทางนำ้ มลพษิ ของดนิ เป็นตน้ ควรเรียนแบ่งเป็นข้ันตอน ดังนี้ 1.6.1 ผู้สอนแบ่งหัวข้อที่จะเรียนเป็นหัวข้อย่อย ๆ ให้เท่ากับจำนวนสมาชิก ของแต่ละกลมุ่ 1.6.2 จัดกลุ่มผู้เรียน โดยให้มีความสามารถคละกันภายในกลุ่ม เป็นกลุ่ม บ้าน (home group) สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มอ่านเฉพาะหัวข้อย่อยท่ีตนได้รับมอบหมายเทา่ น้นั โดยใช้ เวลาตามท่ผี สู้ อนกำหนด 1.6.3 จากนั้นผู้เรียนที่อ่านหัวข้อย่อยเดียวกันมาน่ังด้วยกัน เพ่ือทำงาน ซักถาม และทำกิจกรรม ซ่ึงเรียกว่ากลุ่มเช่ียวชาญ (expert group) สมาชิกทุก ๆ คนร่วมมือกัน อภิปรายหรอื ทำงานอยา่ งเท่าเทยี มกนั โดยใชเ้ วลาตามทผี่ ู้สอนกำหนด 1.6.4 ผู้เรียนแต่ละคนในกลุ่มผู้เช่ียวชาญ กลับมายังกลุ่มบ้าน (home group) ของตน จากนัน้ ผลัดเปลี่ยนกันอธิบายให้เพ่ือนสมาชิกในกลุ่มฟัง เรมิ่ จากหัวข้อยอ่ ย 1,2,3 และ 4 เปน็ ต้น 1.6.5 ทำการทดสอบหัวข้อย่อย 1-4 กับผู้เรียนท้ังห้อง คะแนนของสมาชิก แต่ละคนในกลมุ่ รวมเป็นคะแนนกลุม่ กลุ่มที่ไดค้ ะแนนสูงสุดจะได้รับการตดิ ประกาศ 1.7 เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมกลุ่ม (Co-op Co-op) ผู้เรียนช่วยกันอภิปราย หัวข้อที่จะศึกษาแบ่งหัวข้อใหญ่เป็นหัวข้อย่อย แล้วจัดผู้เรียนเข้ากลุ่มตามความสามารถที่แตกต่าง กัน กลุ่มเลือกหัวข้อที่จะศึกษาตามความสนใจของกลุ่ม กลุ่มแบ่งหัวข้อย่อยเป็นหัวข้อเล็ก เพื่อ ผู้เรียนแต่ละคนในกลุ่มเลือกไปศึกษาและมีการกำหนดบทบาทและหน้าท่ีของแต่ละคนภายในกลุ่ม แล้ว ผู้เรียนศึกษาเรื่องท่ีตนเลือกและนำเสนอต่อกลุ่ม กลุ่มรวบรวมหัวข้อต่าง ๆ จากผู้เรียนทุกคน ในกลมุ่ แลว้ รายงานผลงานต่อชั้น แล้วมีการประเมินผลงานของกล่มุ
11 2. เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมใจ ท่ีใช้ขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของกิจกรรมการ เรียนรู้ในแต่ละคาบ คือ ใชใ้ นขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ข้ันสอน โดยสอดแทรกในขน้ั ตอนใด ๆ ของการสอน ขั้นทบทวนหรือขั้นวัดผลงานของคาบเรียนใดคาบเรียนหนึ่ง โดยมีลักษณะที่สำคัญคือ เป็นวิธีที่ใช้เวลา ช่วงส้ันประมาณ 5-10 นาที จนถึง 1 คาบเรียน Kagan (1995) ได้ออกแบบเทคนิคการเรียนแบบ ร่วมมือร่วมใจ ดังนี้ 2.1 การพูดเป็นคู่ (Rally Robin) เป็นเทคนิคเปิดโอกาสให้ผู้เรียนพูด ตอบ แสดง ความคิดเห็นเป็นคู่ ๆ โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกที่เป็นคู่ได้พูดกัน ตัวอย่างเช่น กลุ่มมีสมาชิก 4 คน แบ่งเป็น 2 คู่ คู่หน่ึงประกอบด้วยสมาชิกคนท่ี 1 และคนที่ 2 แต่ละคู่จะพูดพร้อม ๆ กันไป โดย 1 พูด 2 ฟงั จากนัน้ 2 พูด 1 ฟงั ตอ่ มา 1 พดู 2 ฟัง เป็นต้น 2.2 การเขียนแบบคู่ (Rally Table) เป็นเทคนิคคล้ายกับการพูดเป็นคู่ทุกประการ ต่างกันเพียงการเขียนเป็นคู่เป็นการร่วมมือเป็นคู่ ๆ โดยผลัดกันเขียน หรือวาด (ใช้อุปกรณ์ : กระดาษ 2 แผ่น และปากกา 2 ดา้ มตอ่ กลุ่ม) 2.3 การพูดรอบวง (Round Robin) เป็นเทคนิคท่ีสมาชิกของกลุ่มผลัดกันพูด ตอบ เล่า อธิบาย โดยไม่ใช้การเขียน การวาด และเป็นการพูดที่ผลัดกันทีละคนตามเวลาท่ีกำหนด จน ครบ 4 คน 2.4 การเขียนรอบวง (Round Table) เป็นเทคนิคที่เหมือนกับการพูดรอบวง แตกต่างกันท่ีเน้นการเขียน การวาด (ใช้อุปกรณ์ : กระดาษ 1 แผ่น และปากกา 1 ด้ามต่อกลุ่ม) วธิ ีการคือ ผลัดกันเขียนลงในกระดาษท่ีเตรียมไว้ทีละคนตามเวลาทก่ี ำหนดเทคนิคน้ีอาจดดั แปลงให้ สมาชิกทุกคนเขียนคำตอบหรือบันทึกผลการคิด พร้อม ๆ กันท้ัง 4 คน ต่างคนต่างเขียนในเวลาท่ี กำหนด (ใช้อุปกรณ์ : กระดาษ 4 แผ่น และปากกา 4 ด้าม) เรียกเทคนิคน้ีว่าการเขียนพร้อมกันรอ บวง (simultaneous round table) 2.5 การแก้ปัญหาด้วยการต่อภาพ (Jigsaw problem Solving) เป็นเทคนิคที่ สมาชิกของแต่ละคนคิดคำตอบของตนเองไว้ จากน้ันกลุ่มนำคำตอบของทุกๆ คนรวมกันแล้ว อภปิ รายเพอื่ หาคำตอบที่ดีทีส่ ุด 2.6 คิดเด่ียว – คิดคู่ – ร่วมกันคิด (Think – Pair – Share) เป็นเทคนิคโดยเริ่มจาก ปัญหาหรือโจทย์คำถาม โดยสมาชิกแต่ละคนคิดหาคำตอบด้วยตนเองก่อน แล้วนำคำตอบไป อภปิ รายกบั เพ่อื นเปน็ คู่ จากน้นั จึงนำคำตอบของตนหรอื ของเพื่อนที่เป็นคูเ่ ลา่ ใหเ้ พ่อื น ๆ ทง้ั ชน้ั ฟงั 2.7 อภิปรายเปน็ คู่ (Pair Discussion) เป็นเทคนิคท่ีเมือ่ ผสู้ อนต้ังคำถามหรือกำหนด โจทย์แล้วใหส้ มาชิกที่น่งั ใกล้กนั ร่วมกันคดิ และอภิปรายเป็นคู่ 2.8 อภิปรายเป็นทีม (Team Discussion) เป็นเทคนิคท่ีเม่ือผู้สอนตั้งคำถามแล้วให้ สมาชกิ ของกลุ่มทกุ ๆ คนร่วมกนั คดิ พูด อภิปรายพร้อมกัน 2.9 ทำเป็นกลุ่ม – ทำเป็นคู่ – และทำคนเดียว (Team – Pair – Solo) เป็นเทคนิค ที่เม่ือผู้สอนกำหนดปัญหาหรือโจทย์หรืองานให้ทำแล้ว สมาชิกจะทำงานร่วมกันทั้งกลุ่ม จนทำงาน ได้สำเร็จ แล้วถงึ ขนั้ สุดทา้ ยให้สมาชกิ แต่ละคนทำงานคนเดยี วจนสำเรจ็ 2.10 การเรียงแถว (Line – Ups) เป็นเทคนิคง่าย ๆ โดยให้ผู้เรียนยืนเป็นแถว เรียงลำดับภาพคำ หรือสิ่งที่ผู้สอนกำหนดไว้ เช่น ผู้สอนให้ภาพต่าง ๆ แก่ผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนยืน เรียงลำดบั ภาพขน้ั ตอนของวงจรชวี ติ ของแมลง หว่ งโซอ่ าหาร เป็นต้น
12 2.11 การพดู เปน็ คู่ตามเวลาที่กำหนด (Time – Pair – Share) เป็นเทคนิคการเรียน แบบร่วมมือท่ีสมาชิกจับคู่ สมาชิกคนท่ี 1 พูดในเวลาที่กำหนดเพื่อตอบโจทย์หรือปัญหาท่ีกำหนด สมาชกิ คนท่ี 2 ฟัง จากน้นั สมาชกิ คนท่ี 2 พูด คนท่ี 1 ฟัง การพูดใชเ้ วลาเท่ากับครง้ั แรก 2.12 การทำโครงงานเป็นกลุ่ม (Team Project) เป็นเทคนิคการเรียนด้วยวิธี โครงงาน โดยผู้สอนอาจจะกำหนดวิธีการทำโครงงาน กำหนดบทบาทของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม ให้ร่วมกันทำโครงงานตามมอบหมาย หรืออาจใช้วิธีให้ผู้เรียนร่วมกันคิดทำโครงงานเอง โดยผู้เรียน แบง่ หน้าที่ใหส้ มาชกิ ทุกคนมบี ทบาทในการทำงาน 2.13 การหาข้อยุติ (Showdown) เป็นเทคนิคท่ีใช้ทบทวนความรู้ วัดความรู้ ซงึ่ อาจ ใชไ้ ด้ทกุ ขั้นตอนของการสอน โดย 2.13.1 สมาชิกแต่ละคนของกลุ่มเขียนคำถามตามท่ีผู้สอนกำหนดลงใน กระดาษของตน จะไดโ้ จทยค์ ำถามครบตามจำนวนสมาชิกของกลุ่ม 2.13.2 ให้สมาชิกนำโจทย์คำถามพรอ้ มปากกาวางตรงกลางโต๊ะ 2.13.3 กำหนดสมาชิกหัวหน้า เร่ิมท่ีสมาชิกคนใดคนหน่ึงก่อนก็ได้ ให้สุ่ม หยิบโจทยค์ ำถาม 2.13.4 สมาชิกทุกคนหยิบปากกา แล้วเขียนคำตอบเพื่อตอบโจทย์ใน กระดาษของตนเอง 2.13.5 จากน้นั ตรวจคำตอบร่วมกนั ถ้าตอบถูกต้องทุกคนก็ไดแ้ สดงความช่ืน ชมกนั ถ้าตอบไมถ่ ูกตอ้ งให้เปดิ หนังสอื ค้นควา้ หรือถามผูส้ อนกไ็ ด้ แล้วแก้ไขให้ถกู ต้องทุกคน 2.13.6 จากน้ันหมุนเวียนสมาชิกคนต่อไปเป็นหัวหน้า แล้วจึงดำเนิน กิจกรรมตามขอ้ 3) – 5) ให้ทำเช่นนจ้ี นสมาชกิ ทกุ คนตอบโจทย์คำถามทกุ ข้อได้ครบ 2.14 คิดเด่ียว – คิดคู่ – คิดเป็นกลุ่ม (Think – Pair – Square) เป็นเทคนิคโดยเร่ิม จากปัญหาหรือโจทย์คำถาม โดยสมาชิกแต่ละคนคิดคำตอบด้วยตนเองก่อน แล้วนำคำตอบของตน ไปอภิปรายกับเพ่ือนเป็นคู่ จากน้ันก็อภิปรายกับสมาชิกในกลุ่มของตนก่อน แล้วอาจนำคำตอบเล่า ให้เพ่ือน ๆ ทงั้ ชนั้ ฟัง 2.15 พูดวงกลมซ้อน (Inside – Outside Circle) เป็นเทคนิคที่ผู้เรียนอาจนั่งหรือ ยืนเป็นวงกลมซ้อนกัน 2 วง แต่ละวงมีจำนวนกลุ่มเท่ากัน วงในหันหน้าออก วงนอกหันหน้าเข้า หรืออาจนั่งหรือยืนเป็นคู่ก็ได้ ผู้เรียนที่เป็นคู่หรือกลุ่มที่เป็นคู่กันจะพูด หรืออภิปราย หรือนำเสนอ ผลงานกลุ่มแก่กันและกัน โดยผลัดกันพูด อาจมีการกำหนดเวลาด้วย จากน้ันหมุนเวียนเปลี่ยนคู่ หรือกลุ่มใหม่ไปเรื่อย ๆ โดยไม่ซ้ำกัน โดยผู้เรียนวงนอกและวงในเคล่ือนท่ีไปในทิศทางตรงกันข้าม เพอ่ื ใหพ้ บสมาชิกไม่ซ้ำกลมุ่ เดิม 2.16 การให้ข้อมูลย้อนกลับแบบหมุนเวียน (Rotating Feedback) เป็นเทคนิคที่ สมาชิกทุกคนในแต่ละกลุ่มให้ข้อมูลย้อนกลับ ซ่ึงอาจเป็นข้อคิด ข้อเสนอแนะ ข้อดี ข้อบกพร่อง ต่อผลงานของกลุ่มอื่นๆ โดยหมนุ เวียนไปทีละกลมุ่ จนครบอย่างเป็นระบบ หรืออาจมีกำหนดเวลาให้ แต่ละกลมุ่ ด้วยกไ็ ด้ จากเทคนิควิธีการเรียนแบบร่วมมือร่วมใจท่ีกล่าวมา ล้วนเป็นเทคนิคที่มีประโยชน์ท่ี สามารถนำมาประยุกต์ใชใ้ นกจิ กรรมการเรียนรู้แต่เน่ืองจากเทคนิคเหล่าน้ีมีลักษณะการจัดกิจกรรม ท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันการจะใช้เทคนิคใดจึงต้องเลือกใช้ให้ตรงกับเป้าหมายท่ีต้องการ และเหมาะสม กับเน้อื หาวิชานั้น
13 2.2.3 โปรแกรมการเรียนแบบร่วมมือ มีลกั ษณะกิจกรรมโดยรวมดงั น้ีคอื 1. การสอนเร่ิมต้นจากครูเสมอ (Teacher Instruction) 2. การฝึกปฏิบัติภายในทีม (Team Practice) นักเรียนทางานในกลุ่มซ่ึงมีสมาชิก4 – 5 คน โดยมีความสามารถแตกต่างกัน เรียนรู้กันจากที่ครูได้มอบหมายให้โดยการใช้ Worksheet หรืออุปกรณ์การฝึกอ่ืน ๆ ขึ้นอยู่กับเน้ือหาท่ีเรยี น นักเรียนจะได้ประเมินเพื่อนสมาชิกในกลุ่มซึ่งกัน และกนั 3. นักเรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง (Individual Assessment) ในเรื่องของ ข้อความรหู้ รอื ทักษะทเี่ ขาไดร้ ับในบทเรียน 4. คะแนนจากการประเมินนักเรียนแต่ละคน จะรวมเป็นคะแนนของทีม (Team Recognition) ทีมใดท่ีได้คะแนนถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ จะได้รับใบประกาศนียบัตรหรือรางวัลอ่ืน ๆ การสังเกตพฤติกรรมการรว่ มมือในชั้นเรียน การสังเกตเปน็ วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ทีเ่ ปดิ โอกาสให้ ผู้รวบรวมข้อมูลสัมผัสกับความเป็นจริงและสิ่งท่ีต้องการจะรวบรวมด้วยตัวเอง ทำให้มีโอกาสท่ีจะ รวบรวมข้อมูลได้ตรงสภาพความเป็นจริงได้มากและสามารถท่ีจะรวบรวมรายละเอียดของข้อมูลใน แนวลกึ ได้ การสังเกตพฤติกรรมการร่วมมอื ในชั้นเรียนของนักเรียนโดยใช้วิธกี ารสงั เกต จะช่วยให้ได้ รายละเอียดของพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการร่วมมือของนักเรียนในช้ันเรียนได้ชัดเจนขน้ึ การสังเกตเป็น วิธีการพื้นฐานท่ีจะได้ข้อมูลมาตามต้องการ ซึ่งการที่จะได้ข้อมูลท่ีเชื่อถือได้นั้น ผู้สังเกตต้องมี ลกั ษณะดังน้ี 4.1 ความต้ังใจของผู้สังเกต (Attention) ในการสังเกตพฤติกรรมของส่ิงใด ผู้สังเกต ต้องมีเป้าหมายท่ีจะสังเกตว่าศึกษาสิ่งใด ต้องสะกดใจอย่างแน่วแน่ในการสังเกตแต่ส่ิงน้ัน จิตใจไม่ ไขว้เขวไปมา และจะต้องสังเกตไปทีละอย่างอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ผู้สังเกตยังต้องขจัดปัญหา ส่วนตัวหรือความลาเอียงส่วนตัวของตนเองออกในระยะที่ทาการสังเกต เพ่ือจะได้ข้อมูลท่ีเป็นจริง หรอื ใกล้เคยี งกบั ความเป็นจริง 4.2 ประสาทสัมผัส (Sensation) ทางด้านประสาทสัมผัสต้องแน่ใจว่าประสาทสัมผัส ของผสู้ ังเกตจะต้องทางานปกติหรอื สภาพร่างกายตอ้ งปกติด้วย เพราะถ้าหากว่าสภาพร่างกายปกติ แล้ว จะมีผลตอ่ ประสาทสมั ผสั อยูใ่ นสภาพดี และว่องไวตอ่ การสัมผสั สิง่ ทีก่ าลงั สังเกต 4.3 การรับรู้ (Perception) ในการสงั เกตส่ิงท่ีกาลังศึกษา ผู้สังเกตจะต้องมีการรบั รู้ท่ี ดีเมื่อรับรู้มาแล้วสามารถแปลความหมายออกมาได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องหลักการสังเกต ผู้ สังเกตท่ีดี คือ ผู้ที่ทาการสังเกตแล้วได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากท่ีสุดซ่ึงผู้สังเกตจะเป็นผู้ สังเกตทด่ี ไี ด้น้ันต้องมีหลกั ในการสงั เกต ดังนี้ 1. กำหนดการสงั เกตให้จำกดั เฉพาะเป็นเร่ืองๆ 2. สังเกตอย่างมีความมุ่งหมาย มิใช่ว่าสังเกตไปเรื่อย ๆ คือ ต้องมี จุดมงุ่ หมายทจี่ ะดูเมือ่ พบเหน็ แลว้ แปลความหมายออกมาวา่ คืออะไร 3. สังเกตด้วยความพินิจพิเคราะห์จนสามารถมองเห็นรายละเอียดของเรื่อง น้นั ได้ อย่างลกึ ซ้ึง มใิ ชว่ า่ มองเหน็ แต่ผิว หรอื ลักษณะของภายนอกเทา่ นน้ั 4. เม่ือสังเกตแล้วต้องมีการบันทึกไว้เพ่ือเตือนความจา จะได้ไม่หลงลืม รายละเอยี ดที่ไดส้ งั เกตมา
14 5. ผสู้ ังเกตควรใช้แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) หรอื เครื่องมือวดั อนื่ ๆ ประกอบในการสงั เกตน้ดี ว้ ย ประเภทของการสังเกต การรวบรวมข้อมูลโดยการสงั เกต แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ 1. การสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม (Participant Observation) หมายถึง การสงั เกตท่ี ผู้วิจัยเข้าไปมีส่วนร่วมอยู่ในกลุ่มท่ีตนศึกษา และมีการทากิจกรรมร่วมกัน โดยผู้วิจัยเป็นสมาชิกผู้ หน่ึงของกลุ่มหรือสถานการณ์ที่ศึกษา เช่น เข้าไปใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนนั้น เม่ือต้องการศึกษาถึงชีวิต ของคนในชมุ ชนน้ัน ข้อดีคือ จะได้ข้อมลู ที่แท้จริง จุดด้อยคือ อาจเกิดจากผู้สงั เกต ซงึ่ จะทาให้ข้อมูล ทไ่ี ด้ขาดความเท่ียงตรง 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non - participant Observation) หมายถึง การ สังเกตที่ผู้วิจัยกระทาตนเป็นบุคคลภายนอก ไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่กลุ่มกาลังทากันอยู่ การไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในความหมายน้ี หมายถึง ไม่เข้าไปรว่ มในกิจกรรมของกลุ่มนั้นเท่าน้ัน ไม่ได้ หมายถึงการไม่เข้าไปอยู่ในบริเวณสถานที่ด้วย มกั ใช้ในกรณีท่ีไม่ต้องการให้ผู้ถกู สังเกตรู้สึก รบกวน จากตวั ผสู้ ังเกต ผสู้ งั เกตเป็นเพยี งผู้สังเกตการณเ์ ทา่ น้นั 2.3 การวดั พฤติกรรมดา้ นทักษะพสิ ัย ทักษะพิสัยคือ ความสามารถในการปฏิบัติงาน โดยงานน้ันจะเกี่ยวข้องกับ ความสามารถทางสมองหรือไม่ก็ได้ แต่จุดสำคัญคือ ผู้เรียนจะต้องมีการปฏิบัติงานแล้วมีผลงาน แสดงออกมาให้เห็น การวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยจึงเป็นการวัดกระบวนการ หรือผลงาน หรือ ทั้งกระบวนการและผลงาน 1. ประเภทของการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยการวัดด้านทักษะพิสัยแบ่ง ออกเปน็ 4 ประเภท คอื 1.1 การเขียนตอบ (paper and pencil) การวัดด้านการปฏิบัติอาจจะเริ่มด้วยการ ทดสอบทางด้านความรู้ความคิด โดยคำถามส่วนใหญเ่ ปน็ การถามความรู้ที่เป็นผลมาจากการเรียนรู้ ทีผ่ า่ นมา 1.2 การให้ระบุหรือจำแนก (identification) เป็นการทดสอบท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย มุ่งวัดทักษะในการจำแนก เช่น ให้จำแนกเคร่ืองมือและวิธีการใช้ในการทดลอง ให้จำแนกสารเคมี ต่าง ๆ หาจุดท่ไี ฟฟา้ ชอ็ ตในวงจรไฟฟ้า เปน็ ตน้ 1.3 การใช้สถานการณ์จำลอง (simulated situation) วิธีการน้ีจะทำให้ผู้เรียนได้ ปฏิบัติงานในสถานการณ์ที่เสมือนจริง เช่น การหัดขับรถยนต์ หรือเคร่ืองบินในสถานการณ์จำลอง เพ่อื ป้องกันไม่ให้ ผเู้ รียนไดร้ ับอนั ตราย เปน็ ต้น 1.4 ตัวอย่างสถานการณ์จริง (work sample) เป็นการให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติงานใน สถานการณ์จริง โดยทั่วไปวิธีท่ีกล่าวข้างต้นเป็นแบบที่มีความเท่ียงตรง และความเช่ือมั่นสูงกว่าวิธี อ่นื ๆ แตก่ ารเลอื กใช้รปู แบบของการวดั ผลงานภาคปฏิบตั ทิ ี่ดีนน้ั ข้นึ อยกู่ ับเร่ืองที่สอบวัดเปน็ หลัก
15 2. ขัน้ ตอนการวดั พฤติกรรมดา้ นทักษะพสิ ยั การวัดด้านทักษะพสิ ัยหรอื การปฏิบัติ ควรมขี ้ันตอนดังนี้ 2.1 กำหนดงานท่ีให้ปฏิบัติ ซ่ึงงานที่ให้ปฏิบัติต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เหมาะสมกับเวลา สภาพแวดลอ้ มและเป็นงานทผ่ี เู้ รียนตอ้ งใช้ความรู้ ความสามารถ 2.2 กำหนดขอบข่ายการปฏบิ ัตแิ ละวิธีการทดสอบ 2.2.1 ใบงาน เป็นการระบุรายละเอยี ดของงานที่ต้องการใหป้ ฏบิ ัติ 2.2.2 รายการวัสดุ อุปกรณ์หรอื เคร่ืองมือทก่ี ำหนดใหใ้ ช้ รวมท้ังข้อควรระวัง ตา่ ง ๆ 2.2.3 วิธีดำเนินการสอบ ได้แก่เงื่อนไขการใช้เคร่ืองมือ ระดับการปฏิบัติท่ี ต้องการกำหนดเวลาในการปฏิบัติ วิธีดำเนินการสอบจะต้องเขียนให้ชัดเจน บางครั้งอาจจะต้องแสดง ตวั อย่างประกอบ 2.3 กำหนดองค์ประกอบของคะแนน และเกณฑ์การตรวจใหค้ ะแนน เปน็ การกำหนด ว่าจะใหค้ ะแนนด้านใดบ้างแตล่ ะดา้ นกำหนดนำ้ หนกั ความสำคัญอย่างไร 2.4 สร้างแบบประเมนิ แบบประเมนิ น้จี ะนำไปใช้ประกอบการสังเกตความสามารถใน การปฏบิ ัติของผูเ้ รียน ดังนน้ั รายการประเมนิ จะต้องมเี กณฑ์การให้คะแนนที่ชดั เจน 3. คุณลักษณะทใ่ี ช้วัดพฤตกิ รรมด้านทักษะพสิ ัย 3.1 คณุ ลักษณะทใ่ี ชว้ ัดกระบวนการ โดยทวั่ ไปแบ่งเป็นลักษณะยอ่ ย ๆ ไดด้ ังนี้ 3.1.1 คุณภาพขณะปฏิบัติงาน ซึ่งวัดจากความผิดพลาดที่เกิดขึ้นขณะ ปฏบิ ัตงิ าน ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไวในการปฏบิ ัติ การเลือกใชว้ สั ดุอปุ กรณท์ ่เี หมาะสมกับงานท่ีปฏิบัติ 3.1.2 เวลา วดั จากเวลาท่ีใชใ้ นการปฏิบตั ิงานนอ้ ย 3.1.3 ทักษะการปรบั ปรุงงาน วดั จากการลดขั้นตอนการทำงานใหส้ ัน้ ลง 3.1.4 ความปลอดภัยในการทำงาน วดั จากความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองมือ จำนวนอุบตั เิ หตทุ ่ีเกิดข้นึ ขณะทำงาน 3.1.5 ความสิน้ เปลอื งทรพั ยากร วดั จากจำนวนวัสดทุ ใ่ี ช้เกิน 3.2 คุณลักษณะที่ใช้วดั ผลงาน โดยทวั่ ไปสามารถแยกเป็นลักษณะยอ่ ย ไดด้ งั น้ี 3.2.1 คุณภาพของผลงาน วัดจากคุณภาพสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน จุด ดี จุดเดน่ ของผลงาน ความเหมาะสมในการนำเอาไปใช้ และลกั ษณะภายนอกทปี่ รากฏ 3.2.2 ปรมิ าณงาน วัดจากปริมาณของผลผลติ ที่ทำได้ภายในเวลาที่กำหนด 3.2.3 ทักษะการปรับปรุงงาน วัดจากพัฒนาการของผลงานในเชิงคุณภาพ และปริมาณ 3.2.4 ความปลอดภัยของผลงาน วัดจากระดับความปลอดภัยของผลผลิต เมื่อนำไปใช้ 3.2.5 ความสิ้นเปลือง วัดจากจำนวนช้ินงานที่ทำแล้วใช้ไม่ได้ หรือยอมรับ ไม่ได้
16 4. เครื่องมือท่ีใช้ในการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เคร่ืองมือที่ใช้วัดพฤติกรรม ดา้ นทักษะพสิ ัยมหี ลายชนดิ ซ่ึงไดแ้ ก่ 1. แบบทดสอบ 2. มาตราสว่ นประมาณคา่ 3. แบบตรวจสอบรายการ 4. แบบสงั เกต ซึ่งรายละเอียดของเครื่องมือแต่ละชนิดศึกษาได้จากเคร่ืองมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิ พิสัย และเคร่ืองมือวดั พฤตกิ รรมดา้ นจิตพิสัย 2.4 งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง 2.4.1 การพัฒนาส่ือสังคมออนไลน์ร่วมกบั การเรียนแบบร่วมมือ เร่ืองการออกแบบกราฟิก ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทมี่ ีต่อความสามารถในการออกแบบ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนสารสาสน์ประชาอุทิศพิทยาคาร การวิจัยครั้งน้ีมีจุดประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อพัฒนาส่ือสังคม ออนไลน์ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเร่ือง การออกแบบกราฟิกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีต่อ ความสามารถในการออกแบบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่2 ให้มีประสิทธ์ิภาพตามเกณฑ์2)เพื่ อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการออกแบบ 4) เพื่อ ศกึ ษาความคดิ เห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครัง้ นเี้ ป็นนกั เรียนที่ กำลังศึกษาอยู่ในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 40 คน ซึง่ ได้จาก การสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) มาจำนวน 1 ห้องเรียน โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แผนการจัดการเรียนรู้3) ส่ือสังคมออนไลน์ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเรื่องการออกแบบกราฟิกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4) แบบประเมินคุณภาพสื่อสังคมออนไลน์5)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6)แบบประเมิน ความสามารถในการออกแบบ 7)แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการทดสอบ t-test ผลการวิจยั พบวา่ 1)ส่อื สังคมออนไลนร์ ว่ มกับการเรียน แบบร่วมมือ เร่ือง การออกแบบกราฟิกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่ีมีต่อความสามารถในการออกแบบ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีประสิทธิภาพ 80.08/83.05 เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกำหนด 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสื่อสังคมออนไลน์ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเรื่องการออกแบบกราฟิก ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีต่อความสามารถในการออกแบบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี2 หลัง เรยี นสงู กว่ามคี ่าคะแนนก่อนเรยี น อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ่ี.01 3) ความสามารถในการออกแบบของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่เรียนด้วยสื่อสังคมออนไลน์ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ เรื่อง การ ออกแบบกราฟิกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีผลคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 16.60 คิดเป็นร้อยละ 83.00 อยู่ ในระดับดี4) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี2 ท่ีมีต่อส่ือสังคมออนไลน์ร่วมกับการเรียน แบบร่วมมือ เร่ือง การออกแบบกราฟิกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่มีตอ่ ความสามารถในการออกแบบ อยใู่ นระดับ ดมี าก (ค่าเฉล่ีย 4.63,สว่ นเบยี่ งเบนมาตราฐาน 0.45)
17 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย การศึกษาค้นคว้าในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารว่าง โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เพ่ือนช่วยกัน ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาช้ัน ม. 2 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 39 คน ผู้ศึกษา คน้ ควา้ ไดด้ ำเนนิ การตามข้ันตอนและนำเสนอตามลำดบั ดงั นี้ 1. การกำหนดประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั 3. การสร้างเครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย 4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 5. การจัดกระทำและการวิเคราะหข์ ้อมูล 6. สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 3.1 การกำหนดประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง กลมุ่ ตัวอย่าง นกั เรียนระดบั ชัน้ ม.2 หอ้ ง 1-8 กลุม่ A,B ทล่ี งเรยี นรายวิชา อาหารว่าง (วชิ าเพม่ิ เติม) ภาค เรยี นที่ 2/2564 จำนวน 39 คน 3.2 เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัยประกอบด้วย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลองและเครื่องมือที่ใชใ้ นการ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ซึ่งผู้วจิ ยั ดำเนนิ การสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมือในการวิจยั ดังน้ี 3.2.1 เครื่องมือที่ใชใ้ นการทดลอง แผนการสอนทใ่ี ช้ในการเรยี นแบบรว่ มมือ ผ้วู จิ ยั สรา้ งแผนการสอนโดยดำเนินการดังนี้ 1. ศึกษาหลักสูตร จุดประสงค์รายวิชาและคำอธบิ ายรายวิชา 2. ศึกษารายละเอยี ดของเนอ้ื หาท่ีจะนำมาสร้างแผนการสอนจากเอกสาร 3. กำหนดจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมของเนอื้ หาแต่ละบท 4. ศึกษาขอบข่ายและวธิ กี ารเรียนแบบร่วมมอื 5. วิเคราะหล์ ักษณะเดน่ ของเทคนคิ วิธกี ารเรยี นแบบรว่ มมือในแบบตา่ ง ๆ 6. เลอื กรปู แบบการเรียนแบบร่วมมือทเี่ หมาะสมกับเนื้อหาและกจิ กรรมทใี่ ชใ้ น การสอนได้ 2 รูปแบบ คือ STAD และLT ในการเลือกรูปแบบการเรยี นแบบร่วมมอื นั้นจะพจิ ารณา จากกิจกรรมท่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอนประกอบกับการพิจารณาลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะเทคนิค ใน กรณที ี่เน้ือหาและกจิ กรรมการทดลองท่ีมีลักษณะซบั ซอ้ น ครตู อ้ งอธบิ ายรายละเอยี ดของเนื้อหาก่อนที่ จะให้นักเรียนทำการศึกษาร่วมกัน มกี ารทำแบบฝึกหัดและมีการทดสอบ จะเลอื กใชก้ ารเรยี นแบบ รว่ มมอื เทคนคิ STAD ส่วนเนือ้ หาและกจิ กรรมการทดลองทม่ี ลี ักษณะไม่ซับซอ้ น ง่ายแก่การเข้าใจ นักเรียนสามารถร่วมกนั ศึกษาได้เองจะใชก้ ารเรียนแบบรว่ มมือเทคนิค LT
18 3.2.2 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น วชิ าอาหารวา่ งเป็นแบบปรนยั เลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 40 ข้อ รวม 20 คะแนน 2. แบบประเมนิ ทักษะการปฏิบัติอาหาร(ภาคปฏิบตั ิ) การเรียนแบบร่วมมอื โดยแบบ ประเมนิ รายการประเมิน 10 รายการ รวม 80 คะแนน ขัน้ ตอนปฏบิ ัติ/ผลงาน 1. การจัดเตรยี มวตั ถดุ ิบและเครอ่ื งปรงุ 2. การวัด ชัง่ ตวงตามสูตรอาหารอย่างถูกต้อง 3. การแบง่ งานและร่วมมอื ภายในกล่มุ 4. ทกั ษะในการปฏิบตั งิ าน 5. กจิ นิสยั ในการปฏิบัติงาน 6. ลักษณะดา้ นเนอ้ื สมั ผัสของอาหาร 7. ลักษณะสีของอาหาร 8. ลกั ษณะด้านรสชาติ 9. ลักษณะด้านกล่ิน 10. ลักษณะโดยรวมของอาหาร โดยกำหนดคา่ น้ำหนักของคะแนนดังนี้ 5 ดมี าก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ตอ้ งปรับปรงุ น้อยกว่า 1 ตำ่ กว่าเกณฑ์ การนำคะแนนมาหาค่าเฉล่ีย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นำคา่ เฉล่ยี (Mean) ดงั น้ี ค่าเฉล่ีย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถงึ ดมี าก คา่ เฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง ดี ค่าเฉล่ีย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถงึ พอใช้ ค่าเฉล่ยี (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง ตอ้ งปรับปรุง คา่ เฉลย่ี (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง ตำ่ กวา่ เกณฑ์ เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบญุ มี พนั ธุ์ไทย, 2545 : 60) 3.3 การสร้างเครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั 1. ศกึ ษาจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และตัวช้ีวดั ผลการเรยี นรายวิชาอาหารว่าง เพือ่ กำหนดกรอบ คุณลกั ษณะ ระดับและกลมุ่ ของสมรรถนะ 2. สรุปสมรรถนะท่ตี ้องปฏิบัติเขียนเป็นความรู้ ทักษะ กจิ นิสัย 3. วิเคราะหส์ มรรถนะงานออกเปน็ ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน เพอ่ื ดูรายละเอียดการทำงานจาก เร่ิมต้นจนสำเร็จ จะได้ผลงานย่อย ๆ แต่ละขัน้ ใชก้ ำหนดเกณฑ์การปฏบิ ัติงานให้ครอบคลุมลกั ษณะ สมรรถนะงาน
19 4. วิเคราะหข์ ้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ านออกเป็นเกณฑ์ปฏบิ ตั ิงาน เพอื่ กำหนดคุณภาพของสิง่ ท่ีผู้ ทำงานทำได้สำเรจ็ หรือคุณภาพผลงานท่ีต้องทำใหส้ ำเร็จตามเง่ือนไขข้อกำหนดของแต่ละระดบั 5. วิเคราะห์เกณฑป์ ฏิบัติงานออกเป็นหลักฐานด้านทกั ษะ โดยวิเคราะหว์ า่ สมรรถนะงานนัน้ ตอ้ งใช้ทักษะอะไรในการทำงานแตล่ ะขน้ั ตอน ได้แก่ เทคนคิ ในการทำงาน การใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ 6. กำหนดแนวทางการประเมินท้งั ปฏิบัติและทฤษฎี เพื่อพจิ ารณาวา่ เคร่อื งมือชนดิ ใดจะ เหมาะสมกับงานในอาชีพนั้น ๆ เคร่อื งมือประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎีใช้แบบ ใด และมีเกณฑ์อย่างไร โดยใช้ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะงาน ข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 7. สรปุ หลักฐานดา้ นทักษะและความรู้ เขียนเป็นจุดประสงค์ดา้ นความรู้ ทักษะและกิจนิสยั 8. จดั ทำเครือ่ งมือประเมินภาคปฏบิ ตั แิ ละภาคทฤษฎแี ละเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน กรอบการประเมิน 1. จดั เตรยี มเคร่ืองมือ อุปกรณ์ในการเตรยี มการประกอบอาหาร 2. เลือกซ้ือ เกบ็ รักษาและจัดเตรยี มวตั ถุดบิ ประกอบอาหาร 3. การประกอบอาหารอาหารวา่ งไทย การทำขนมเปียกปนู ใบเตยนำ้ ตาลโตนด 4. เครอ่ื งมือประเมินผลภาคทฤษฎี วิชาอาหารวา่ ง จำนวน 1 ชดุ คะแนนเต็ม 20 คะแนน ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ แบบเลือกตอบ จำนวน 40 ขอ้ 5. เครือ่ งมือประเมนิ ภาคปฏบิ ัติ คะแนนเต็ม 80 คะแนน 6. คะแนนในภาคทฤษฎีจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน และคะแนนเต็มในภาคปฏบิ ัติ 80 คะแนน ก่อนนำมารวมกนั เพื่อพิจารณาการผา่ นเกณฑ์การประเมิน 7. นำผลคะแนนรวมกันแลว้ หาค่าเฉลยี่ เพื่อตัดสินผลการประเมินตามเกณฑท์ ่ีกำหนดดังนี้ 7.1 ภาคทฤษฎี ผูเ้ ข้ารับการประเมนิ ต้องไดค้ ะแนนไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ 60 7.2 ภาคปฏิบตั ิ ผู้เข้ารับการประเมนิ ต้องได้คะแนนไม่ตำ่ กว่าร้อยละ 80 8. คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ ผูเ้ ขา้ รับการประเมนิ ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ำกว่าร้อยละ 80 จงึ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
20 3.5 วิธกี ารวิเคราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะหเ์ กณฑก์ ารประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน ของนกั ศกึ ษาระดบั ช้นั ม.2 วิชาอาหารว่าง (วิชาเพิ่มเติม) เรือ่ ง ทักษะการประกอบอาหาร การทำขนมเปยี กปูนใบเตยน้ำตาลโตนด โดยใช้ ประเมินผลการปฏิบัติงาน มีลักษณะท่ใี ชม้ าตราสว่ นประเมินคา่ ของลเิ คริ ์ต (Likert’s Rating Scale) มี 5 ระดบั ดงั นี้ 5 ดีมาก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ตอ้ งปรับปรงุ นอ้ ยกวา่ 1 ตำ่ กว่าเกณฑ์ การนำคะแนนมาหาค่าเฉล่ีย(Mean) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นำคา่ เฉล่ีย (Mean) ดงั น้ี คา่ เฉลีย่ (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง ดีมาก ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถงึ ดี คา่ เฉลย่ี (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง พอใช้ คา่ เฉลย่ี (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถงึ ต้องปรบั ปรุง คา่ เฉลยี่ (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถงึ ต่ำกว่าเกณฑ์ เปรยี บเทยี บกับเกณฑข์ องเบสท์ (Best, 1970 อา้ งถงึ ในบุญมี พันธไุ์ ทย, 2545 : 60) 3.6 สถิติทใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับระดับคะแนนปฏิบัติของนักเรียน โดยวิเคราะห์ด้วยสถิติ พน้ื ฐาน รอ้ ยละ (Percentage) 1.1 ค่าสถิติร้อยละ (Percentage) ในข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับสถานภาพของนักศึกษา สูตร P = 100 f n เมอ่ื P แทน ค่ารอ้ ยละ f แทน จำนวนหรือความถ่ที ต่ี ้องการหาคา่ ร้อยละ n แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมด 2. ค่าเฉล่ีย (Mean) หมายถงึ ค่าทไ่ี ด้จากคา่ เฉล่ยี ทกุ ค่าของข้อมลู ชุดหน่งึ คำนวณโดยใชส้ ตู ร เม่อื ข้อมลู มิไดจ้ ัดกลุ่มหรือไม่จัดแจงความถ่ี X = เมื่อ X แทน คา่ เฉล่ีย X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดของกลมุ่
21 N แทน จำนวนของคะแนนในกล่มุ 3. สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน็ การวดั การกระจายที่นิยมใชก้ ัน มากในงานวิจัย แทนด้วย S.D. S.D. = nX2 - (X)2 N(N – 1) เมอ่ื S.D. แทน ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน X2 แทน ผลรวมของคะแนนยกกำลงั สอง ( X)2 แทน กำลงั สองของคะแนนผลรวม N แทน จำนวนข้อมูลทัง้ หมด
22 บทท่ี 4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ผูว้ จิ ัยได้ศึกษาพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นการพัฒนาทกั ษะการ ประกอบอาหารวชิ าอาหารว่าง โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) ของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาช้นั ม. 2 โดยผวู้ จิ ยั ขอนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 4.1 ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน คะแนนหลงั เรยี นวชิ าอาหารวา่ ง ต้องได้คะแนนไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ 60 4.2 ทกั ษะการประกอบอาหารว่างไทย การทำขนมเปียกปูนใบเตยน้ำตาลโตนด ดา้ นทักษะ การปฏิบตั งิ านตามเกณฑ์ต้องได้คะแนนไม่ตำ่ กว่ารอ้ ยละร้อยละ 80 ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานรวมของคะแนนภาคทฤษฎี หลังเรยี น วชิ าอาหารว่าง (n=39) คะแนนการประเมนิ ผล X SD. รอ้ ยละ การแปลผล 4.7 0.4 94 ดีมาก จากตารางท่ี 4.1 คะแนนเฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการประกอบ อาหาร การทำขนมเปียกปูนใบเตยนำ้ ตาลโตนด วชิ าอาหารว่าง 2 ดว้ ยรปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ รว่ มมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาช้ัน ม. 2 จากการประเมินผลการ ปฏิบตั ิงาน พบวา่ มีคา่ เฉลีย่ รวมสูงสุด 4.7 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานรวม 0.4 คดิ เป็นรอ้ ยละ 98 การ แปลผล ดีมาก โดยนักเรียนผ่านเกณฑป์ ระเมนิ มากกวา่ ร้อยละ 60
23 ตารางท่ี 4.2 แสดงคา่ เฉลีย่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของคะแนนทักษะการ ประกอบอาหารว่างไทย การทำขนมเปยี กปนู ใบเตยน้ำตาลโตนด วชิ าอาหารว่าง 2 ดว้ ยรูปแบบการ จดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ (Cooperative Learning) ของนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาชัน้ ม. 2 ลำดับที่ หวั ข้อการประเมนิ ค่าเฉลย่ี sd. ร้อยละ การแปรผล 1 การจัดเตรยี มวัตถุดิบและเครื่องปรุง 4.9 0.3 98% ดมี าก 2 การวัด ชงั่ ตวงตามสตู รอาหารอยา่ งถูกต้อง 4.4 0.9 88% ดี 4.7 0.5 93% ดีมาก 3 การแบง่ งานและร่วมมือภายในกลุม่ 4.0 0.9 80% ดี 4.6 0.5 92% ดีมาก 4 ทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน 4.4 0.7 88% ดี 5 กิจนสิ ยั ในการปฏิบัติงาน 4.1 0.8 81% ดี 6 ลกั ษณะด้านเนื้อสมั ผัสของอาหาร 4.4 0.8 88% ดี 5.0 0.0 100% ดมี าก 7 ลกั ษณะดา้ นสขี องอาหาร 5.0 0.0 100% ดมี าก 4.5 0.4 91% ดมี าก 8 ลกั ษณะดา้ นรสชาติ 9 ลักษณะดา้ นกลิน่ 10 ลกั ษณะโดยรวมของอาหาร รวม จากตารางที่ 4.2 พบว่าการประเมินทักษะประกอบอาหารว่างไทย การทำขนมเปียกปนู ใบเตย น้ำตาลโตนด วิชาอาหารว่าง 2 ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาช้นั ม. 2 จำนวน 39 คน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.50) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่านักเรียน ทักษะการประกอบอาหารว่าง การทำขนมเปียกปูนใบเตยน้ำตาล โตนด มีลักษณะด้านกลิ่นหอมของใบเตย น้ำตาลโตนด และลักษณะการจัดตกแต่งอาหารมีค่าเฉล่ีย สูงสุด ( X = 5.00) รองลงมานักเรียนการจัดเตรียมวัตถุดิบและเครื่องปรุงอยู่ในระดับดีมาก ( X =4.90) นักเรียนมีการแบ่งงานและร่วมมือภายในกลุ่มอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.70) ทักษะใน การปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.60) ตามลำดับ และทักษะในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี ( X = 4.00) มีคา่ เฉล่ยี ตำ่ สดุ
24 บทที่ 5 สรุปผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารว่าง โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาชนั้ ม. 2 พบว่า พบว่าคะแนนในภาคทฤษฎี มีค่าเฉล่ียรวมสูงสุด 4.7 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานรวม 0.4 คิด เปน็ ร้อยละ 98 การแปลผล ดีมาก โดยนักเรยี นผ่านเกณฑ์ประเมนิ มากกวา่ ร้อยละ 60 ภาคปฏิบัติทักษะการประกอบอาหารว่าง การทำขนมเปียกปูนใบเตยน้ำตาลโตนด มีลักษณะ ด้านกล่ินหอมของใบเตย น้ำตาลโตนด และลักษณะการจัดตกแต่งอาหารมีค่าเฉล่ียสูงสุด ( X = 5.00) รองลงมานักเรียนจัดเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการเตรยี มและประกอบได้อาหารอยู่ในระดับดีมาก ( X =4.90) นักเรียนมีการปฏิบัติงานตามข้ันตอนอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.70) บุคลิกภาพและกิจ นิสัยในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.60) ตามลำดับ และการทำความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ์บริเวณและจัดเก็บเคร่ืองมืออุปกรณ์อยู่ในระดับดี ( X = 4.00) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดโดยนักเรียน ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ มากกว่าร้อยละ 80 5.1 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย เพ่ือพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวชิ าอาหารวา่ ง โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรแู้ บบ รว่ มมือ (Cooperative Learning) เพ่ือนช่วยกัน ของนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้น ม. 2 5.2 ประชากร นักเรียนระดับชั้น ม. 2 ห้อง 1-8 กลุ่ม A,B ที่ลงเรียนรายวิชา อาหารว่าง (วิชาเพ่ิมเติม) ภาค เรียนที่ 2/2564 จำนวน 39 คน 5.3 กลมุ่ ตวั อย่าง นกั เรียนระดบั ชน้ั ม. 2 ห้อง 1-8 กลุ่ม A,B ทีล่ งเรียนรายวิชา อาหารวา่ ง (วชิ าเพมิ่ เติม) ภาค เรยี นท่ี 2/2564 จำนวน 39 คน 5.4 เครื่องมือทใ่ี ช้ 1. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น วิชาอาหารวา่ งเป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 40 ขอ้ รวม 20 คะแนน 2. แบบประเมินทักษะการปฏิบตั ิอาหาร(ภาคปฏบิ ัต)ิ การเรียนแบบร่วมมือโดยแบบประเมนิ รายการประเมิน 10 รายการ รวม 80 คะแนน
25 5.5 สรปุ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล การศึกษาพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารว่าง โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนระดับช้ัน มธั ยมศึกษาชัน้ ม. 2 พบว่า พบว่าคะแนนในภาคทฤษฎี มีค่าเฉล่ียรวมสูงสุด 4.7 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานรวม 0.4 คิด เปน็ รอ้ ยละ 98 การแปลผล ดีมาก โดยนกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ประเมนิ มากกว่ารอ้ ยละ 60 ภาคปฏิบัติทักษะการประกอบอาหารว่าง การทำขนมเปียกปูนใบเตยน้ำตาลโตนด มีลักษณะ ด้านกล่ินหอมของใบเตย น้ำตาลโตนด และลักษณะการจัดตกแต่งอาหารมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( X = 5.00) รองลงมานักเรียนจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเตรียมและประกอบได้อาหารอยู่ในระดับดีมาก ( X =4.90) นักเรียนมีการปฏิบัติงานตามข้ันตอนอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.70) บุคลิกภาพและกิจ นิสัยในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.60) ตามลำดับ และการทำความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ์บริเวณและจัดเก็บเคร่ืองมืออุปกรณ์อยู่ในระดับดี ( X = 4.00) มีค่าเฉล่ียต่ำสุดโดยนักเรียน ผ่านเกณฑ์ประเมนิ มากกว่ารอ้ ยละ 80 5.6 อภปิ รายผลการวจิ ัย การศึกษาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาทักษะการประกอบอาหารวิชาอาหารว่ าง โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาชน้ั ม. 2 พบว่า พบว่าคะแนนในภาคทฤษฎี มีค่าเฉล่ียรวมสูงสุด 4.7 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานรวม 0.4 คิด เปน็ รอ้ ยละ 98 การแปลผล ดมี าก โดยนักเรียนผ่านเกณฑป์ ระเมินมากกว่ารอ้ ยละ 60 ภาคปฏิบัติทักษะการประกอบอาหารว่าง การทำขนมเปยี กปูนใบเตยน้ำตาลโตนด มีลักษณะ ด้านกลิ่นหอมของใบเตย น้ำตาลโตนด และลักษณะการจัดตกแต่งอาหารมีค่าเฉล่ียสูงสุด ( X = 5.00) รองลงมานักเรียนจดั เตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการเตรียมและประกอบได้อาหารอยู่ในระดับดีมาก ( X =4.90) นักเรียนมีการปฏิบัติงานตามขั้นตอนอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.70) บุคลิกภาพและกิจ นิสัยในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.60) ตามลำดับ และการทำความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ์บริเวณและจัดเก็บเคร่ืองมืออุปกรณ์อยู่ในระดับดี ( X = 4.00) มีค่าเฉล่ียต่ำสุดโดยนักเรียน ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ มากกว่าร้อยละ 80
26 5.7 ขอ้ เสนอแนะในงานวิจยั 1. การเข้ารว่ มทำการทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียนของนกั เรียน มนี กั เรียนบางส่วนเข้าร่วม กิจกรรมช้าหรอื เข้าร่วมแต่ไมส่ ม่ำเสมอ ซ่ึงควรกำหนดสง่ิ จูงใจนกั เรยี นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม เช่น ให้ คะแนนการเขา้ รว่ มกิจกรรม 2. การควบคุมดูแลระหว่างกิจกรรมของครผู ู้สอน ให้มีการสนบั สนนุ กระตนุ้ การแลกเปลย่ี น ความร้ขู องนกั เรียนให้มากข้ึน 3. ผลทไ่ี ด้จากการศึกษาคร้ังนี้สามารถนำไปพัฒนาการเรยี นการสอนให้เกดิ ประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลต่อไป
27 บรรณานุกรม กติกา สายเสนีย์. (2552). คมู่ อื การใช้งาน tweeter. (ออนไลน์). แหล่งท่มี า : http://www.keng.com. 27 มีนาคมคม 2564. กมลพรรณ เครือวัลย.์ (2544). การพัฒนาและหาประสิทธภิ าพบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย อินเตอร์เนต็ ในการสอนวชิ าการสื่อสารข้อมลู . วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาควิชาครศุ าสตร์ เทคโนโลยี บัณฑติ วทิ ยาลยั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์. (2553). Social media. (ออนไลน)์ . แหล่งท่มี า : http://www.teacherkobwit2010. wordpress.com. 27 มนี าคมคม 2564. กิดานนั ท์ มลทิ อง (2543). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวัตกรรม. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: อรุณการพิมพ์. ใจทิพย์ ณ สงขลา.(2542). การสอนผา่ นเครือขา่ ยเวลิ ดไ์ วดเ์ ว็บ. วารสารครุศาสตร์. ปที ี่ 27 ฉบับท่ี 3 (มนี าคม 2542): 18-28. ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544). การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) นวตั กรรมเพอ่ื คณุ ภาพการเรยี นการสอน .วารสารศึกษาศาสตร์สาร ปีท่ี 28 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2544 หนา้ 87-94 ธนาธร ทะนานทอง (2551). การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยีเว็บบลอ็ ก. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี. ธงชัย ทองอย่.ู (2543). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ วิชาหลกั การเบอ้ื งตน้ ของระบบรบั สง่ ใยแกว้ นำแสง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมมหาบัณฑติ สาขาวชิ าไฟฟา้ ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้าบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. บุญมี พันธไุ์ ทย. (2542). การวจิ ัยในช้นั เรียน. กรุงเทพมหานคร. มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. บุญเรือง เนียมหอม. (2540). การพฒั นาระบบการเรยี นการสอนทางอนิ เตอรเ์ นต็ ในระดับ อุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: วิทยานพิ นธป์ ริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ปรัชญนันท์ นิลสขุ (2543) . นิยามเวบ็ ช่วยสอน Definition of Web-Based Instruction . วารสาร พฒั นาเทคนคิ ศกึ ษาสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ปที ี่ 12 ฉบบั ที่ 34 เม.ย. – ม.ิ ย. 2543 หนา้ 53-56 พลู ศรี เวศย์อุฬาร. (2543). ผลการเรียนผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
28 [ระบบออนไลน์] แหล่งท่มี า: http://www.thaicai.com/articles/wbi 3.html. [12 มนี าคมคม 2564]. ล้วน สายยศ. (2538). เทคนคิ การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร. สุริวยิ าสน์ . วราภรณ์ ผ่องสุวรรณ. (2547). การพัฒนาบทเรยี นผา่ นเวบ็ เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและ
29 ภาคผนวก ภาพประกอบการเรียนวิชาอาหารว่าง เพื่อพฒั นาทักษะการประกอบอาหาร การทำขนมเปียกปูน ใบเตยน้ำตาลโตนด โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) ระดบั ชั้น มัธยมศึกษาช้นั ม. 2
30 ผลงานนักเรยี น ขนมเปยี กปนู ใบเตยนำ้ ตาลโตนด
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: