Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เคสเดี่ยว4

เคสเดี่ยว4

Published by soydaw9825, 2021-08-17 16:11:16

Description: เคสเดี่ยว4

Search

Read the Text Version

ชือ่ -สกุล นางสาวมณรี ตั น์ ชูธรรมเจริญ รหสั 640300011 สถานท่ฝี กึ ปฏิบตั ิ โรงพยาบาลสระบุรี แผนก หอผู้ป่วยทารกแรกเกดิ วิกฤต (NICU) วนั ทีศ่ กึ ษา 9-13 สิงหาคม 2564 ชือ่ ผปู้ ่วย ด.ญ.บตุ รนางอภิษฎา แสงหอม อายุ 2 วัน วนั เขา้ รบั การรักษา 7 สงิ หาคม 2564 ประเภทการรบั รับย้ายจาก LR นา้ หนักแรกรับ 2370 กรมั นา้ หนักวนั ท่ดี แู ล 2345 กรัม Chief Complaint ทารกเพศหญงิ คลอดปกติ แรกคลอดที่ 1 นาที หายใจมี Retraction Past Illness ทากเพศหญงิ Term GA 38 wk คลอดปกติ วันท่ี 7 สงิ หาคม 2564 เวลา 11.04 น. Apgar’s 9-10-10 คะแนน BW แรกคลอด 2370 กรมั ขณะคลอดมี cord พันคอ 2 รอบ พบ moderate meconium stain หลงั คลอดร้องดี Tone ดี หายใจมี retraction จงึ ทา basic resuscitation ยังมี retraction HR=190/min → early CPAP PEEP 5 → poor air entry → PEEP 7 ยังมี poor air entry → start PPV PIP 20 PEEP 7 ยงั มี poor air entry อกไม่ยก → MRSO suction ได้ Clear AF 1 สาย เพม่ิ PIP 25 → เพมิ่ PIP 30 ยังมี poor air entry, chest ไม่ move, crepitation both lung → On EET No.3 depth 8 → ย้าย NICU ประวตั ิมารดา มารดาอายุ 30 ปี G2P0Ab1L0 ฝากครรภค์ ร้ังแรกเม่อื GA 5+4 wk ANC 18 คร้งั Total weight gain 11 kg มารดามปี ระวตั เิ ป็น SLE และ Thyroid on levothyroxine (50 mcg) 1 tab (จันทร์-เสาร์) ผลเลือดมารดาครั้งท่ี 1 Hct 25.5 % Hb 8.2 g% MCV 73.2 Hb typing : Hb E trait Anti-HIV : Neg HBsAg : Neg VDRL : NR ผลเลือดมารดาครัง้ ท่ี 2 Hct 32 % Anti-HIV : Neg VDRL : NR ผลเลือดสามี normal typing Anti HIV : neg VDRL : NR

Physical Examination BW 2370 gm Height 44 cm GA : Female newborn, Pink skin , Sleep in incubator , On ETT c ventilator Head : normal head shape , head size appropriated with GA , no Hematoma or abnormal, no caputsuccedanum, no cephalhematoma : AF 2 x 2 cm. PF 0.5 cm Eyes : symmetry eye ball both eye Ears : normal set ears , symmetrical , normal pinna Nose : normal nasal bridge , nasal septum in midline Mouth : pink , no cleft lip cleft palate , no predeciduous teeth CVS : no murmur Abdomen: soft , No distention Extremities: No deformities NS : moro reflex : positive sucking reflex : positive swallowing : positive Genitalia: majora large, Minora small

Fenton ประเมนิ Fenton preterm chart นา้ หนกั และส่วนสงู อย่ใู นเกณฑ์ตา่ กวา่ เปอร์เซ็นไทล์ที่ 3 Term symmetrical SGA

Ballard Score 311587 18 3388 17 จากการตรวจรา่ งกายทารกแรกเกดิ ประเมิน Ballard score รวมเทา่ กับ 35 คะแนน

ผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการและการตรวจพเิ ศษ 1. Arterial Blood gas*** สง่ิ ท่ตี รวจ pH pCO2 pO2 HCO3 BE แปลผล คา่ ปกติ (mmHg) (mmHg) (mmol/L) (mmol/L) 7 ส.ค. 64 7.25 - 45 – 55 50 - 70 18 - 20 (-4) - 4 12.35 น. 7.35 7.36 43 29.4 24.3 -0.5 - Mixed Respiratory alkalosis with Metabolic alkalosis, Hyperventilation, Hypoxemia แปลผล - Respiratory alkalosis with Hyperventilation ภาวะเลือดเป็นด่างจากการหายใจ เป็นภาวะทรี่ ่างกาย มรี ะบบหายใจทีผ่ ดิ ปกติทาให้มกี ารระบายอากาศเอาก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ออกมาเกินไป เลือดจึงมีฤทธ์ิเป็นดา่ ง สาเหตุ ท่ีเกิดจากปอด เชน่ ภาวะออกซเิ จนในเลอื ดต่า (Hypoxemia) ภาวะปอดบวม (Pneumonia) และสาเหตอุ น่ื ๆ เชน่ ภาวะ เลอื ดเปน็ ด่างจากเมตาบอลิซึม ภาวะไตวาย การต้ังครรภ์ (มีการหลงั่ โปรเจสเตอโรนเพิ่มขน้ึ และกระตนุ้ ศูนยห์ ายใจ) การ ติดเชอ้ื ในกระแสเลอื ด (Sepsis) 2.Complete Blood Count สิง่ ท่ีตรวจ ค่าปกติ ผลท่ไี ด้ การแปลผล เมด็ เลอื ดแดง ปกติ ปกติ RBC(103u/L) 3.9-6.3 4.54 ปกติ ปกติ HGB(g/dl) 13.5-19.5 16 ปกติ HCT(%) 42-66 47.7 ปกติ MCV(fl) 88-126 105.1 ปกติ MCH(pg) 28-40 35.2 ปกติ MCHC(%) 28-38 33.5 สูง RDW(%) 13.0-18.0 19.2 เมด็ เลอื ดขาว WBC(103 /µL) 5.0 - 21.0 14.5 NE% 19 - 49 55

LY% 26 - 36 39 สงู 5-7 7 ปกติ MO% 0-2 1 ปกติ EO% 0-1 1 ปกติ BA% เกร็ดเลือด 150-450 253 ปกติ PLT(103 /µL) - PLT Smear แปลผล : Neutrophil มคี า่ สูงกวา่ ปกติ คือเม็ดเลือดขาวชนิดทม่ี มี ากทสี่ ุดทาหน้าท่ีตา้ นเชอื้ โรคจบั กนิ เชือ้ โรค ระดับของ เม็ดเลือดขาวชนดิ Neutrophil ท่ีสูงขึน้ กว่าปกติไดจ้ ากหลายสาเหตุ เช่น รา่ งกายมกี ารอักเสบหรอื การตดิ เชื้อ ความเครียดรุนแรง มกี ารบาดเจ็บของเนื้อเยื่อในรา่ งกาย เปน็ ตน้ Lymphocyte มคี ่าสูงจะแสดงถงึ สญั ญาณของการตดิ เช้ือไวรัส 1.ผล DTX, Hct, MB วันท่ี DTX Hct MB การพยาบาล ค่าปกติ 50-150 mg% คา่ ปกติ 40-65% ค่าปกติตามอายุ - 7 ส.ค. 64 - 12.30 น. 93 48 11.1 - 9 ส.ค. 64 43 12.3 - 11.00 น. 11.1 9 ส.ค. 64 46 15.30 น. 10 ส.ค. 64 06.30 น.

Differential Diagnosis โรค พยาธิสภาพตามทฤษฎี ข้อมูลสนับสนุน ขอ้ มูลไม่สนบั สนนุ - Respiratory failure ภาวะหายใจลม้ เหลว (Respiratory failure) คือภาวะที่ระบบหายใจไมส่ ามารถทาหน้าที่ ในการแลกเปล่ยี น กา๊ ซออกซิเจน และขบั ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ได้เพียงพอตอ่ ความ ตอ้ งการของร่างกาย ทาใหเ้ กิดภาวะพร่อง ออกซเิ จน ในเลอื ด (hypoxemia) คอื มีค่า -ผล Blood gas วันที่ 7 ส.ค. PaO2 น้อยกว่า 60 มม.ปรอท และมีการคั่ง 2564 pH=7.36 PCO2=43 ของคาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือด PaO2=29.4 HCO3=24.2 (hypercarbia) คอื มีคา่ PaCO2 มากกวา่ BE= -0.5 50 มม.ปรอท ร่วมกบั พบค่า pH ในเลอื ด แดงนอ้ ยกวา่ 7.301 สาเหตุของภาวะหายใจลม้ เหลว 1.ความผดิ ปกติท่ีปอด ได้แก่ 1.1 Obstructive pulmonary -ขณะคลอดพบ moderate function เช่น ผู้ป่วยท่มี ี asthma อยา่ ง meconium stain รนุ แรง โรคปอดกัน้ เรื้อรัง สงิ่ แปลกปลอมอุด กัน้ หลอดลม 1.2 Restrictive pulmonary function เชน่ ปอดอกั เสบ น้าท่วมปอด ปอดแฟบ 1.3 ความผิดปกตขิ องหลอดเลือดท่ีไป เลยี้ งปอด เชน่ มี pulmonary embolism 2. ความปกตทิ ่ีชอ่ งอกและเยื่อหุม้ ปอด เช่น chest injury ได้รบั การผา่ ตัดช่องทรวงอก 3. ความผดิ ปกตทิ รี่ ะบบประสาทสว่ นกลาง เช่น ศนู ย์ควบคมุ การหายใจถูกกด สมอง ได้รับบาดเจบ็ สมองขาดเลอื ดไปเล้ียง สมอง อกั เสบ เปน็ ต้น 4.ความผิดปกติของระบบหวั ใจและหลอด เลือด เชน่ Shock, left side heart failure

โรค พยาธิสภาพตามทฤษฎี ขอ้ มูลสนบั สนุน ข้อมูลไมส่ นบั สนนุ อาการและอาการแสดง -หลงั คลอดหายใจมี retraction เม่อื มีภาวะหายใจล้มเหลว อาการและ จงึ ทา basic resuscitation ยังมี อาการแสดงท่ีพบจะเปน็ การปรับตวั ชดเชย retraction HR=190/min → ของอวัยวะตา่ งๆต่อภาวะ Hypoxemia คอื early CPAP PEEP 5 → poor 1.Respiratory system หายใจเรว็ หายใจ air entry → PEEP 7 ยังมี ลาบาก แตใ่ นระยะสุดท้ายจะมีอาการหายใจ poor air entry → start PPV เบาต้ืน ช้าลง จนกระทั่งหยดุ หายใจ และมี PIP 20 PEEP 7 ยงั มี poor air อาการเขยี ว entry อกไมย่ ก → MRSO 2.Cardiovascular system ชพี จรเต้นเรว็ suction ได้ Clear AF 1 สาย ความดนั โลหิตสูง อาจมีการเต้นของหัวใจผิด เพม่ิ PIP 25 → เพิ่ม PIP 30 จังหวะ ระยะทา้ ยมภี าวะ Hypotension 3.Central nervous system ระดับความ ยังมี poor air entry, chest ไม่ รู้สึกตวั เปลีย่ นไป ถ้ามีภาวะ Hypoxemia move, crepitation both lung รุนแรงมากขนึ้ ผปู้ ่วยจะซมึ ลงและไมร่ ูส้ กึ ตวั → On EET No.3 depth 8 และอาจเกดิ อาการชกั ได้ 4.Hematologic effect เม็ดเลอื ดแดง เพม่ิ ขึ้น (Polycythemia) เพ่ือเพิ่มออกซิเจน ในเลอื ด ซึ่งต่อมาเลือดจะหนืดมากขนึ้ 5.Acid-base balance เมื่อมีภาวะ Hypoxemia รุนแรงมากขน้ึ เลือดมภี าวะ เปน็ กรดมากข้ึน จะกระต้นุ การหายใจเร็วข้ึน เปน็ การชดเชย (compensate) ลดความ เป็นกรด การรักษา มีหลักการดงั นี้ 1. ให้เนื้อเยอื่ ได้รับออกซิเจนอยา่ งเพยี งพอ โดยมวี ิธี คือ ใหอ้ อกซิเจนเพอื่ แกไ้ ขภาวะ Hypoxemia การใช้เครื่องช่วยหายใจ เพอื่ ลด work of breathing ทาใหผ้ ู้ป่วยไมต่ ้อง ออกแรงหายใจมากเกินไป 2.การรักษาตามอาการ เช่น การใหส้ ารน้า และสารอาหารอย่างเพยี งพอ

โรค พยาธสิ ภาพตามทฤษฎี ข้อมูลสนบั สนนุ ข้อมูลไมส่ นบั สนนุ MAS การมีขีเ้ ทาในน้าครา่ เป็นภาวะทที่ ารกมีการ ขณะคลอดพบ moderate - ถ่ายอุจจาระออกมาขณะอยู่ในครรภมารดา meconium stain ซงึ่ โดยปกตทิ ารกกจ็ ะสร้างอจุ จาระเองได ขณะอยใู่ นครรภต้งั แต่ช่วงอายุครรภ -3 เดือน เรยี กวา่ ข้ีเทา ซึ่งมีลักษณะเป็น ของเหลวขน้ เหนียวสีเขยี วแก ไมมีกล่ิน ขี้ เทาทส่ี รา้ งออกมาจะอยู่ในลาไส้ใหญ่ โดย ทารกจะถา่ ยขเี้ ทาเม่ือความอ่ิมตวั ของ ออกซเิ จนในเลือดของ Umbilical vein ลดลง ผลของเลอื ดขาดออกซิเจนทาให้ หลอดเลือดในทางเดนิ อาหารบบี ตวั ลาไส บีบรูดเพ่ิมขึ้น (Hyperperistalsis) และ กลา้ มเนอื้ หรู ูดทวารหนักหย่อนตัว มีผลใหข้ ี้ เทาถกู ขับออกมา ซงึ กมุ ารแพทย์ส่วนใหญ่ เชอ่ื ว่า การมขี ้เี ทาปนในน้าคร่าแสดงถึงการ มี Fetal distress และมคี วามสัมพันธก์ ับ การเกิดโรคในปริกาเนิด ปจั จยั เส่ียงพบบอ่ ยในภาวะนี้ ปจั จัยดา้ นมารดา 1.มารดาอายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์ ส่งผลใหร้ กเส่ือม 2.มารดามภี าวะความดันโลหิตสูงขณะ ตั้งครรภ์ ส่งผลใหป้ ริมาณเลอื ดท่ผี า่ นรก มายังทารกนอ้ ยลง 3.มารดามภี าวะรกเกาะต่าหรือรกลอกตัว กอ่ นกาหนด อาจทาให้มเี ลือดออกทางช่อง คลอด เมื่อมีการเสยี เลอื ดมากทาใหป้ ริมาณ เลอื ดท่ผี ่านรกไปยงั ทารกน้อยลง 4.มารดามีภาวะนา้ คร่าน้อยกว่าปกติ ส่งผล ใหท้ ารกในครรภเ์ คลอื่ นไหวไมส่ ะดวก เกิด ภาวะสายสะดอื ถกู กดได้งา่ ย

โรค พยาธสิ ภาพตามทฤษฎี ข้อมูลสนับสนนุ ขอ้ มูลไมส่ นับสนุน 5.มารดามีภาวะถุงน้าคร่าอกั เสบหรอื การติด เช้ืออนื่ ๆ ถุงนา้ ครา่ ร่ัวก่อนคลอดนานกว่า 18 ชั่วโมง มปี ระวัติใช้สารเสพติด ส่งผลให้ เกิดการกระตุ้นการหดรกั ตัวของมดลูก ทา ใหท้ ารกในครรภ์ได้รบั ออกซิเจนนอ้ ยลง ปจั จัยดา้ นทารก 1. ทารกท่มี ีน้าหนักนอ้ ยเมือ่ เทียบกับอายุ -ประเมิน Fenton preterm ครรภ Small for gestational age) chart น้าหนักและส่วนสูงอยใู่ น 2. การคลอดท่าก้น เกณฑ์ต่ากวา่ เปอร์เซน็ ไทลท์ ี่ 3 ทารกในครรภ์มารดาเม่ือมีภาวะขาด Term symmetrical SGA ออกซเิ จน รา่ งกายของทารกจะมีการปรบั ตวั เพื่อหาแหลง่ ของออกซิเจนมาใช้ เมือ่ รับ ออกซเิ จนจากกสายสะดือไมไ่ ด้ ทารกจะมี ภาวะเครียด เป็นผลทาใหม้ ีการคลายตัวของ หูรดู ลาไสข้ องทารก สง่ ผลให้ทารกมีการถา่ ย ข้เี ทาปนในนา้ คร่ามารดา เมอ่ื ทารกคลอด และมกี ารสดู สาลักข้ีเทา ส่งผลใหท้ างเดิน หายใจของทารกเกดิ การอดุ ตันเน่ืองจากมขี ี้ เทามลี ักษณะเหนยี ว จงึ อาจอุดตนั ทางเดนิ หายใจหรือถุงลมปอด การอุกตันดงั กล่าว สง่ ผลให้อากาศไม่สามารถผ่านเขา้ ส่ถู ุงลม ปอด หรอื ระบายออกไม่ได้ เกิดอนั ตราย รนุ แรง คอื ภาวะถุงลมปอดแฟบหรือถุงลม โป่งพองบางส่วน ทารกจงึ มีอาการหายใจ เหน่อื ยหลงั คลอด หากมีการอุดตนั ทางเดนิ หายใจมากส่งผลให้ทารกเกิดภาวะขาด ออกซิเจน คาร์บอนได้ออกไซด์คงั่ ร่างกาย เกดิ ภาวะกรดจากการหายใจ เกิดภาวะ หายใจล้มเหลว นอกจากนี้อาจเกิดภาวะ หลอดเลือดในปอดหดตัวจนส่งผลต่อความ

โรค พยาธสิ ภาพตามทฤษฎี ข้อมูลสนบั สนุน ขอ้ มูลไมส่ นับสนนุ ดันในปอดสงู ระบบการไหลเวียนโลหติ ลม้ เหลวได้ อาการและอาการแสดง -หลงั คลอดหายใจมี retraction ทารกจะมอี าการหายใจหอบเหน่อื ย ปอดมี จงึ ทา basic resuscitation ยังมี เสียงผิดปกติ เสยี งคราง ปีกจมกู บาน หายใจ retraction HR=190/min → ลาบาก มกี ารใชก้ ลา้ มเนื้อช่วยการหายใจ ใน early CPAP PEEP 5 → poor รายที่มีภาวะขาดออกซเิ จนรนุ แรงอาจพบ air entry → PEEP 7 ยังมี ผิวหนงั เขียวคลา้ หายใจเฮอื ก อาจพบ ลกั ษณะทรวงอกโปง่ พองเน่ืองจากมกี ารคั่ง poor air entry → start PPV ค้างของอากาศในทรวงอก PIP 20 PEEP 7 ยงั มี poor air การวนิ ิจฉัย entry อกไม่ยก → MRSO 1.ทารกมีอาการหายใจเหน่อื ย มกี ารใช้ suction ได้ Clear AF 1 สาย กล้ามเนอ้ื ช่วยในการหายใจ ทรวงอกโปง่ เพ่มิ PIP 25 → เพิ่ม PIP 30 เนอ่ื งจากมลี มค่ังค้างในทรวงอก ไมส่ ามารถ ยังมี poor air entry, chest ไม่ ระบายออกได้จากการอดุ ก้ันทางเดินหายใจ move, crepitation both lung ฟงั เสียงปอดไม่ได้ยนิ เสียงอากาศผา่ น → On EET No.3 depth 8 เน่ืองจากมีการอดุ กัน้ ทางเดินหายใจ 2.ภาพถา่ ยรงั สที รวงอกพบความผิดปกติ -CXR พบ air tapping, ไดแ้ ก่ alveolar infiltration aeration 8 ICS hyperaeration atelectasis 3.ส่งตรวจวิเคราะห์กา๊ ซในเลือด อาจพบ ภาวะกรดในรา่ งกาย ค่า pH<7.25 PCO2>55 mmHg PO2<80 mmHg การรกั ษา 1.ใหท้ ารกได้รับออกซเิ จนอย่างเพียงพอต่อ ความตอ้ งการของร่างกายเพ่ือชว่ ยการ หายใจ โดยพจิ ารณาจากความรนุ แรงของ ภาวะพรอ่ งออกซิเจน 2.การรักษาทางยา การเลือกใช้ยาพิจารณา ตามอาการของทารก กลุ่มยาทใี่ ชบ้ อ่ ยคือ กลมุ่ opioid และกลมุ่ benzodiazepam

โรค พยาธสิ ภาพตามทฤษฎี ขอ้ มูลสนบั สนุน ขอ้ มูลไมส่ นับสนุน Respiratory ยาทัง้ 2 กลมุ่ นี้ใชใ้ นกรณีเพ่อื ให้ทารก Distress Syndrome พกั ผอ่ น ลดการใช้ออกซเิ จนในรา่ งกาย 3.การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทสี่ าคญั ได้แก่ ภาวะลมร่วั ในช่องเย่ือหุ้มปอดและ ภาวะความดนั ในปอดสงู โดยมีการติดตาม ผลภาพถ่ายรงั สีทรวงอกอย่างต่อเนอื่ ง กลมุ่ อาการหายใจลา้ บาก (Respiratory Distress Syndrome: RDS) คอื ภาวะ หายใจลาบากในทารกเกิดก่อนกาหนด เนื่องจากปอดขาดสารลดแรงตึงผิว (Surfactant) เมอื่ อายุครรภ์ 16 - 28 สัปดาห์ ถงุ ลมจะมกี ารเพม่ิ จานวนมากขน้ึ มี เสน้ เลือดฝอย (Capillaries) มาเลี้ยง บรเิ วณผนงั ของถงุ ลม ในช่วงนี้จะเรมิ่ มีการ สร้าง Alveolar cell type I และ Alveolar cell type II ซง่ึ Alveolar cell type II เป็นเซลล์ทมี่ ีหนา้ ทใ่ี นการสร้างสารลดแรงตึง ผิว (Surfactant) ดังน้ันในระยะน้ี จงึ มีการ สร้างสารลดแรงตึงผิวขึน้ การสร้างสารลด แรงตึงผวิ จะเสรจ็ สมบรู ณ์สามารถทาหนา้ ท่ี ไดเ้ ม่ืออายุครรภ์ 34 สปั ดาห์ อาการและอาการแสดงของภาวะ -หลังคลอดหายใจมี retraction RDS สามารถพบได้ทันทหี ลังเกิด และจะ จงึ ทา basic resuscitation ยงั มี แสดงอาการรนุ แรงทส่ี ุดในชว่ ง 48 - 72 retraction ชว่ั โมงหลังเกิด ซง่ึ ทารกจะมีอาการหายใจ เร็ว (อตั ราการหายใจ มากกว่า 60 คร้งั / นาท)ี ซงึ่ เปน็ อาการแรกทช่ี ัดเจนและพบได้ มากท่ีสดุ พบการดึงรง้ั ของชอ่ งระหว่าง ซี่โครง (Intercostal retraction) หรอื ใต้ ซโี่ ครง (Subcostal retraction) มีภาวะ หยดุ หายใจ (Apnea) อาการเขยี ว

โรค พยาธิสภาพตามทฤษฎี ขอ้ มูลสนับสนุน ขอ้ มูลไมส่ นับสนนุ TTNB (Cyanosis) หายใจออกมีเสียงดงั -CXR พบ air tapping, (Expiratory grunting) ปกี จมกู บาน (ทพิ ย์ -หลงั คลอดหายใจมี retraction aeration 8 ICS สดุ า เสง็ พานชิ และคณะ,2563) จึงทา basic resuscitation ยงั มี retraction -CXR พบ air tapping, การวินจิ ฉยั โรค RDS มักพบในทารกเกดิ aeration 8 ICS ก่อนกาหนดท่ีมีการหายใจล้มเหลวทม่ี ากขนึ้ เรื่อยๆ โดยแสดงจากการใช้กลา้ มเนือ้ ชว่ ย หายใจมากข้นึ เพ่มิ ความต้องการออกซเิ จน มากขึน้ ร่วมกบั ลักษณะเฉพาะของภาพถ่าย รังสีทรวงอกโดยในระยะแรกปอดจะมีลม นอ้ ย (Hypoaeration) เม่ือโรครุนแรงมาก ขน้ึ ปอดจะมีลมลมน้อยลงและมฝี ้าขาวมาก ขึ้นจนมลี กั ษณะคล้ายกระจกฝ้า (Ground glass appearance) และจะเหน็ ลกั ษณะ ของ Air bronchogram ชัดเจนขน้ึ (วารชิ า เจนจนิ ดามยั , 2561) ภาวะหายใจเร็วชัว่ คราวในทารกแรกเกิด มสี าเหตุมาจากการท่ีทารกไม่สามารถขบั นา้ ทอ่ี ยูภ่ ายในปอดออกมาได้หมดทาใหก้ าร หายใจในระยะแรกเกดิ ไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ขณะอย่ใู นครรภม์ ารดาทารกไม่มกี าร แลกเปลีย่ นกา๊ ซทป่ี อดเพราะปอดเตม็ ไปดว้ ย นา้ แตเ่ มอ่ื เข้าส่รู ะยะคลอดทารกจะมีการ เตรียมเพ่ือการหายใจครง้ั แรกผ่าน กระบวนการ ดดู ซมึ น้าในปอดกลับเข้าสู่ ระบบนา้ เหลอื งและระบบไหลเวียนเลือด โดยในระยะ2-3สัปดาห์ก่อนถึงกาหนดคลอด จะมกี ารหลงั่ สาร catecholamines เพิม่ ขึ้น โดยเฉพาะepinephrineและ isoproterenol ซง่ึ สารเหลา่ นน้ั มบี ทบาทใน การกระตุ้นใหม้ ีการดูดกลบั สารน้าในปอด ผ่านทางเย่ือบุผวิ ทางเดนิ หายใจ ทาให้ปอด

โรค พยาธิสภาพตามทฤษฎี ข้อมูลสนบั สนุน ข้อมูลไม่สนับสนนุ ของทารกมีพื้นท่ีในการแลกเปล่ียนก๊าซและ พรอ้ มสาหรบั การหายใจเม่ือแรกคลอด และ เม่อื เข้าสรู่ ะยะคลอดทารกเคลื่อนเข้าสทู่ าง คลอดของมารดา ทรวงอกของทารกจะถูก บีบ (vaginalsqueeze)ทาใหม้ ีการคายน้า ออกจากปอดเป็นการเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การหายใจคร้งั แรก เมื่อแรกคลอดทารกจะมี ภาวะออกซเิ จนในเลือดลดลงทาให้เลือดมี สภาพเปน็ กรดเลก็ น้อยซ่งึ เปน็ ตวั กระตนุ้ ให้ ทารกมีการหายใจคร้ังแรกเกิดขึน้ แตห่ าก กระบวนการขจัดน้าออกจากปอดของทารก ถูกรบกวน เช่น การคลอดก่อนกาหนดหรือ เกดิ การคลอดโดยท่ยี ังไม่มกี ระบวนการ คลอดเกิดขนึ้ ทาใหน้ ้าคงเหลืออยู่ในปอด ทารก ส่งผลทารกหายใจไม่มีประสทิ ธิภาพ เกิดภาวะหายใจเร็วชวั่ คราวในระยะแรกเกิด ได้ ปจั จยั เส่ียง 1.การผา่ ตดั คลอด (Cesarean section) การผา่ ตัดคลอดโดยทีย่ ังไมม่ ีอาการเจบ็ ครรภค์ ลอดเป็นการเพ่ิมความเสี่ยงตอ่ ทารก ทาให้ทารกมีภาวะหายใจเรว็ ช่ัวคราว เนอื่ งจากไม่มกี ารดดู กลับและคายน้าออก จากทางเดินหายใจในระยะคลอด 2.ภาวะเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ มผี ลยับย้ัง เอนไซม์ทจ่ี าเป็นในการสงั เคราะหส์ าร surfactant ของปอดทารก ทาใหท้ ารกแรก เกิดมภี าวะหายใจเรว็ และเกดิ ภาวะภาวะ หายใจลาบากไดม้ ากกวา่ ทารกทีม่ ารดาไม่มี ภาวะเบาหวานขณะตง้ั ครรภ์

โรค พยาธสิ ภาพตามทฤษฎี ข้อมูลสนบั สนนุ ขอ้ มูลไม่สนบั สนุน 3.โรคหอบหืดในมารดา (maternal asthma) สนั นิษฐานวา่ น่าจะเกิดจากการท่ี ระดบั catecholamine ทเ่ี พ่ิมขึ้นในระยะ คลอดกระตนุ้ การตอบสนองของreceptor ในทางเดนิหายใจทาให้เกดิ อาการหายใจเร็ว ในทารกแรกเกดิ และกระตุ้นใหเ้ กิดโรคหอบ หดื ตามมา (สรุ ีพร ศรโี พธอ์ิ ุ่น, 2562) Final Diagnosis Respiratory failure with MAS

Medical problem & Medical treatment Medical Problem List Management Treatment Respiratory failure -On ETT with ventilator (7-9 ส.ค.64) -Monitor O2sat keep O2sat ≥ 95% MAS -Blood gas -Suction clear airway Symmetric SGA -CXR พบ air tapping, aeration 8 ICS -On ETT with ventilator (7-9 ส.ค.64) -Monitor O2sat keep O2sat ≥ 95% -Blood gas -Suction clear airway -CXR พบ air tapping, aeration 8 ICS -work up TORCH infection วันที่ 9 ส.ค. 2564 -นดั US brain work up SGA วนั ท่ี 5 ต.ค. 2564 -สง่ screening chorioretinitis วนั ท่ี 9 ส.ค. 2564

Nursing diagnosis & Nursing intervention ปญั หาทางการพยาบาล/Nursing Nursing Intervention Evaluation Diagnosis และ ข้อมลู สนับสนนุ ขอ้ วินิจฉัยทางการพยาบาลท่ี 1 กจิ กรรมการพยาบาล การประเมินผล เสีย่ งตอ่ เนื้อเยื่อพร่องออกซเิ จน 1. ดแู ลใหไ้ ด้รบั ออกซิเจน ผา่ น ETT with 1.สัญญาณชพี อยูใ่ นเกณฑป์ กติ เน่ืองจากการระบายอากาศและการ ventilator PC/AC mode setting PIP 20 T อยู่ในชว่ ง 36.8 – 37.1 c แลกเปลี่ยนกา๊ ซไมส่ มบูรณ์ จากภาวะสูด PEEP 6 RR 50 Ti 0.35 FiO2 0.3 HR อยู่ในช่วง 114-156 /min สาลกั ข้ีเทาขณะคลอด 2.ดูแลใหเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจทางานอยา่ งมี RR อย่ใู นช่วง 50-52 /min ข้อมูลสนับสนุน ประสทิ ธิภาพ ได้แก่ O2sat อยู่ในช่วง 99-100 % -ขณะคลอดพบ moderate meconium 1.1 ดูแลท่อทางเดนิ หายใจไม่ให้เล่ือน หลุด 2. ผ้ปู ว่ ยไมม่ อี าการแสดงภาวะพร่อง stain หรอื One lung , อดุ ตัน หรือหักพับงอ ออกซเิ จน เช่น หายใจหอบเหนอื่ ย, -หายใจ subcostal retraction, early 1.2 ดูแลสายตอ่ เขา้ เคร่ืองช่วยหายใจไม่ใหม้ ี หายใจมี retraction, ปกี จมกู บาน CPAP แล้วยังมี retraction การดงึ รงั้ หรือ หลุด เป็นตน้ -CXR พบ air tapping, aeration 8 ICS 1.3 ดูแลให้ความช้นื โดยเตมิ นา้ กลนั่ และตงั้ และ Extubation วันที่ 9 ส.ค. 2564 -ผล Blood gas วันท่ี 7 ส.ค. 2564 Humidifier ท่ี 37 °C หลงั Extubation ไมม่ ีอาการหายใจ pH=7.36 PCO2=43 1.4 ดูแลตาแหน่ง ETT อยู่ทบี่ รเิ วณเหนอื เหน่อื ย O2sat อยูใ่ นช่วง 98-99% PaO2=29.4 HCO3=24.2 BE= -0.5 carina 1cm (ลึก 8 cms) ตามแผนการรักษา -มารดามโี รคประจาตัวเปน็ ภาวะไทรอยด์ต่า 1.5 ยืนยันตาแหนง่ ETT จาก CXR เปา้ หมายการพยาบาล 3. ดแู ลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอโดยsuction เพอ่ื ป้องกนั ภาวะเนื้อเย่ือพร่องออกซเิ จน ตามความเหมาะสมโดยใชเ้ ทคนคิ ปราศจากเช้ือ เกณฑ์การประเมนิ ผล ใน caseนี้ใช้ Close suction. 1.สัญญาณชพี อยูใ่ นเกณฑป์ กติ คือ 4.ประเมนิ อาการและอาการแสดงของภาวะพร่อง T = 36.8 – 37.2 c ออกซเิ จน เชน่ หายใจหอบเหน่ือย, หายใจมี HR = 100-160/min retraction, ปกี จมกู บาน เปน็ ต้น ถา้ พบอาการ RR = 40-60 /min ดังกลา่ วใหป้ ระเมิน รายงานแพทยเ์ พ่ือดาเนิน O2sat ≥ 95% แก้ไข และประเมินสญั ญาณชีพทกุ 1 ชั่วโมง 2.ผ้ปู ่วยไม่มีอาการแสดงภาวะพรอ่ ง โดยค่าสัญญาณชพี ปกติ คือ ออกซเิ จน เชน่ หายใจหอบเหนื่อย, หายใจมี T = 36.8 – 37.2 c retraction, ปีกจมกู บาน เป็นตน้ HR = 100-160/min RR = 40-60 /min O2sat ≥ 95%

ปัญหาทางการพยาบาล/Nursing Nursing Intervention Evaluation Diagnosis และ ข้อมูลสนบั สนุน 3.จดั ทา่ นอนทารกให้เหมาะสม โดยใชผ้ ้าหนนุ บริเวณใตไ้ หล่ เพ่ือให้ทางเดนิ หายใจตรง ไม่แหงน หรอื ก้มเกนิ ไป หรือจดั ทา่ นอนตะแคงศีรษะไป ด้านใดดา้ นหนง่ึ โดยปรบั ให้ที่นอนด้านศรี ษะสงู ประมาณ 30-40 องศา 4.จดั สิ่งแวดลอ้ มใหเ้ งียบสงบและรบกวนผู้ปว่ ยให้ นอ้ ยทส่ี ดุ พยายามจัดกิจกรรมการรกั ษาให้อยใู่ น เวลาเดยี วกัน เพอื่ ลดการใช้ออกซิเจนของ รา่ งกาย ขอ้ วนิ ิจฉัยทางการพยาบาลที่ 2 กจิ กรรมการพยาบาล การประเมนิ ผล เส่ียงต่อภาวะติดเช้ือในระบบทางเดนิ 1.ลา้ งมอื ก่อนและหลังสมั ผสั ทารกหรือหลงั ให้ 1.ผปู้ ว่ ยไมม่ ีอาการแสดงการติดเช้อื การพยาบาลทุกคร้ัง เพ่ือป้องกนั การตดิ เช้ือและ 2.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑป์ กติ หายใจ เน่ืองจากมีการสดู สาลักขเี้ ทาขณะ ลดการแพร่กระจายเชื้อโรค T อยู่ในชว่ ง 36.8 – 37.1 c คลอด 2.ปฏิบัติการพยาบาลโดยยึดหลกั ปลอดเชือ้ เพอ่ื HR อยู่ในช่วง 114-156 /min ข้อมูลสนับสนุน ป้องกันการตดิ เช้ือและลดการแพร่กระจายของ RR อยูใ่ นช่วง 50-52 /min -ขณะคลอดพบ moderate meconium เชอ้ื โรค O2sat อยู่ในช่วง 99-100 % stain 3.วัดสัญญาณชพี ผปู้ ว่ ยทุก 1 ชว่ั โมง เพอื่ สังเกต -CXR พบ air tapping, aeration 8 ICS อาการติดเชื้อที่แสดงความผดิ ปกตขิ องสญั ญาณ -ฟังเสยี งปอดได้ยินเสยี ง crepitation ท่ี ชพี เชน่ ลกั ษณะการหายใจท่ีผดิ ปกติ อัตราการ ปอดท้ังสองข้าง เต้นของหัวใจผดิ ปกติ ระดับออกซิเจนในเลือดที่ -ผล CBC พบ WBC 14500 cells, ลดตา่ ลง เปน็ ตน้ Neutrophils 55 %, Lymphocytes 39% 4.สงั เกตอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ เป้าหมายการพยาบาล ได้แก่ อณุ หภูมิกายไมค่ งที่,การเคลือ่ นไหวของ เพื่อป้องกนั ภาวะตดิ เช้อื ในระบบทางเดนิ ลาไสล้ ดลง, Apnea, CRT>3 sec หายใจ 5.ตดิ ตามและบันทึกผลการตรวจทาง เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ห้องปฏบิ ตั ิการ หากพบค่าผิดปกตใิ หร้ ายงาน 1.ไมม่ ีอาการแสดงการติดเชือ้ ได้แก่ แพทย์เพือ่ วางแผนการรักษาทถ่ี ูกต้องและ อณุ หภมู ิกายไม่คงที่,การเคลอื่ นไหวของ เหมาะสมต่อไป ลาไส้ลดลง, Apnea, CRT>3 sec

ปญั หาทางการพยาบาล/Nursing Nursing Intervention Evaluation Diagnosis และ ข้อมลู สนบั สนุน 2.สัญญาณชีพอยูใ่ นเกณฑ์ปกติ คือ 6.ดแู ลความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตวั ผ้ปู ว่ ย T=36.8-37.2 °c เพ่ือลดโอกาสตดิ เชอื้ จากสิ่งแวดลอ้ ม PR=110-160 /min RR=40-60 /min O2sat ≥95% ข้อวินจิ ฉัยทางการพยาบาลท่ี กิจกรรมการพยาบาล การประเมินผล บดิ ามารดามีความวติ กกงั วลเกยี่ วกับ ภาวะการเจ็บปว่ ยของบุตร 1. สรา้ งสัมพนั ธภาพกบั บดิ ามารดาด้วยท่าทางท่ี 1.บิดามารดารบั ทราบและเขา้ ใจ ขอ้ มูลสนับสนุน -มารดา G2P0Ab1L0 ยังไม่มีประสบการณ์ เปน็ มติ ร เป็นกนั เอง เพ่ือให้บรรยากาศไม่ตึง เกย่ี วกบั อาการของบุตร โดยมี การเลย้ี งลกู -มารดามีโรคประจาตวั คอื SLE และ เครียดเกินไป ทาใหบ้ ิดามารดากลา้ พดู คยุ กบั พยาบาลท่ตี ึกอธิบายเกย่ี วกบั อาการ Hypothyroid อาจจะทาให้มารดากังวล เกี่ยวกบั ผลกระทบของโรคที่อาจเกิดข้ึนกบั เจา้ หนา้ ที่ ของบตุ ร บุตร -บิดามารดาได้ติดต่อสอบถามอาการของ 2.เปิดโอกาสให้บดิ ามารดาซักถามปญั หาหรือข้อ 2.บดิ ามารดาให้ความร่วมมือในการ บุตร เป้าหมายการพยาบาล สงสัยตา่ งๆเก่ยี วกบั การเจ็บป่วยของบุตร มีส่วนร่วมในการดแู ลบุตร โดยได้บีบ เพ่อื ลดความวิตกกังวลของบิดามารดา 3.ใหข้ อ้ มลู เก่ยี วกบั การเจ็บปว่ ยของทารก ได้แก่ นา้ นมมาสง่ ทีต่ ึกสมา่ เสมอ และบบี เกณฑ์การประเมนิ ผล 1.บดิ ามารดารับทราบและเข้าใจเก่ยี วกับ โรคที่ทารกเป็น อาการแสดง การรกั ษา น้านมไว้ในตู้เยน็ ที่บ้าน อาการของบตุ ร 2.บดิ ามารดาใหค้ วามร่วมมือในการมีส่วน ความกา้ วหนา้ หรือการเปล่ียนแปลงของอาการ รว่ มในการดแู ลบุตร เชน่ การบบี นมมาสง่ ทารกให้ทราบอยา่ งสมา่ เสมอ 4.ใหก้ าลงั ใจ/ให้การดูแลประคับประคองด้าน จิตใจและอารมณ์ตามความเหมาะสม 5.ใหบ้ ิดามารดามสี ว่ นรว่ มในการดแู ลทารก โดย การสง่ เสริมให้มารดาหมนั่ บีบนมมาส่งใหท้ ารก เพือ่ ให้บิดามารดารสู้ ึกภูมใิ จและรู้สึกมีส่วนในการ ดแู ลบุตร ขอ้ วนิ ิจฉัยทางการพยาบาลท่ี 4 กจิ กรรมการพยาบาล การประเมนิ ผล ขาดการสง่ เสริมสัมพันธภาพระหวา่ งบดิ า 1.กระตุ้นมารดามาเยยี่ มบุตร ถงึ แม้ไม่ไดเ้ ขา้ เยีย่ ม มารดามาเย่ยี มบตุ รสมา่ เสมอแม้ไม่ได้ มารดาและทารก เนื่องจากทารกต้องรับการ บุตร เพ่อื ทาใหม้ ารดารสู้ กึ ได้อย่ใู กล้ชิดกับบตุ ร เข้าเย่ียมบตุ รและไดบ้ ีบนมมาส่งทต่ี ึก มากทสี่ ุด อย่างสม่าเสมอ

ปญั หาทางการพยาบาล/Nursing Nursing Intervention Evaluation Diagnosis และ ข้อมลู สนับสนนุ รักษาในโรงพยาบาลและถูกแยกให้นอนใน 2.กระตุ้นให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลทารก ตู้อบ (Incubator) โดยการส่งเสริมใหม้ ารดาหมน่ั บบี นมมาสง่ ให้ ขอ้ มูลสนับสนุน ทารก เพ่ือให้มารดารู้สึกภูมิใจและรู้สึกมีสว่ นใน -ทารกถูกแยกจากมารดา เพอ่ื รบั การ การดแู ลบุตร และทารกได้กลิ่นมารดาผ่านกลน่ิ รกั ษาในโรงพยาบาล นา้ นมแมท่ ี่ทารกไดร้ บั -เน่อื งจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาด 3. สรา้ งสมั พนั ธภาพกบั บิดามารดาด้วยทา่ ทางที่ ของ Covid-19 บิดามารดาจงึ ไม่สามารถมา เปน็ มติ ร เปน็ กันเอง เพื่อให้บรรยากาศไมต่ ึง เย่ียมบุตรและไม่ได้อุ้มบุตรตามปกติ เครยี ดเกินไป ทาใหบ้ ิดามารดากล้าพดู คุยกับ เป้าหมายการพยาบาล เจา้ หนา้ ที่ เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหวา่ งบิดา 4.เปดิ โอกาสใหบ้ ิดามารดาซักถามปัญหาหรือข้อ มารดาและทารก สงสยั ต่างๆเกี่ยวกับการเจบ็ ป่วยของบตุ ร เพื่อลด เกณฑ์การประเมินผล ความวติ กกงั วลของบดิ ามารดา -มารดาให้ความรว่ มมือในการมีส่วนร่วม 5.ใหก้ าลงั ใจ/ให้การดูแลประคับประคองด้าน ในการดแู ลบุตร เชน่ การบบี นมมาส่ง จิตใจและอารมณ์ตามความเหมาะสม

การวางแผนจ้าหน่ายตามรปู แบบ D-M-E-T-H-O-D หรือรูปแบบอืน่ ๆ การวางแผนจาหนา่ ยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D หรอื รูปแบบอื่นๆตั้งแตร่ บั ทารกไว้ในการดแู ล ควรคาดคะเน ถงึ การวางแผนจาหน่าย เม่อื ทารกสามารถกลบั บา้ นได้ เพื่อใหม้ ารดาและบิดานาทารกไปใหก้ ารดูแลต่อทบี่ ้าน คาแนะนา แก่บดิ ามาดาและผทู้ ่จี ะเปน็ คนดูแลทารกจงึ เป็นเร่ืองท่ีสาคัญมาก พยาบาลจึงต้องมีการวางแผนการจาหน่ายทารกต้งั แต่ แรกเริม่ โดยสอนมารดาเกีย่ วกบั เรอื่ งการใหน้ มมารดาแกท่ ารก การทาความสะอาดร่างกาย การสังเกตอาการผดิ ปกติ การ ใหค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจ เพ่ือป้องกนั การเกดิ ภาวะแทรกซ้อน หรือความเสยี่ งตา่ งๆเมื่อทารกกลับบ้าน การสงั เกตอาการ ผดิ ปกติตา่ งๆทจ่ี ะเปน็ อนั ตรายต่อทารก เชน่ ปัญหาเก่ยี วกับการหายใจ ปญั หาเก่ยี วกบั การตดิ เชอื้ และพัฒนาการ เป็นต้น ซง่ึ จะมีผลต่อการลดการกลบั เขา้ มารกั ษาตัวในโรงพยาบาลซา้ (Re-admit) ของทารกได้ซึ่งจะเป็นผลดีต่อทัง้ ทารก บิดา มารดา และผู้ดูแลทารกรวมถึงบุคลากรทางสาธารณสุขด้วย โดยกอ่ นจาหน่ายทารกกลับบา้ นนนั้ นอกจากการให้ความรู้ และคาแนะนาแล้ว ยังต้องฝึกทกั ษะการดูแลทารกใหแ้ กบ่ ิดามารดา และผ้ทู ี่จะดแู ลทารก โดยยดึ หลกั D-M-E-T-H-O-D ดังน้ี D - METHOD Objective Intervention D (Disease) เพอ่ื ใหบ้ ดิ า มารดา และผดู้ แู ล มี เปดิ โอกาสใหซ้ ักถามหากมีข้อสงสยั กบั แพทย์เจ้าของไข้และ M (Medication) ความรเู้ ก่ียวกับพยาธิสภาพโรคที่ทารก ทมี พยาบาลเพ่ือให้ข้อมลู เก่ียวกับพยาธิสภาพของโรคที่ เป็น ทารกเป็นอยใู่ นปัจจุบนั และการรักษาที่คาดว่าจะทาใน E (Environment and อนาคต Economic) เพื่อใหบ้ ิดา มารดา และผดู้ ูแลมคี วามรู้ 1.Vitamin K1 เปน็ วติ ามินทฉ่ี ดี ให้ทารกแรกเกดิ ทกุ ราย เกย่ี วกบั ยาท่ีทารกได้รบั ในปจั จุบัน เพ่ือป้องกันภาวะเลือดออกในรา่ งกาย และยาทที่ ารกอาจได้รบั เมือ่ กลบั บา้ น 2.Hep B เป็นวคั ซีนสาหรบั ป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี ฉดี เพอื่ ใหบ้ ดิ า มารดา เขา้ ใจและรบั ทราบ ให้ทารกแรกเกดิ ทกุ รายและต้องฉดี ให้ครบ 3 เขม็ ( แรกเกิด ถึงสรรพคุณของยาตา่ งๆท่ีทารกไดร้ ับ , 2 เดือน และ 6 เดอื น ) 3.B.C.G เปน็ วัคซีนสาหรบั ฉดี ป้องกนั วณั โรคปอด ฉดี ให้ ทารกแรกเกดิ ทกุ ราย เพอ่ื ใหบ้ ิดา มารดา และผดู้ แู ล -แนะนาควรจดั บ้านและบรเิ วณรอบๆให้มอี ากาศถ่ายเทได้ มคี วามรู้เกยี่ วกับการจดั สง่ิ แวดลอ้ มท่ี สะดวก เมอื่ ทารกกลับไปอยูบ่ ้าน เป็นต้น บา้ นให้เหมาะสมกบั ภาวะสุขภาพของ -ให้ขอ้ มลู หากมีข้อสงสยั เกี่ยวกบั การขอคาแนะนาเกี่ยวกบั ทารก การจัดส่งิ แวดล้อมจากเจา้ หน้าท่ที ่ีสถานบริการสาธารณสขุ ใกลบ้ า้ น

D - METHOD Objective Intervention T (Treatment) เพ่อื ให้บิดา มารดา และผดู้ ูแลรู้ปญั หา -ให้ความรู้เกยี่ วกับการสงั เกตอาการผิดปกติตา่ งๆ เช่น H (Heath) ในการรกั ษาและทกั ษะที่จาเป็นในการ อาการหยุดหายใจดูดนมแลว้ เขียว อาการมีไข้ ปฏิบตั ิตามการรักษาและสามารถ วา่ ต้องสงั เกตอย่างไร และมีการดแู ลเบ้อื งต้นอยา่ งไรก่อนท่ี O (Outpatient สงั เกตและเฝ้าระวงั อาการได้ จะนาทารกมาโรงพยาบาล เปน็ ตน้ Referral) -แนะนาและสาธติ หลงั การดดู นม ควรจบั ใหเ้ รอ นานประมาณ 5-10 นาทีหรือจดั นอนตะแคงซ้ายศรี ษะสูง D (Diet) เพือ่ ให้นมไหลลงกระเพาะได้เรว็ ขนึ้ ปอ้ งกนั การสารอกนม -หากเกิดการสารอก แนะนาการดูดเสมหะโดยลูกสบู ยาง แดง เพื่อให้บิดามารดาและผู้ดแู ลสามารถดูดเสมหะได้อย่าง ถกู วธิ ี เพ่อื ใหบ้ ดิ า มารดา และผดู้ ูแลมีความรู้ -แนะนาการอาบน้าด้วยน้าอุน่ วันละครง้ั เลอื กสถานท่ีอาบ ความเข้าใจภาวะสุขภาพของทารกว่ามี ตรงบริเวณทไี่ มม่ ลี มพดั และอาบดว้ ยความรวดเรว็ เพ่อื ขอ้ จากดั และต้องป้องกนั ปอ้ งกนั การสูญเสียความร้อนในร่างกายทารก ภาวะแทรกซ้อนอะไรบา้ ง -แนะนาการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพทารก โดยการดแู ลการ เจริญเติบโตตามวยั และส่งเสริมพัฒนาการใหเ้ หมาะสมตาม วัยโดยยดึ ตามหลกั คูม่ ือสมุดบันทึกสุขภาพสชี มพู เพือ่ ให้บดิ า มารดา และผดู้ แู ลมีความรู้ -แนะนาบดิ า มารดา ให้พาทารกมารบั วคั ซีนตามเกณฑ์และ ความเขา้ ใจ ความสาคญั ของการมา ตรวจพฒั นาการที่คลนิ ิกกระตุ้นพัฒนาการ ตรวจตามนัดท้งั เวลาและสถานท่ี -ติดตามผลการมาตรวจรา่ งกายตามนดั และติดตามการ เล้ียงลูกดว้ ยนมแม่เป็นระยะ พร้อมท้งั ให้คาแนะนาวา่ หาก พบอาการผิดปกติของทารกก่อนวนั นัด เช่น หายใจเหนือ่ ย หอบขึน้ ไขส้ ูง ซึมไม่ดดู นม ให้พาทารกมาพบแพทยก์ ่อนนัด ได้ เพ่อื ใหบ้ ดิ า มารดา และผดู้ ูแลมคี วามรู้ -แนะนาการเล้ียงลูกดว้ ยนมแมใ่ หน้ านทีส่ ุด อย่างน้อย 6 ความเขา้ ใจและเหน็ ความสาคัญในการ เดอื น และแนะนามารดาเก่ียวกับอาหารทช่ี ว่ ยกระตุน้ การ เลือกรับประทานอาหารให้ถูกต้อง ไหลของน้านม และอาหารท่คี วรหลีกเลย่ี ง เช่น แอลกอฮอล์ กาแฟ อาหารรสจัด อาหารหมักดอง

D - METHOD Objective Intervention -แนะนาการเริ่มอาหารเสรมิ ใหแ้ ก่ทารก โดยควร เร่มิ ตอนอายุ 6 เดือน เปน็ อาหารออ่ น ย่อยงา่ ย โดยดขู ้อมูล อาหารเสริมตามวัยจากสมดุ บันทึกสุขภาพเล่มสีชมพู

บรรณานุกรม ( ไม่เกิน 10 ปี APA7 ) เกรียงศักด์ิ จรี ะแพทย์, ศาสตราจารย์ ดร.วณี า จรี ะแพทย.์ (2551). การประเมนิ ภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด. (พมิ พ์คร้ังท่ี2). กรุงเทพฯ: ด่านพุทธาการพมิ พ.์ เกวลนิ ชูประดษิ ฐ์. /2559. //การพยาบาลทารกแรกเกิดทีม่ ีภาวะสูดสาลักข้ีเทา. สืบค้นจาก http://www.msdbangkok.go.th/dowload%20file/Personal/Succeed/280162/8.pdf สันติ ปุณณะหิตานนท์, โสภาพรรณ เงินฉ่า, อญั ชลี ลม้ิ รังสิกลุ . (2561).Highlights in Neonatal Problems. (พมิ พ์ครั้งที่1). กรงุ เทพฯ: ชมรมเวชศาสตรท์ ารกแหง่ ประเทศไทย. สนั ติ ปณุ ณะหิตานนท์. (2563). Smart Practice in Neonatal Care. (พิมพ์ครั้งท่ี1). กรุงเทพฯ: ชมรมเวช ศาสตร์ทารกแห่งประเทศไทย. อราภรณ์ วงษ์ชูเกียรติ.//2560.//ปัจจัยการเกดิ ความดันเลือดปอดสูงในมารกแรกเกดิ ท่สี ูดสาลักขีเ้ ทาในสถาบันสขุ ภาพ เดก็ แห่งชาติมหาราชนิ ี. สบื ค้นจาก http://library.childrenhospital.go.th/elib/multim/km/1078.pdf

บรรณานกุ รม ( ไมเ่ กนิ 10 ปี APA7 ) เกรยี งศักดิ์ จรี ะแพทย์, ศาสตราจารย์ ดร.วีณา จรี ะแพทย์. (2551). การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด. (พิมพ์ครง้ั ท่ี2). กรุงเทพฯ: ดา่ นพทุ ธาการพมิ พ.์ วิทยา ถิฐาพันธ์ และคณะ./2561.//สาเหตุและการปอ้ งกนั ภาวะเจริญเตบิ โตช้าในครรภ์. สบื คน้ จาก https://he02.tci- thaijo.org/index.php/simedbull/article/download/241872/165263/ สุภาวดี พลภักดี.//2560.//การพยาบาลทารกแรกเกดิ ท่ีมภี าวะหายใจเรว็ ชวั่ คราว. สบื คน้ จาก http://www.msdbangkok.go.th/dowload%20file/Personal/Succeed/281261/38.pdf สุรีพร ศรโี พธ์อิ ่นุ ./2562.//ภาวะหายใจเร็วชว่ั คราวในทารกแรกเกดิ : บทบาทพยาบาลห้องคลอด. สืบคน้ จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/download/187172/132446/ สนั ติ ปณุ ณะหติ านนท์, โสภาพรรณ เงนิ ฉ่า, อญั ชลี ลม้ิ รงั สกิ ุล. (2561).Highlights in Neonatal Problems. (พิมพ์คร้งั ท่ี1). กรุงเทพฯ: ชมรมเวชศาสตร์ทารกแห่งประเทศไทย. สันติ ปุณณะหติ านนท์. (2563). Smart Practice in Neonatal Care. (พมิ พ์คร้ังที่1). กรงุ เทพฯ: ชมรมเวช ศาสตร์ทารกแห่งประเทศไทย.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook