หนว่ ยที่ 1 พฤติกรรมผู้บรโิ ภค หมายถงึ อะไร พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง กระบวนการ หรือพฤติกรรมใน การตัดสินใจซื้อ ใช้ และประเมินผลการใช้สินค้าหรือบริการของผู้ซ้ือ ท้ังที่เป็นปัจเจกบุคคลและ กลุ่มบุคคล อันจะมีความสาคัญต่อการซื้อสินค้าและบริการท้ังในปัจจุบันและอนาคต การศึกษา เกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค เป็นการศึกษาลักษณะเฉพาะของผู้บริโภค เพ่ือพยายามทาความเข้า ใจความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย และประเมินส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและ กระบวนการการซอ้ื สินคา้ และบริการ ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ พฤตกิ รรมการซื้อของผ้บู ริโภคในปจั จบุ ัน ทาไมปจั จยั ท่มี ีผลต่อพฤตกิ รรมการซือ้ จงึ สาคญั ? 1. พฤตกิ รรมการบรโิ ภคเกิดขึ้นได้ ต้องมีสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กดิ กระบวนการดงั กลา่ ว 2. สิ่งจูงใจหรอื แรงกระตนุ้ มอี ธิ ทพิ ลต่อพฤติกรรมมนษุ ย์ 3. พฤตกิ รรมท่เี กดิ ขน้ึ ยอ่ มมงุ่ ไปสู่การทาใหเ้ กิดเปา้ หมาย ด้วยเหตุผลทั้ง 3 ข้อนี้ ทาให้หน่ึงในหลักการทาความเข้าใจและศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค คือ การศกึ ษาเกยี่ วกบั ปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อและบรโิ ภคสินค้า หรอื บรกิ ารนน่ั เอง แล้วจะมีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการกระตุ้นการซ้ือ-ไม่ซื้อสินค้าหรือบริการในยุคที่โลกหมุนไป อย่างรวดเรว็ แบบน้ี ไปดกู นั เลย้ 1. ปจั จยั ด้านวฒั นธรรม นับเป็นปัจจัยขั้นพ้ืนฐานที่มีผลกระทบต่อกระบวนการการซ้ือ หรือพฤติกรรมการบริโภคของ ผู้ใช้บริการ โดยปจั จยั ดา้ นวฒั นธรรม ยงั รวมถึง ความเช่อื ความรู้ การศกึ ษา เป็นตน้ ความเช่อื และความรใู้ นปัจจุบัน ทีถ่ อื เปน็ ปจั จยั ทก่ี ระทบต่อกระบวนการการบริโภค เช่น ความเชื่อ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติ หรือความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตจากวัสดยุ ่อยสลายได้ เพื่อลดขยะ เปน็ ตน้ นอกจากนีย้ ังรวมถึงตาแหน่งทางสังคม อันสามารถ แบ่งออกเปน็ 6 ชนชน้ั ไดแ้ ก่ 1. กลุ่ม Upper-Upper Class หมายถึง กลุ่มคนท่ีเป็นผู้มีชื่อเสียงเก่าแก่เกิดมาในครอบครัวที่มี ความร่ารวยหรือเกดิ มาบนกองเงินกองทองนัน่ เอง 2. กลุ่ม Lower-Upper Class หมายถึง ชนชั้นคนรวยหน้าใหม่ มักอยู่ในตาแหน่งสูงสุดของ วงการบรหิ าร มีรายได้สูงสุดในจานวนช้ันทง้ั หมด จัดอยู่ในระดับมหาเศรษฐี
3. กล่มุ Upper-Middle Class หมายถงึ กลุม่ ชนช้ันท่ีประสบความสาเร็จในชีวิต มักจบการศึกษา ในระดับสงู เรยี กกนั วา่ เป็นตาเป็นสมองของสงั คม 4. กลุ่ม Lower-Middle Class หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ในระดับค่าเฉล่ีย ไม่ใช่ฝ่ายบริหาร เป็น เจ้าของธรุ กิจขนาดเล็ก หรอื พนกั งานบริษัทท่วั ไป 5. กลุ่ม Upper-Lower Class หมายถงึ กลมุ่ ชนช้นั ทางาน นับเป็นชนชน้ั ท่ใี หญท่ ีส่ ดุ ในสังคม 6. กลุ่ม Lower-Lower Class หมายถึง กลุ่มชนช้ันแรงงาน ผู้ที่ทางานใช้แรงงานที่ไม่ต้องใช้ความ เชย่ี วชาญ เปน็ ตน้ 2. ปจั จัยทางสงั คม ปัจจัยทางสังคมประกอบด้วยกลุ่มอ้างอิงอย่าง ครอบครัว บทบาท และสถานะของผู้ซ้ือ ปัจจุบัน โลกยุค 4.0 ทาให้เราเห็นผลกระทบจากปัจจัยด้านสังคมอย่างชัดเจนในการตัดสินใจซ้ือ หรือ บริโภค เนื่องจากข่าวสาร รวมถึงการแสดงบทบาทและสถานะทางสังคม ถูกตอกย้า และรับรู้ได้ งา่ ยผา่ นโลกออนไลน์ การบริโภคสินค้าและบริการกลายเป็นส่วนหน่ึงของการสร้างสถานะทางสังคมให้กับผู้บริโภค ต่อ สังคมภายนอกได้ ยกตัวอย่างเช่น การบริโภคสินค้าราคาแพง สามารถสร้างความรับรู้ถึงสถานะ ทางสงั คมระดบั สงู ให้แก่ผ้บู ริโภคได้ เป็นตน้ 3. ปัจจัยสว่ นบุคคล ปัจจัยข้อนี้ หมายถึง ผลของการตัดสินใจซ้ือสินค้าและบริการ มาจากเหตุผล หรือคุณสมบัติส่วน บคุ คล ยกตวั อย่างเช่น อายุ อาชพี ความชอบ สภาวการณท์ างเศรษฐกิจ ไลฟ์สไตล์ เป็นต้น 4. ปจั จัยด้านจิตวทิ ยา คือ อิทธิพลจากปจั จัยทางด้านจิตวิทยา ท่ีมีผลต่อตัวผู้บริโภคอันเป็นเหตุให้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม การเลือกซ้ือและใช้สินค้าและบริการ ยกตัวอย่างเช่น Promotion ทางการตลาด การจูงใจด้วย คาพูดท่ีดึงดูด การสร้างความรับรู้ของผู้ขาย ความเชื่อ บุคลิกภาพและแนวความคิด ของผู้บริโภค เปน็ ต้น
การสร้างความเข้าใจใน พฤติกรรมผู้บริโภค ถือเป็นส่ิงที่ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะคนที่ต้องทา การตลาดเองดว้ ย ควรทาความเข้าใจและศึกษา เพื่อประสิทธภิ าพในการวางแผนกลยุทธ์ต่าง ๆ ใน การดาเนินธรุ กจิ ย่ิงปัจจุบันในโลกออนไลน์ มีการเก็บข้อมูลและสร้างสถิติท่ีน่าสนใจเก่ียวกับความต้องการของ ผู้บริโภคให้ เรียกว่าสะดวกขึ้นมากเลยทีเดียว การตีโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยา นอกจากจะช่วยเพ่ิมยอดขายให้กับกิจการได้แล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายด้าน การตลาดไปได้อย่างมาก เพราะสามารถส่ือสารไปถงึ ลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งตรงจดุ นั่นเอง ครูธนพิชญ์ นิม่ มา ผสู้ อน
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: