Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.รายงานการสอน-online 1-11

1.รายงานการสอน-online 1-11

Description: 1.รายงานการสอน-online 1-11

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนอา่ วลกึ ประชาสรรค์ อำเภออา่ วลกึ จังหวัดกระบ่ี 81110 ที่ วนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน 2564 เรื่อง รายงานผลการปฏิบัติงานการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ระหว่างวนั ท่ี 1 – 11 มิถนุ ายน 2564 เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นอา่ วลกึ ประชาสรรค์ ด้วยนายณัฏฐ พิมพ์บุญมา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย นางสาวสุรีย์วัลย์ ชูรักษ์ ตำแหน่ง ครู และ นายธนพล เอกศรีวิชัย ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอน โรงเรยี นอ่าวลึกประชาสรรค์ ไดร้ บั มอบหมาย ให้ปฏิบตั ิหน้าที่สอนในรายวชิ า พ23103 พลศกึ ษา ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และรายวชิ า พ33101 สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา โดยโรงเรยี นไดก้ ำหนดรูปแบบการ จัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID-19) แบบออนไลน์ ใน ระหว่างวนั ที่ 1 – 11 มถิ ุนายน 2564 นนั้ บัดนี้ การปฏิบัตงิ านการจัดการเรียนการสอนฯ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วเสร็จสิน้ แล้ว ข้าพเจ้าจึง ขอรายงานผลการปฏิบตั งิ าน ดังเอกสารแนบทา้ ย จึงเรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา ลงช่ือ............................................... (นายณัฏฐ พมิ พ์บญุ มา) ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย ความเหน็ หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้.................................................................................................................. .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................... (นายณัฏฐ พิมพ์บญุ มา) หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ความเหน็ รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ............................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................... (นางสราญจติ เงาะเศษ) รองผู้อำนวยการกลุม่ บริหารงานวิชาการ ความเห็นผู้อำนวยการโรงเรยี น............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ลงชื่อ............................................... (นายสัจจะ เอยี ดศรีชาย) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอา่ วลกึ ประชาสรรค์

แบบบนั ทกึ วธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน (แบบออ ครูผ้สู อน นายณัฏฐ พิมพบ์ ุญมา, นางสาวสรุ ยี ์วัลย์ ชูรกั ษ์ และนายธนพล เอกศร วนั /เดือน/ปี รหสั วชิ า คาบ รูปแบบการจัดการเรยี น เน้อื หาทสี่ อ 1 ม.ิ ย. 64 ที่ การสอนแบบออนไลน์ 1 ม.ิ ย. 64 - ปฐมนิเทศ 1 มิ.ย. 64 พ23103 1 - line - สอนเรื่องประวตั 2 มิ.ย. 64 - สง่ั ใบงานเรือ่ งปร 2 ม.ิ ย. 64 พ23103 2 - line - ปฐมนิเทศ 3 ม.ิ ย. 64 - สอนเร่ืองประวตั พ23103 3 - line - สง่ั ใบงานเรือ่ งปร - ปฐมนเิ ทศ พ33101 4 - Facebook - สอนเร่อื งประวตั - Google classroom - สง่ั ใบงานเรอ่ื งปร ปฐมนิเทศ ชแ้ี จงก พ33101 8 - Facebook รูปแบบการสอนอ - Google classroom Classroom. ปฐมนเิ ทศ ช้แี จงก พ23103 2 - line รปู แบบการสอนอ Classroom. - ปฐมนเิ ทศ - สอนเรื่องประวตั - ส่ังใบงานเรอ่ื งปร

อนไลน)์ ระหว่างวนั ท่ี 1 – 11 มิถนุ ายน 2564 รีวิชัย กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา โรงเรียนอา่ วลึกประชาสรรค์ อน/งาน/แบบฝกึ หัด ระดบั ช้ัน จำนวนนกั เรยี น ม.3/9 ทั้งหมด เขา้ เรียน ไม่เขา้ เรยี น ติกฬี าบาสเกตบอล ม.3/1 ระวตั กิ ีฬาบาสเกตบอล ม.3/3 45 41 4 ม.6/5 ติกีฬาบาสเกตบอล ม.6/6 42 35 7 ระวัติกีฬาบาสเกตบอล ม.3/2 44 39 5 ติกีฬาบาสเกตบอล ระวัตกิ ีฬาบาสเกตบอล 45 44 1 การเรยี นการสอนใน ออนไลน์ ใน Google 39 28 11 การเรียนการสอนใน 44 37 7 ออนไลน์ ใน Google ติกีฬาบาสเกตบอล ระวตั กิ ีฬาบาสเกตบอล

วนั /เดือน/ปี รหัสวชิ า คาบ รปู แบบการจดั การเรียน เน้ือหาที่สอ 3 มิ.ย. 64 ที่ การสอนแบบออนไลน์ 3 ม.ิ ย. 64 - ปฐมนิเทศ 3 มิ.ย. 64 พ23103 3 - line - สอนเรอ่ื งประวตั 4 มิ.ย. 64 - สงั่ ใบงานเรอื่ งปร 4 มิ.ย. 64 พ23103 5 - line - ปฐมนิเทศ 4 ม.ิ ย. 64 - สอนเรอื่ งประวัต 4 ม.ิ ย. 64 พ23103 6 - line - สง่ั ใบงานเรื่องปร - ปฐมนิเทศ พ23103 1 - line - สอนเรื่องประวตั - ส่ังใบงานเรื่องปร พ23103 5 - line - ปฐมนเิ ทศ - สอนเร่อื งประวัต พ33101 7 - Facebook - สง่ั ใบงานเรื่องปร - Google classroom - ปฐมนเิ ทศ - สอนเรอ่ื งประวตั พ33101 8 - Facebook - สั่งใบงานเรือ่ งปร - Google classroom - ปฐมนิเทศ - ชแ้ี จงการเรยี นก สอนออนไลน์ ใน G - ปฐมนเิ ทศ - ช้ีแจงการเรยี นก สอนออนไลน์ ใน G

อน/งาน/แบบฝกึ หัด ระดบั ชั้น จำนวนนกั เรยี น ม.3/4 ท้งั หมด เขา้ เรียน ไมเ่ ขา้ เรียน ติกีฬาบาสเกตบอล ม.3/5 ระวตั ิกีฬาบาสเกตบอล ม.3/6 44 40 4 ม.3/8 ติกีฬาบาสเกตบอล ม.3/7 43 42 1 ระวัติกีฬาบาสเกตบอล ม.6/2 ม.6/1 44 41 3 ติกีฬาบาสเกตบอล ระวตั ิกีฬาบาสเกตบอล 44 22 2 ติกีฬาบาสเกตบอล 44 42 2 ระวตั กิ ีฬาบาสเกตบอล 37 35 2 ติกฬี าบาสเกตบอล ระวัตกิ ีฬาบาสเกตบอล 40 39 1 การสอนในรูปแบบการ Google Classroom การสอนในรูปแบบการ Google Classroom

วัน/เดือน/ปี รหสั วชิ า คาบ รปู แบบการจัดการเรียน เนื้อหาทส่ี อ 7 มิ.ย. 64 ท่ี การสอนแบบออนไลน์ - ปฐมนเิ ทศ 7 ม.ิ ย. 64 พ23103 2 - line - สอนเรื่องประวตั - สัง่ ใบงานเรอื่ งปร 7 ม.ิ ย. 64 พ33101 3 - Facebook - ปฐมนเิ ทศ - Google classroom - ช้ีแจงการเรียนก 7 มิ.ย. 64 สอนออนไลน์ ใน G พ33101 4 - Facebook - ปฐมนิเทศ 8 มิ.ย. 64 - Google classroom - ชี้แจงการเรยี นก 8 ม.ิ ย. 64 สอนออนไลน์ ใน G 8 มิ.ย. 64 พ23103 7 - line - ปฐมนเิ ทศ 9 ม.ิ ย. 64 - สอนเรื่องประวตั พ23103 1 - line - สั่งใบงานเรอื่ งปร พ23103 2 - line สอนตามใบความร พ23103 3 - line สอนตามใบความร พ33101 4 - Facebook สอนตามใบความร - ทดสอบก่อนเรีย - Google classroom - ให้นักเรียนอา่ นห เร่ืองระบบประสา Mind map พร้อม มี 4 ช้อย ก ข ค ง มาคนละ 1 ขอ้

อน/งาน/แบบฝกึ หัด ระดับชน้ั จำนวนนกั เรียน ม.3/11 ทัง้ หมด เขา้ เรยี น ไม่เข้าเรียน ติกีฬาบาสเกตบอล ระวัตกิ ีฬาบาสเกตบอล ม.6/3 34 33 1 การสอนในรูปแบบการ ม.6/4 45 44 1 Google Classroom ม.3/10 40 37 3 การสอนในรูปแบบการ Google Classroom ม.3/9 45 43 2 ม.3/1 ติกฬี าบาสเกตบอล ม.3/3 45 43 2 ระวตั ิกีฬาบาสเกตบอล ม.6/5 42 35 7 รกู้ ีฬาบาสเกตบอล 44 39 5 รู้กีฬาบาสเกตบอล 45 40 5 รู้กีฬาบาสเกตบอล ยน หนังสือ ในหนา้ ท่ี 4 - 7 าท แลว้ ให้สรุปมาเป็น มออกข้อสอบ(ข้อสอบ ให้ ง ) เร่ือง..ระบบประสาท

วัน/เดือน/ปี รหัสวิชา คาบ รูปแบบการจัดการเรียน เนื้อหาท่สี อ 9 มิ.ย. 64 ท่ี การสอนแบบออนไลน์ - ทดสอบก่อนเรยี น 10 มิ.ย. 64 พ33101 8 - Facebook - ให้นักเรยี นอา่ นหน 10 มิ.ย. 64 ระบบประสาท แลว้ 10 ม.ิ ย. 64 - Google classroom พร้อมออกข้อสอบ(ข 10 ม.ิ ย. 64 ง ) เรอ่ื ง..ระบบประ 11 มิ.ย. 64 พ23103 2 - line สอนตามใบความรกู้ 11 ม.ิ ย. 64 พ23103 3 - line สอนตามใบความรกู้ 11 มิ.ย. 64 พ23103 5 - line สอนตามใบความรกู้ พ23103 6 - line สอนตามใบความรกู้ 11 มิ.ย. 64 พ23103 1 - line สอนตามใบความรูก้ พ23103 5 - line สอนตามใบความรู้ก พ33101 7 - Facebook - ทดสอบก่อนเรียน - ให้นักเรยี นอา่ นหน - Google classroom ระบบประสาท แลว้ พร้อมออกขอ้ สอบ(ข พ33101 8 - Facebook ง ) เรอ่ื ง..ระบบประ - Google classroom - ทดสอบก่อนเรียน - ใหน้ กั เรยี นอ่านหน ระบบประสาท แลว้ พร้อมออกขอ้ สอบ(ข ง ) เร่ือง..ระบบประ

อน/งาน/แบบฝึกหัด ระดบั ช้นั จำนวนนกั เรยี น ม.6/6 ท้ังหมด เข้าเรยี น ไมเ่ ขา้ เรยี น นังสือ ในหนา้ ที่ 4 - 7 เร่อื ง วใหส้ รปุ มาเปน็ Mind map ม.3/2 39 27 12 ข้อสอบ ให้มี 4 ชอ้ ย ก ข ค ม.3/4 ะสาทมาคนละ 1 ข้อ ม.3/5 44 35 9 กีฬาบาสเกตบอล ม.3/6 44 39 5 กีฬาบาสเกตบอล ม.3/8 43 40 3 กีฬาบาสเกตบอล ม.3/7 44 42 2 กีฬาบาสเกตบอล ม.6/2 44 43 1 กีฬาบาสเกตบอล 44 42 2 กีฬาบาสเกตบอล ม.6/1 37 34 3 นงั สือ ในหน้าท่ี 4 - 7 เรื่อง 40 35 5 วให้สรุปมาเป็น Mind map ข้อสอบ ให้มี 4 ช้อย ก ข ค ะสาทมาคนละ 1 ขอ้ นังสือ ในหน้าท่ี 4 - 7 เรอื่ ง วใหส้ รุปมาเปน็ Mind map ข้อสอบ ใหม้ ี 4 ชอ้ ย ก ข ค ะสาทมาคนละ 1 ขอ้

จากการตรวจสอบนักเรยี นท่ีไม่เขา้ เรียนออนไลน์มสี าเหตุดงั นี้ 1. สัญญาณอินเตอร์เนต็ ไมเ่ สถียร 2. ไม่มสี ญั ญาณโทรศัพท์ ไม่สามารถเรยี นทางออนไลน์ได้ 3. สภาพอากาศไมเ่ อื้ออำนวย เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ฯ ปัญหา/อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ 1. สัญญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ไม่เสถียร

ภาคผนวก

รายวชิ า พ33101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6







รายวิชา พ23103 พลศกึ ษา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3

ใบความรู้วชิ าบาสเกตบอล ประวัตกิ ฬี าบาสเกตบอลในต่างประเทศ บาสเกตบอล ( Basketball) เป็ นกีฬาประจาชาติอเมริกนั ถูกคิดข้ึน เพื่อตอ้ งการช่วยเหลือบรรดา สมาชิก Y.M.C.A. ไดเ้ ล่นกีฬาในฤดูหนาว เนื่องจากในช่วงฤดูหนาวสภาพพ้ืนภูมิประเทศโดยทว่ั ๆไป ถูก หิมะปกคลมุ อนั เป็นอุปสรรคในการเล่นกีฬากลางแจง้ เช่น อเมริกนั ฟุตบอล เบสบอล คณะกรรมการสมาคม Y.M.C.A. ไดพ้ ยายามหาหนทางแกไ้ ขให้บรรดาสมาชิกท้งั หลายไดเ้ ล่นกีฬาในช่วงฤดูหนาวโดยไม่บงั เกิด ความเบ่ือหน่าย ในปี ค.ศ.1891 Dr.James A.Naismith ครูสอนพลศึกษาของ The International Y.M.C.A. Training School อยทู่ ี่เมือง Springfield รัฐ Massachusetts ไดร้ ับมอบหมายจาก Dr.Gulick ใหเ้ ป็นผคู้ ดิ คน้ การเล่นกีฬา ในร่มที่เหมาะสมที่จะใช้เล่นในช่วงฤดูหนาว Dr.James ไดพ้ ยายามคิดคน้ ดัดแปลงการเล่นกีฬาอเมริกนั ฟุตบอลและเบสบอลเขา้ ดว้ ยกนั และใหม้ ีการเลน่ ที่เป็นทีม ในคร้ังแรก Dr.James ได้ใช้ลูกฟุตบอลและตะกร้าเป็ นอุปกรณ์สาหรับให้นักกีฬาเล่น เขาได้นา ตะกร้าลูกพชี ไปแขวนไวท้ ี่ฝาผนงั ของหอ้ งพลศึกษา แลว้ ใหผ้ เู้ ล่นพยายามโยนลูกบอลลงในตะกร้าน้นั ใหไ้ ด้ โดยใชเ้ น้ือท่ีสนามสาหรับเลน่ ใหม้ ีขนาดเลก็ ลงแบ่งผูเ้ ลน่ ออกเป็นขา้ งละ 7 คน ผลการทดลองคร้ังแรกผเู้ ล่น ได้รับความสนุกสนานต่ืนเตน้ แต่ขาดความเป็ นระเบียบ มีการชนกัน ผลกั กนั เตะกัน อนั เป็ นการเล่นที่ รุนแรง ในการทดลองน้นั ต่อมา Dr.James ไดต้ ดั การเล่นท่ีรุนแรงออกไป และไดท้ าการวางกติกาหา้ มผเู้ ล่น เขา้ ปะทะถกู เน้ือตอ้ งตวั กนั นบั ไดว้ า่ เป็นหลกั เบ้ืองตน้ ของการเล่นบาสเกตบอล Dr.James จึงไดว้ างกติกาการ เลน่ บาสเกตบอลไวเ้ ป็นหลกั ใหญ่ๆ 4 ขอ้ ดว้ ยกนั คือ 1. ผเู้ ล่นท่ีครอบครองลูกบอลอยนู่ ้นั จะตอ้ งหยดุ อยกู่ บั ท่ีหา้ มเคล่ือนที่ไปไหน 2. ประตจู ะตอ้ งอยเู่ หนือศีรษะของผเู้ ลน่ และอยขู่ นานกบั พ้ืน 3. ผูเ้ ล่นสามารถครอบครองบอลไวน้ านเท่าใดก็ได้ โดยคู่ต่อสู้ไม่อาจเข้าไปถูกต้องตวั ผูเ้ ล่นที่ ครอบครองบอลได้ 4. หา้ มการเล่นที่รุนแรงต่างๆโดยเด็ดขาด ผเู้ ลน่ ท้งั สองฝ่ายจะตอ้ งไมก่ ระทบกระแทกกนั เม่ือไดว้ างกติกาการเล่นข้นึ มาแลว้ ก็ไดน้ าไปทดลอง และพยายามปรับปรุงแกไ้ ขระเบียบดีข้ึน เขาได้ พยายามลดจานวนผูเ้ ล่นลงเพื่อหลีกเล่ียงการปะทะกนั จนในท่ีสุดก็ไดก้ าหนดตวั ผูเ้ ล่นไวฝ้ ่ ายละ 5 คน ซ่ึง

เป็ นจานวนที่เหมาะสมท่ีสุดกับขนาดเน้ือท่ีสนาม Dr.James ไดท้ ดลองการเล่นหลายคร้ังหลายหน และ พฒั นาการเลน่ เร่ือยมา จนกระทงั่ เขาไดเ้ ขียนกติกาการเล่นไวเ้ ป็นจานวน 13 ขอ้ ดว้ ยกนั และเป็นตน้ ฉบบั การ เล่นท่ียงั คงปรากฏอยบู่ นกระดานเกียรติยศในโรงเรียนพลศึกษา ณ Springfield อยจู่ นกระทง่ั ทกุ วนั น้ี กติกา 13 ขอ้ ของ Dr.James มีดงั น้ี 1. ผเู้ ล่นหา้ มถือลกู บอลแลว้ วิ่ง 2. ผเู้ ลน่ จะส่งบอลไปทิศทางใดกไ็ ด้ โดยใชม้ ือเดียวหรือสองมือก็ได้ 3. ผเู้ ล่นจะเล้ียงบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใชม้ ือเดียวหรือสองมือกไ็ ด้ 4. ผเู้ ลน่ ตอ้ งใชม้ ือท้งั สองเขา้ ครอบครองบอล หา้ มใชร้ ่างกายช่วยในการครอบครองบอล 5. ในการเลน่ จะใชไ้ หล่กระแทก หรือใชม้ ือดึง ผลกั ตี หรือทาการใดๆใหฝ้ ่ายตรงขา้ มลม้ ลงไมไ่ ด้ ถา้ ผเู้ ล่น ฝ่าฝืนถือเป็นการฟาวล์ 1 คร้ัง ถา้ ฟาวล์ 2 คร้ัง หมดสิทธ์ิเลน่ จนกวา่ ฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดทาประตูกนั ไดจ้ ึงจะ กลบั มาเลน่ ไดอ้ ีก ถา้ เกิดการบาดเจบ็ ระหวา่ งการแข่งขนั จะไมม่ ีการเปล่ียนตวั ผเู้ ล่น 6. หา้ มใชข้ าหรือเทา้ แตะลกู ถือเป็นการฟาวล์ 1 คร้ัง 7. ถา้ ฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดทาฟาวลต์ ิดต่อกนั 3 คร้ัง ให้อีกฝ่ายหน่ึงไดป้ ระตู 8. ประตทู ี่ทาไดห้ รือนบั วา่ ไดป้ ระตนู ้นั ตอ้ งเป็นการโยนบอลใหล้ งตะกร้า ฝ่ายป้องกนั จะไปยงุ่ เกี่ยวกบั ประตไู มไ่ ดเ้ ด็ดขาด 9. เมื่อฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดทาลกู บอลออกนอกสนาม ใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึงส่งลกู เขา้ มาจากขอบสนามภายใน 5 วนิ าที ถา้ เกิน 5 วินาที ใหเ้ ปลี่ยนส่ง และถา้ ผเู้ ลน่ ฝ่ายใดพยายามถว่ งเวลาอยเู่ สมอใหป้ รับเป็นฟาวล์ 10. ผตู้ ดั สินมีหนา้ ที่ตดั สินวา่ ผเู้ ล่นคนใดฟาวล์ และลงโทษใหผ้ เู้ ล่นหมดสิทธ์ิ 11. ผตู้ ดั สินมีหนา้ ท่ีตดั สินวา่ ลูกใดออกนอกสนาม และฝ่ายใดเป็นฝ่ายส่งลูกเขา้ เล่น และจะทาหนา้ ที่เป็น ผรู้ ักษาเวลาบนั ทึกจานวนประตทู ี่ทาได้ และทาหนา้ ท่ีทว่ั ไปตามวิสัยของผตู้ ดั สิน 12. การเลน่ แบง่ ออกเป็น 2 คร่ึงๆละ 20 นาที 13. ฝ่ายที่ทาประตูไดม้ ากท่ีสุดเป็นผชู้ นะ ในกรณีคะแนนเท่ากนั ใหต้ ่อเวลาออกไป และถา้ ฝ่ายใดทาประตูได้ ก่อนถือวา่ เป็นฝ่ายชนะ ดังน้ันในปี ค.ศ. 1915 สมาคม Y.M.C.A. สมาคมกีฬามหาวิทยาลยั แห่งชาติและสมาพนั ธ์กีฬา สมคั รเลน่ ไดร้ ่วมประชุมเพอื่ ร่างกติกาการเล่นบาสเกตบอลข้ึนมาเพื่อเป็นบรรทดั ฐานเดียวกนั กติกาน้ีไดใ้ ช้ สืบมาจนกระทงั่ ปี ค.ศ. 1938 และไดร้ ับการปรับปรุงแกไ้ ขใหด้ ีข้ึนในการแข่งขนั กีฬาโอลิมปิ กคร้ังท่ี 11 ณ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนั นี โดยคณะกรรมการโอลิมปิ กนานาชาติเป็นผพู้ จิ ารณา สหรัฐอเมริกายอมรับการเล่นบาสเกตบอลเป็ นกีฬาประจาชาติเม่ือวนั ท่ี 20 มกราคม ค.ศ. 1892 ซ่ึง ไดม้ ีการเล่นบาสเกตบอลอย่างเป็ นทางการข้ึนเป็ นคร้ังแรก สมาคม Y.M.C.A. ไดน้ ากีฬาบาสเกตบอลไป

เผยแพร่ในทุกส่วนของโลก ไดแ้ พร่เขา้ ไปในประเทศจีนและอินเดียในราวปี ค.ศ. 1894 ฝร่ังเศส ในราวปี ค.ศ. 1895 ญ่ีป่ ุนราวปี ค.ศ. 1900 เกือบจะกลา่ วไดว้ า่ บาสเกตบอลมีการเลน่ ในทกุ ประเทศทว่ั โลก ต้งั แต่ก่อน สงครามโลกคร้ังที่ 1 และคาดวา่ ก่อนปี ค.ศ. 1984 มีประชาชนทวั่ โลกเล่นกีฬาบาสเกตบอลเป็นจานวนถึง 20 ลา้ นคน ในขณะน้ีมีผนู้ ิยมเล่นบาสเกตบอลกนั ทว่ั ทกุ มมุ โลก ไม่นอ้ ยกวา่ 52 ประเทศ นอกจากน้ีไดม้ ีการแปล กติกาการเล่นเป็นภาษาตา่ ง ๆ มากกวา่ 30 ภาษา ปัจจุบันน้ีหน่วยงานที่ควบคุมและดาเนินงานเกี่ยวกับกีฬาบาสเกตบอล ระดับนานาชาติ ได้แก่ สหพนั ธ์บาสเกตบอลนานาชาติ(The International Basketball Federation) ใชช้ ื่อยอ่ วา่ FIBA ประวตั กิ ฬี าบาสเกตบอลในประเทศไทย กีฬาบาสเกตบอลแพร่หลายเขา้ มาในประเทศไทยเป็นคร้ังแรกในสมยั ใด ปี ใดน้นั มิไดม้ ีหลกั ฐานที่ จะปรากฏยนื ยนั แน่ชดั ได้ ทราบแต่เพียงวา่ ในปี พ.ศ. 2477 นายนพคุณ พงษส์ ุวรรณ อาจารยส์ อนภาษาจีนท่ี โรงเรียนมธั ยมวดั บพิตรพิมุข ไดช้ ่วยเหลือกรมพลศึกษาจดั แปลกติกาการเล่นบาสเกตบอลข้ึน ต่อมาในปี พ.ศ. 2478 กระทรวงธรรมการ ไดจ้ ดั การอบรมครูจงั หวดั ต่างๆจานวน 100 คน ภายในระยะเวลา 1 เดือน และไดร้ ับความช่วยเหลือจาก พ.ต.อ. หลวงชาติตระการโกศล ผซู้ ่ึงมีความรู้และเชี่ยวชาญทางการเล่นกีฬา บาสเกตบอลคนหน่ึง ท้งั ไดเ้ คยเป็นตวั แทนของมหาวิทยาลยั เขา้ ร่วมการแข่งขนั เม่ือคร้ังท่านกาลงั ศึกษาอยู่ ในสหรัฐอเมริกา มาเป็ นผูบ้ รรยายเก่ียวกบั เทคนิคและวิธีเล่นบาสเกตบอลแก่บรรดาครูที่เขา้ รับการอบรม ต่อมาก็เป็นผลทาใหก้ ีฬาบาสเกตบอลแพร่หลายไปทว่ั ประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2496 สมาคมบาสเกตบอลสมคั รเล่นแห่งประเทศไทยไดถ้ ูกจดั ต้งั ข้ึนตามแบบอนั ถกู ตอ้ ง โดยจดทะเบียนที่สภาวฒั นธรรมแห่งชาติ และไดก้ ลายมาเป็ นสมาคมบาสเกตบอลแห่งประเทศไทยในปี เดียวกนั น้นั เอง และในวนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 สมาคมบาสเกตบอลแห่งประเทศไทยก็ไดเ้ ขา้ ร่วมเป็น สมาชิกของสมาคมบาสเกตบอลระหวา่ งประเทศ ประโยชน์ของการเล่นบาสเกตบอล กีฬาบาสเกตบอลเป็นกีฬาที่ทาใหผ้ เู้ ล่นไดร้ ับประโยชน์ดงั น้ี 1. ช่วยพฒั นาส่งเสริมสมรรถภาพดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมแก่บคุ คล

2. ช่วยพฒั นาส่งเสริมกลไกการเคล่ือนไหวของร่างกาย (motor skills) ใหท้ างานประสานกนั ดีข้ึนวา่ จะเป็น มือ เทา้ สายตาใหเ้ คลื่อนไหวไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3. เป็นกิจกรรมนนั ทนาการสาหรับพกั ผอ่ น คลายความตึงเครียด แก่ผเู้ ลน่ และผชู้ ม 4. ช่วยฝึกการตดั สินใจ และรู้จกั คดิ แกป้ ัญหา ตลอดจนมีสมาธิที่ดี 5. ช่วยฝึกใหม้ ีน้าใจเป็นนกั กีฬา รู้จกั แพ้ รู้จกั ชนะ และรู้จกั ใหอ้ ภยั 6. ใชเ้ ป็นส่ือนาในการสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและส่วนรวม 7. ใชเ้ ป็นส่ือนาในการจดั การกิจกรรมการเรียนการสอนวชิ าพลศึกษา 8. ผเู้ ล่นที่มีความสามารถจะทาชื่อเสียงใหแ้ ก่ตวั เอง วงศต์ ระกลู และประเทศชาติ 9. เป็นวิชาชีพดา้ นหน่ึงสาหรับงานกีฬา เช่น การแข่งขนั กีฬาบาสเกตบอลอาชีพ เป็นตน้ อปุ กรณ์และสนามบาสเกตบอล 1. สนามแข่งขัน (Playing Court) 1) สนามตอ้ งเป็นรูปส่ีเหล่ียมผนื ผา้ พ้ืนผิวเรียบ แขง็ ปราศจากสิ่งกีดขวางท่ีทาใหเ้ กิดความลา่ ชา้ สาหรับการแข่งขนั ซ่ึงจดั โดย สหพนั ธบ์ าสเกตบอลนานาชาติ ขนาดสนามท่ีจะสร้างข้นึ ใหมต่ อ้ งยาว 28 เมตร และกวา้ ง 15 เมตร โดยวดั จากขอบใน ของเส้นเขตสนาม สาหรับการแขง่ ขนั อ่ืนท้งั หมดท่ีสหพนั ธ์ บาสเกตบอลนานาชาติรับรอง เช่น สหพนั ธร์ ะดบั โซน หรือสมาคม แห่งชาติ เป็นตน้ ซ่ึงเป็นผมู้ ีอานาจ เห็นชอบใหใ้ ชส้ นามขนาดเลก็ สุดในการแข่งขนั ได้ คือ ยาว 26 เมตรและกวา้ ง 14 เมตร 2) ความสูงของเพดานหรือส่ิงกีดขวางตอ้ งไม่ต่ากวา่ 7 เมตร

3) พ้นื ผวิ ของสนามควรจะเหมือนกนั และมีแสงสวา่ งเพียงพอ แสงสวา่ งตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งท่ีไม่เป็น อปุ สรรคตอ่ การมองเห็นของ ผเู้ ล่นและของผตู้ ดั สิน 4) เส้นทกุ เส้นตอ้ งเป็นสีเดียวกนั (ควรเป็นสีขาว) กวา้ ง 5 เซนติเมตร และมองเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจน ดงั น้ี - เส้นหลงั และเสน้ ขา้ ง (End lines and side-lines) - เสน้ กลาง (Center line) - เสน้ โยนโทษ (Free-throw lines) - วงกลมกลาง (Center circle) - พ้ืนท่ียงิ ประตู 3 คะแนน (Three-point field goal area) 2. อุปกรณ์ (Equipment) 2.1) กระดานหลังและห่วงประตู (Backboard and Basket) - กระดานหลงั กว้าง 10.5 เมตร ยาว 1.80 เมตร - ห่วง เส้นผ่าศูนย์กลางยาว 0.45 เมตร(45 เซนตเิ มตร)

- ห่วงประตู (ห่วงและตาข่าย) สูงจากพืน้ 3.05 เมตร - ตาข่าย ยาว 0.40-0.45 เมตร(40-45 เซนติเมตร) - ทย่ี ดึ กระดานหลงั - เบาะรองที่ยดึ กระดานหลงั (ฐานต้งั ห่างจากเส้นหลัง2.00 เมตร) 2.2) ลกู บาสเกตบอล (Basketballs) - ลกู บอลต้องเป็ นรูปทรงกลมและมสี ีส้ม ซึ่งได้รับการรับรอง มี 8 ช่องกลบี ตาม แบบเดมิ กรุและเย็บเช่ือต่อกนั - ผวิ นอกต้องทาด้วยหนงั หนังท่เี ป็ นสารสังเคราะห์ ยาง หรือวัสดสุ ารสังเคราะห์ - ลกู บอลจะขยายตัวเม่ือสูบลมเข้าไป ถ้าปล่อยลงสู่พื้นสนามจากความสูง โดยประมาณ 1.80 เมตร วดั จากส่วนล่างของลกู บอลลูกบอลจะกระดอนขนึ้ สูงวัด จากส่วนบนสุดจากของลูกบอลระหว่าง 1.20 เมตร ถงึ 1.40 เมตร - ลกู บอลต้องมเี ส้นรอบวงไม่น้อยกว่า 74.9 เซนติเมตรและไม่มากกว่า 78 เซนตเิ มตร (ลกู บอลเบอร์ 7) จะต้องมีน้าหนักไม่น้อยกว่า 567 กรัมและไม่มากกว่า 650 กรัม การดแู ลรักษาอุปกรณ์และสนามบาสเกตบอล อปุ กรณ์และสนามบาสเกตบอลควรไดร้ ับการดูแลและเกบ็ รักษาใหด้ ี เพอ่ื ใหม้ ีประสิทธิภาพในการ ใชง้ านใหน้ านท่ีสุด เพื่อความประหยดั และเป็นการปลกู ฝังใหเ้ ล่นเกิดนิสยั รักความมีระเบียบโดยมี หลกั ปฏิบตั ิดงั น้ี 1. เคร่ืองแต่งกายตอ้ งดูแลรักษาใหส้ ะอาดเสมอ เม่ือนาไปซกั ลา้ งตอ้ งผ่งึ แดดใหแ้ หง้ สนิทก่อนนามาใช้ 2. ลกู บาสเกตบอลตอ้ งเก็บใหเ้ รียบร้อยเมื่อเลิกใช้ หา้ มนาลูกบาสเกตบอลไปเลน่ ผดิ ประเภทกีฬา เช่น นาไปเตะ หรือไม่นามารองนงั่ เพราะจะทาใหล้ ูกบาสเกตบอลผิดรูปทรง 3. อยา่ ใหล้ ูกบาสเกตบอลที่ทาดว้ ยหนงั ถูกน้านานๆ เพราะนอกจากจะเป็นการเพ่มิ น้าหนกั ใหม้ ากข้นึ แลว้ ยงั ทาใหล้ กู บอลชารุดเร็วกวา่ ปกติดว้ ย ดงั น้นั เมื่อลูกบอลถกู น้าควรใชผ้ า้ เช็ดใหแ้ หง้ ทนั ทีก่อนท่ี จะนาลูกบอลมาเล่น ต่อไป

4. การสูบลมหรือปลอ่ ยลมออกจากลกู บาสเกตบอล ควรใชเ้ ขม็ ที่ใชก้ บั ลูกบอลโดยเฉพาะ ถา้ ใชข้ อง แหลมชนิดอื่นอาจจะทาใหล้ กู บอลชารุดไดง้ ่าย 5. สารวจเสาประตู กระดานหลงั หรือห่วงใหแ้ น่นหนาแขง็ แรง และปลอดภยั 6. หา้ มกระโดดเกาะหรือห้อยโหนห่วงประตูเลน่ 7. ตาข่ายควรใชเ้ ทปหรือลวดพนั ยดึ ใหต้ ิดแน่นกบั ห่วงประตูอยเู่ สมอ 8. รักษาพ้ืนสนามใหเ้ รียบ สะอาด และเสน้ สนามควรชดั เจนใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมท่ีจะเลน่ ถา้ ชารุด ตอ้ งรีบปรับปรุงแกไ้ ข จดั ระเบียบการใชส้ นามและอุปกรณ์ ประกาศใหท้ กุ คนทราบ 9. จดั สถานที่หรือท่ีเก็บอปุ กรณ์ใหเ้ ป็นระเบียบ

กตกิ าการเลน่ บาสเกตบอล จะแบ่งการเลน่ เป็น 4 ควอเตอร์ (quarter) แตล่ ะควอเตอรม์ ี 10 นาที (สากล) หรือ 12 นาที (เอน็ บีเอ) ชว่ งพกั ครง่ึ นาน 15 นาที สว่ นพกั อ่นื ๆ ยาว 2 นาที ช่วงต่อเวลา (overtime) ยาว 5 นาที ทมี จะสลบั ดา้ น สนามเม่อื เรม่ิ ครง่ึ หลงั เวลาจะเดนิ เฉพาะระหว่างท่เี ลน่ และนาฬิกาจะหยดุ เดินเม่ือเกมหยดุ เช่น เม่ือเกิด การฟาลว์ หรือระหวา่ งการชตู้ ลกู โทษ เป็นตน้ ดงั นนั้ เวลาทงั้ หมดท่ใี ชแ้ ขง่ มกั ยาวกว่านีม้ าก (ประมาณสอง ช่วั โมง) ในขณะใดขณะหนึง่ จะมีผเู้ ลน่ ในสนามฝ่ายละหา้ คน และจะมผี เู้ ลน่ สารองสงู สดุ ทมี ละเจด็ คน สามารถเปลี่ยนตวั ไดไ้ ม่จากดั และเปลย่ี นไดเ้ ฉพาะเม่อื เกมหยุด ข้อบงั คบั บาสเกตบอล ลกู สามารถเคลอื่ นท่ไี ปขา้ งหนา้ เขา้ หาห่วงโดยการชตู้ การสง่ ระหว่างผเู้ ลน่ การขวา้ ง การเคาะลกู การกลิง้ ลกู หรือ การเลีย้ งลกู (โดยการใหล้ กู กระเดง้ กบั พืน้ ขณะวิง่ ภาษาองั กฤษเรียก ดรบิ บลิง, dribbling) ลกู จะตอ้ งอย่ใู น สนาม ทีมสดุ ทา้ ยท่สี มั ผสั ลกู ก่อนท่ลี กู จะออกนอกสนามจะสญู เสียการครองบอล ผเู้ ลน่ หา้ มขยบั ขาทงั้ สองพรอ้ มกนั ในขณะเลีย้ งลกู (เรียกว่า แทรเวลลิง, travelling) เลีย้ งลกู พรอ้ มกนั ทงั้ สองมือ หรือเลืย้ งลกู แลว้ จบั ลกู แลว้ เลีย้ งลกู ต่อ (เรยี กวา่ ดบั เบลิ -ดรบิ บลงิ , double-dribbling) เวลาเลีย้ งมือของผเู้ ลน่ ตอ้ งอย่ดู า้ นบนของลกู มิฉะนนั้ จะนบั ว่า ถือลกู (carrying) ถา้ ทีมพาลกู ไปยงั แดนของฝ่ายตรงขา้ มของสนาม (frontcourt) แลว้ หา้ มนาลกู กลบั เขา้ แดนตนเอง (backcourt) อกี หา้ มเตะหรือชกลกู ถา้ ทาผิดกฎขอ้ หา้ มเหลา่ นจี้ ะเสยี การครองบอล อีกฝ่ายจะเป็นฝ่ายไดล้ กู ไปเลน่ แต่ถา้ ฝ่ายรบั ทาผดิ กฎฝ่ายท่ีครองบอลจะไดเ้ ร่มิ ช็อตคล็อกใหม่ ผเู้ ลน่ จะตอ้ งนา ลกู จากแดนตวั เองขา้ มเขา้ แดนตรงขา้ มภายในเวลาท่กี าหนด (8 วินาทีทงั้ ในกติกาสากล และเอ็นบเี อ) ตอ้ งชตู้ ภายในเวลา 24 วินาที ถือลกู ขณะท่ีถกู ยืนคมุ โดยฝ่ายตรงขา้ มไมเ่ กนิ 5 วินาที อย่ใู นบรเิ วณใตแ้ ปน้ ไมเ่ กนิ 3 วนิ าที กฎเหลา่ นมี้ ไี วเ้ ป็นรางวลั แก่การตงั้ รบั ท่ดี ี หา้ มผเู้ ลน่ รบกวน ห่วง หรือ ลกู ขณะเคล่ือนท่ีคลอ้ ยลงมายงั หว่ ง หรือ ขณะอย่บู นห่วง (ในเอ็นบเี อ ยงั รวมกรณีลกู อย่เู หนือหว่ งพอด)ี การฝ่าฝืนขอ้ หา้ มนเี้ รยี ก โกลเทนดิง

(goaltending) ถา้ ฝ่ายรบั ทาผิด จะถือวา่ การชตู้ สาเรจ็ และอกี ฝ่ายไดค้ ะแนน แต่ถา้ ฝ่ายรุกทาผิด จะไม่คดิ คะแนนการชตู้ นี้ และเสยี การครองบอล ผเู้ ลน่ 1 คนสามารถฟาลว์ บคุ คลไดแ้ ค่ 5 ครง้ั และการฟาลว์ ครง้ั ท่ี 5 จะเป็นการไลอ่ อกจากสนาม สัญญาณมือการผดิ ระเบยี บ Time out or Stop Clock เม่ือเกิดเวลานอกขนึ้ และเจา้ หนา้ ท่ไี ดใ้ หส้ ญั ญาณกรณีต่อไปนีต้ อ้ งหยดุ นาฬกิ า ผิดระเบยี บการเลน่ ฟาลว์ ลกู ยดึ เม่อื มีการชกั ชา้ ผิดปกติ ในการนาลกู บอลตายเขา้ มาเลน่ เม่ือหยุด การเลน่ มผี เู้ ลน่ บาดเจ็บ หรือเม่อื ผูต้ ดั สนิ ใหผ้ เู้ ลน่ ออกนอกสนาม เม่อื มคี าส่งั หยดุ เลน่ ดว้ ยเหตผุ ลบาง ประการของผตู้ ดั สินเม่อื สญั ญาณ 30 วนิ าที TRAVELLING คือ เคลื่อนท่ีไปพรอ้ มกบั ลกู แสดงกาหมดั ทงั้ สองขา้ ง หมนุ รอบกบั ขา้ งหนา้ ลาตวั (ROTATE FISTS) เป็นการผิดระเบยี บท่เี กิดขนึ้ ไดบ้ อ่ ยท่สี ดุ เกิดขนึ้ โดยท่ลี กู ไมโ่ ดนพนื้ และกา้ วขาเกิน 2 กา้ ว ถือเป็น travelling หรือ walking น่นั เอง

DOUBLE DRIBBLE คือ เลีย้ งลกู ผิดระเบียบ แบมือเคลื่อนสนั ขึน้ ลงขา้ งหนา้ ลาตวั คลา้ ยท่าเลีย้ งลกู (PATTING MOTION) เป็นการผดิ ระเบยี บท่เี กิดขนึ้ บ่อยเชน่ กนั เกิดจากการท่ผี เู้ ลน่ ท่ีกาลงั ครอบครองบอล นนั้ ถา้ เกิดการเคาะบอลและจบั ลกู บอลไปแลว้ จะไม่สามารถเคาะบอลไดอ้ ีก หรือกรณีท่ผี คู้ รอบครองบอล เลีย้ งบอล สองมอื ในเวลาเดียวกนั ไมเ่ ชน่ นนั้ จะเกิดกรณีนหี้ รือท่เี รียกว่า Double Ball น่นั เอง สญั ญาณมอื การฟาลว์ บุคคล Personal Foul ฟาลว์ บุคคล คือการท่ผี เู้ ล่นไดถ้ กู ตอ้ งตวั ผ่ายค่ตู อ่ สู้ ไดแ้ ก่ การสกดั กน้ั , การจบั หรือ ยดึ , การเขา้ ปอ้ งกนั ขา้ งหลงั , การจบั ยดึ ชน ขดั ขา กีดกนั การเคลื่อนท่ขี องค่ตู อ่ สู,้ ผเู้ ลน่ กีดกนั , ผเู้ ลีย้ งลกู ตอ้ งไมช่ นหรือถกู ตอ้ งตวั ค่ตู ่อสรู้ ะหว่างเลยี้ งลกู เขา้ ไป หรือตอ้ งไมพ่ ยายามเลีย้ งลกู เขา้ ไปในระหวา่ งผเู้ ลน่ ผา่ ยป้องกนั 2 คน หรือระหว่างคตู่ ่อสกู้ บั เสน้ เขตสนาม เวน้ แต่จะมีท่ีพอแลว้ หลบหลีกไป บทลงโทษ ปรบั โทษฟาลว์ บคุ คลต่อผกู้ ระทาผิด 1 ครงั้ ทกุ กรณี ถา้ ทาฟาลว์ แก่ผเู้ ลน่ ในขณะท่ีไมอ่ ยู่ ในลกั ษณะกาลงั ยงิ ประตู ใหผ้ เู้ ลน่ คนใดคนหน่งึ ของฝ่ายท่ีถกู ทาฟาลว์ สง่ บอลเขา้ เลน่ ทางเสน้ ขา้ งใกลท้ ่เี กิด เหตุ ถา้ ฟาลว์ ในขณะโยนประตู ถา้ บอลลงห่วงใหน้ บั คะแนนเหมือนยิงประตธู รรมดาและใหโ้ ยนโทษอกี 1 ครงั้ แตถ่ า้ บอลไมล่ งห่วงใหม้ ีการโยนโทษ 2 ครง้ั (แตใ่ นกรณีท่ีผโู้ ยนประตใู นระยะ 3 คะแนน กจ็ ะไดโ้ ยน โทษ 3 ครงั้ )

Blocking เป็นการฟาลว์ บคุ คลเน่ืองจากการท่ผี เู้ ลน่ กีดกนั คือพยายามขวางค่ตู อ้ สมู้ ิใหผ้ ่านไปสู่ จดุ หมายและผทู้ ่ไี ม่พยายามเลน่ ลกู ถา้ เกิดถกู ตอ้ งตวั กนั ขึน้ ตนเองตอ้ งเป็นฝ่ายรบั ผิดชอบ Holding เป็นการฟาลว์ บคุ คลเน่ืองจากเกิดการจบั หรือยึด ถือเป็นการถูกตอ้ งตวั เพราะเป็นการกีดกนั ไม่ใหค้ ตู่ อ้ สเู้ คล่ือนท่ไี ปตามปกติ Illegal Use of Hands เป็นการฟาลว์ บคุ คลเน่ืองจากเกิดการใชม้ ือผดิ ระเบยี บ เชน่ การนามือไปตี เป็น ตน้ Pushing เป็นการฟาลว์ บคุ คลเน่อื งจากการผลกั คตู่ ่อสู้

ตาแหน่งการยืนในกฬี าบาสเกตบอล Point Guard (PG) ตาแหน่ง PG เป็นตาแหนง่ สาคญั ในการคมุ บอลเวลาบกุ โดยหนา้ ท่หี ลกั ๆคือการจ่ายบอลไปยงั ผเู้ ลน่ ตาแหน่งอ่นื ผเู้ ลน่ ในตาแหน่งนีต้ อ้ งมที กั ษะในการจ่ายบอลดี เลีย้ งบอลดี และมีวสิ ยั ทศั น์ กวา้ งไกล สามารถมองออกว่าตาแหนง่ ไหนกาลงั ไดเ้ ปรยี บหรือเสียเปรยี บ แลว้ เลือกส่งบอลไปตามความ เหมาะสม ดงั นนั้ ความสามารถของผเู้ ลน่ ในตาแหน่งนีจ้ ึงดจู ากจานวน Assist (การจ่ายบอลใหเ้ ลน่ แลว้ ผู้ เลน่ ท่รี บั บอลสามารถทาแตม้ ไดท้ นั ท)ี ท่ีทาไดม้ ากกว่าจานวนแตม้ ท่ีทาได้ อย่างไรก็ตาม ในบางครงั้ ผเู้ ลน่ ในตาแหน่ง PG อาจเลอื กเขา้ ไปทาคะแนนเองในบางจงั หวะเม่อื มโี อกาสงามๆ Shooting Guard (SG) ทกั ษะท่จี าเป็นของผเู้ ลน่ ตาแหนง่ นคี้ ือการชตู้ ทาคะแนนท่ีแม่นยา และมีความสามารถในการครองบอล จ่ายบอลดีในระดบั หนง่ึ (แต่หนา้ ท่หี ลกั ๆในการจ่ายบอลก็ยงั คงเป็นของ PG ) นอกจากการทาคะแนนโดย

การจมั พช์ ตู๊ แลว้ ในบางครงั้ ผเู้ ลน่ ตาแหน่งนีย้ งั มคี วามสามารถในการบกุ ทะลวงเขา้ ไปทาแตม้ วงในไดด้ ว้ ย (อยา่ งเชน่ แหวกเขา้ ไปเลยอ์ พั หรือดงั ค)์ Small Forward (SF) เป็นตาแหน่งอเนกประสงคใ์ นเกมสบ์ กุ โดยหนา้ ท่หี ลกั ของผเู้ ลน่ ตาแหน่ง SF คอื การ “ทาแตม้ ” นอกจากนี้ อาจชว่ ยเป็นตวั รีบาวด์ (เก็บลกู ท่ยี งิ ไม่เขา้ ) รองมาจากผเู้ ลน่ ในตาแหนง่ Power Forward และ Center ผู้ เลน่ ในตาแหนง่ SF โดยมากจะสงู กวา่ Guard แตจ่ ะเตยี้ กว่า Power Forward และ Center ลกั ษณะของการ ทาแตม้ ในผเู้ ลน่ ตาแหน่งนอี้ าจแตกตา่ งกนั ออกไปตามสไตลข์ องแต่ละคน มีทงั้ ผเู้ ลน่ ท่ีถนดั การยิงแบบจมั พ์ ชตู๊ ในระยะต่างๆ และ ผเู้ ลน่ ท่ชี อบบกุ ทะลวงเพ่อื เขา้ ไปทาแตม้ วงใน (อย่างเช่นแหวกเขา้ ไปเลยอ์ พั หรอื ดงั ค)์ นอกจากผเู้ ลน่ SF จะเป็นตวั ทาคะแนนสาคญั ในทีมแลว้ ยงั เป็นตวั ท่เี รียกฟาวลจ์ ากผเู้ ลน่ ฝ่ายตรง ขา้ มไดม้ ากอกี ดว้ ย Power forward (PF) เป็นตาแหน่งท่ีมีงานหลกั คือการรีบาวดล์ กู (ตามเก็บบอลท่ไี ม่ลงหว่ ง)และเนน้ ปอ้ งกนั แตก่ ็สามารถทาแตม้ ในระยะใกลไ้ ดด้ ี (เม่ือเทียบตาแหนง่ PF กบั SF ในเกมสบ์ กุ แลว้ PF จะทาแตม้ บรเิ วณใกลแ้ ปน้ มากกว่า SF ท่ที าแตม้ ไดท้ งั้ ในระยะใกล-้ ไกล) อย่างไรก็ตามไมไ่ ดห้ มายความวา่ PF ตอ้ งเนน้ แตร่ ีบาวดก์ บั เกมสร์ บั เสมอ ไป ผเู้ ลน่ ตาแหน่ง PF ท่เี กง่ ๆในปัจจบุ นั อาจเนน้ การทาแตม้ มากกว่า PF ในสมยั ก่อน Center (C) เป็นตาแหนง่ ท่ีมคี วามสาคญั ทงั้ ในเกมสบ์ กุ และเกมสร์ บั โดยท่วั ไปจะใชผ้ เู้ ลน่ ท่ตี วั ใหญ่ท่สี ดุ ในทมี มี พละกาลงั มหาศาล และมีนา้ หนกั ตวั พอประมาณ (สงู อยา่ งเดยี วแต่ผอมไปก็ไมไ่ หว เพราะเป็นตาแหนง่ ท่ี ตอ้ งเบียดปะทะกบั คแู่ ขง่ ตลอด) บทบาทหลกั ๆของ C คือใชข้ นาดตวั ท่สี งู ใหญ่เป็นอาวธุ ในการทาแตม้ และ ในขณะท่ีเป็นเกมสร์ บั C มหี นา้ ท่ปี อ้ งกนั พืน้ ท่ีบรเิ วณใตแ้ ปน้ โดยการบล็อก (การปัดบอลท่ีฝ่ายตรงขา้ มชตู้ ) รวมถงึ บทบาทสาคญั ในการรบี าวด์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook