Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ___________________________________________________________________________________________________

___________________________________________________________________________________________________

Published by fbzznutthananun, 2018-01-16 23:57:01

Description: ___________________________________________________________________________________________________

Search

Read the Text Version

แผนกวชิ าการท่องเทย่ี ววทิ ยาลยั บริหารธุรกจิ และการท่องเทยี่ วกรุงเทพG-mail : mookkie3356@gmail.com







1 ความหมายของคาว่า มัคคุเทศก์ โดยท่ัวไปกค็ อื ผู้นาทางหรือผู้นาเที่ยวแต่ ตามความหมายของพระราชบญั ญัตธิ ุรกจิ นา เท่ียวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2535ในมาตราท่ี 3 มัคคุเทศก์หมายถึง ผู้ที่นานักท่องเที่ยวไปสถานท่นี ้ันหรือ สถานท่ีใดก็ตาม ท่ีให้ความรู้เกี่ยวกับสถานที่น้ันหรือว่าเก่ียวกบั โครงการน้ัน หลังจากให้ความรู้แก่นักท่องเท่ียวแล้วก็จะได้รับค่าตอบแทนด้วย มัคคุเทศก์ ( TouristGuide ) หรือทเี่ รียกย่อๆ ว่า “ไกด์” ( Guide ) หมายถึงผู้นาทาง ผู้ชี้ ทางแก่นักท่องเท่ียว ซึ่งเป็ นคนต่างถิ่นให้ได้ทราบเรื่องราวต่างๆ เก่ียวกับสถานที่ท่องเทย่ี ว

2 ความสาคัญของมัคคุเทศก์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีความสาคัญคือ เราสามารถบอก นักท่องเที่ยวท่ีมาเท่ียวในชุมชนท้องถ่ินของเรา ถึงสถานที่ท่องเที่ยวท่ีมีอยู่ในพืน้ ที่ของเรา ได้ดีกว่า มัคคุเทศก์ท่ีเป็ นคนนอกท้องถิ่นมาชี้แนะหรือแนะนาเขา รวมท้ังให้ความสาคัญและให้ความรู้กับ นักท่องเที่ยวได้ดีกว่า คนในท้องถ่ินเป็ นมัคคุเทศก์กับคนนอกพนื้ ที่เป็ นมัคคุเทศก์ ใครเป็ นผู้ทใ่ี ห้ความรู้ได้ดกี ว่า?

3 มัคคุเทศก์ในท้องถนิ่ น่าจะให้ส่ิงที่ถูกต้อง ชัดเจนมากกว่า แต่คนในท้องถ่นิกส็ ่ือสารไม่ได้ หรือส่ือสารได้น้อย กอ็ าจจะไม่ชัดเจนมากพอ แต่ถ้านักท่องเท่ียวเป็ นชาวต่างชาติหรือคนในถ่ินอื่นๆ ถ้าเราไม่สื่อสารในภาษากลาง หากเราใช้ภาษาทางเหนือพอไปพูดภาษาภาคกลางก็อาจจะพูดไม่ชัด ไม่เข้าใจในการส่ือสาร บางทีจะมีศัพท์เฉพาะ หรือคาบางคาที่เป็ นต้นไม้ สิ่งของท่ีเป็ นภาษาทางบ้าน เราแล้วเราจะสื่อสารให้เขาโดยที่เป็ นภาษาของเขา บางทีเราก็หาคาที่จะส่ือสารไม่ได้ หรือเขาอาจจะ อยากศึกษาศิลปวัฒนธรรมในภาษาของเรา เขาก็อาจจะภูมิใจท่ีสามารถใช้ภาษาของเราได้ เราก็ อาจจะใช้ภาษาร่างกายของเราช่วยได้ หรือบางทีเขาอาจจะประทบั ใจกไ็ ด้ที่ได้สื่อสารกันหลายๆ ภาษา ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ถูกต้องตามไวยากรณ์ของเขา แต่กเ็ ข้าใจกนั ได้

4 สิ่งสาคัญของมัคคุเทศก์ท้องถิ่นอีกด้านหนึ่ง คือ ถ้านักท่องเท่ียวเข้ามาอย่างเขาจะไปน้าตก แม่สวรรค์น้อย เขาอาจจะมีแผนที่หรือเราบอกทางไปนักท่องเท่ียวก็อาจจะหลงทางได้ หรือถ้าเรามี 2 2 เวลาเราก็พานักท่องเท่ียวไปกไ็ ด้คนที่ไม่รู้ทางเลยกอ็ าจจะไปไม่ถูก ถ้าคนในท้องถ่ินรู้ว่าสถานที่เที่ยว หรือระยะทางเรากจ็ ะสามารถบอกได้ นักท่องเทย่ี วทเ่ี ข้ามาเขากจ็ ะประทับใจ เขากลบั ไปบ้านเขาก็จะเล่าสู่กนั ฟังหรืออาจจะไปบอกต่อว่าให้มาเทยี่ วทน่ี ่ี เพราะว่าคนทน่ี ่ีอธั ยาศัยดี นักท่องเที่ยวบางคนที่มาบางคนอาจจะมาซื้อของหรืออาจจะไม่ได้ต้ังใจที่ซื้อของ แต่ด้วย ความประทับใจก็อาจจะซื้อของว่าในคร้ังหน่ึงเขาเคยมา หรืออาจหาซือ้ สิ่งของ ไปแจก ไปให้แก่ญาติ พน่ี ้อง

5 มัคคุเทศก์ท้องถิ่น มีความสาคัญ นอกจากจะช่วยให้นักท่องเท่ียวย่นระยะเวลาในการเดินทาง ไปสถานท่ีน้ันๆ แล้ว ยังสามารถบอกข้อเท็จจริงหรือข้อมูลท่ีถูกต้อง หรือแม้เราอาจจะไม่มีข้อมูลท่ี แท้จริง แต่เราก็ยังสามารถพานักท่องเที่ยวไปบุคคลอืน่ ในหมู่บ้านท่ีมีความรู้เพอื่ ให้เขาเล่าให้ นักท่องเท่ียวฟังซ่ึงจริง ๆ แล้วเรื่องเหล่านีม้ นั อยู่ในตวั ของทุกคนอยู่แล้ว ในปัจจุบนั ความจาเป็ นที่ต้องมีมัคคุเทศก์สาหรับอธิบายเรื่องราวเก่ียวกับสถานที่ท่องเท่ียวและความรู้ต่างๆ และในทางอ้อม เป็ นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็ นการสร้างภาพพจน์ท่ีดีให้กบั ประเทศสรุปความสาคญั ของมคั คุเทศก์1. เป็ นผู้ทคี่ อยอานวยความสะดวกให้แก่นักท่องเทย่ี ว2. ชี้แนะ อธิบายสิ่งต่างๆ ให้แก่นักท่องเทยี่ วทราบ3. นักท่องเทย่ี วได้รับผลประโยชน์จากการท่องเทย่ี วคุ้มกบั เวลาและเงนิ ทองที่ เสียไป

6 มคั คุเทศก์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คอื1. มัคคุเทศก์เชิงชีวิต ( live Guide ) ได้แก่ บุคคลทน่ี าทางชี้ทางให้แก่ นักท่องเทยี่ ว ( tourist ) โดยให้คาแนะนาและอธิบายในขนาดเทย่ี ว2. มัคคุเทศก์ไร้ชีวติ ( Guide Book ) ได้แก่ เอกสารต่างๆ ส่ิงตพี มิ พ์ท่ี นักท่องเที่ยวนาติดตัวไปเพ่ือประกอบการท่องเที่ยว มีคาอธิบายสถานท่ี ท่องเท่ียว การเดินทาง อาจจะมีรูปประกอบด้วยเป็ นเหมือนคู่มือการ ท่องเทย่ี ว ( Travel Book ) การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทยได้แยก ประเภทมัคคุเทศก์ไว้ใน พรบ. ธุรกิจนาเที่ยวมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2535 เพื่อ ความชัดเจนในการออกใบอนุญาต แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดงั นี้

7 1. มคั คุเทศก์ทว่ั ไป (ต่างประเทศ) แถบสี บรอนซ์เงนิ นาเทยี่ วให้แก่นักท่องเทย่ี ว ชาว ไทย หรือชาวต่างประเทศ สามารถนา เทย่ี ว ได้ทวั่ ราชอาณาจกั ร2. มัคคุเทศก์ทว่ั ไป (ไทย) แถบสีบรอนซ์ทอง นาเทยี่ วได้เฉพาะนักท่องเทย่ี วชาว ไทยสามารถนาเทย่ี วได้ทว่ั ราชอาณาจักร

81. มคั คุเทศก์เฉพาะ (ต่างประเทศเฉพาะ พนื้ ท่ี)แถบสีชมพูนาเทยี่ วให้แก่นักท่องเทย่ี ว ชาวไทยหรือชาวต่างประเทศ เฉพาะจังหวดั ท่ี ระบุไว้บนบตั รและจงั หวดั ทมี่ พี นื้ ทต่ี ิดต่อ2. มคั คุเทศก์เฉพาะ (ไทยเฉพาะพนื้ ที่) แถบสีฟ้ านาเทยี่ วเฉพาะนักท่องเทยี่ วชาวไทย เฉพาะจังหวดั ทรี่ ะบุไว้บนบตั รและจงั หวดั ทมี่ พี นื้ ท่ีติดต่อ

9 3. มคั คุเทศก์เฉพาะ (เดนิ ป่ า) แถบสีเขยี ว นา เทยี่ วให้แก่นักท่องเทย่ี วชาวไทย หรือชาว ต่างประเทศในเขตพนื้ ทป่ี ่ า4. มัคคุเทศก์เฉพาะ (ศิลปวฒั นธรรม) แถบสี แดง นาเทยี่ วให้แก่นักท่องเทย่ี วชาวไทยหรือ ชาวต่างประเทศทางด้านประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี ศิลปวฒั นธรรมวรรณคดไี ทย ได้ทว่ั ราชอาณาจกั ร

10 5. มคั คุเทศก์เฉพาะ (ทางทะเล) แถบสีส้ม นาเทย่ี วให้แก่นักท่องเทยี่ วชาวไทย หรือชาว ต่างประเทศในเขตพนื้ ทที่ างทะเล6. มัคคุเทศก์เฉพาะ (ทะเลชายฝั่ง) แถบสีเหลอื ง นาเทย่ี วให้แก่นักท่องเทยี่ วชาวไทยหรือชาวต่างประเทศในเขตพนื้ ทที่ างทะเลหรือ เกาะต่างๆ โดยมรี ะยะห่างจากชายฝ่ังถึง สถานทที่ ่องเทยี่ วได้ไม่เกนิ ๔๐ ไมล์ทะเล

11 7. มคั คุเทศก์เฉพาะ (แหล่งท่องเทยี่ ว ธรรมชาต)ิ แถบสีม่วง นาเทย่ี วให้แก่ นักท่องเทยี่ วชาวไทย หรือชาวต่างประเทศ เฉพาะภายในแหล่งท่องเทยี่ วธรรมชาตทิ ร่ี ะบุ ช่ือไว้บนบตั ร8. มคั คุเทศก์เฉพาะ (วฒั นธรรมท้องถ่นิ ) แถบสีนา้ ตาล นาเทย่ี วให้แก่นักท่องเทย่ี วชาว ไทยหรือชาวต่างประเทศทางด้านวฒั นธรรมท้องถ่นิ เกยี่ วกบั ศิลปวฒั นธรรมประเพณีประวตั ศิ าสตร์ ภูมศิ าสตร์ โบราณคดี เฉพาะภายในแหล่งท่องเทยี่ ววฒั นธรรมท้องถิ่นท่ีระบุชื่อไว้ในบตั รเท่าน้ัน

12 สาหรับคาว่า มัคคุเทศก์ หรือคาว่า ไกด์ เพียงแต่ว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งต่าง ๆ ออกไปอย่างไร หรือสิ่งท่ีเราถ่ายทอดหรือส่ือสารออกไปนักท่องเท่ียวจะเข้าใจหรือประทับใจมากน้อยแค่ไหน เพราะ งานเป็ นมัคคุเทศก์เป็ นงานบริการอย่างหนึ่ง ดังน้ันผู้ที่จะให้บริการควรจะมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง ถึงจะให้บริการคนอ่ืนได้ดี ก็ควรจะเป็ นคนท่ีมีบุคลิกภาพท่ีดีคือท้ังภายนอกและภายใน บุคลิกภาพภายนอกคือ เวลาเขาเห็นเขาก็ประทับใจ แต่เขายังไม่รู้ว่าภายในเป็ นอย่างไร เรากแ็ สดง บุคลกิ ภาพภายในออกมาด้วย เช่น ยิม้ แย้มแจ่มใสมีนา้ ใจ เออื้ เฟื้ อเผอ่ื แผ่

13ด้านมนุษยสัมพนั ธ์ดี 1 . ยมิ้ แย้ม แจ่มใส 2 . พดู จาสุภาพ อ่อนโยน 3 . อธั ยาศัยดี , มสี ัมมาคารวะ 4 .ทกั ทายนักท่องเทย่ี วก่อนเสมอและยกมือไหว้เมอ่ื เจอนักท่องเทย่ี วทุกคร้ัง 5. มนี า้ ใจกบั นักท่องเทย่ี ว 6. ไม่หวงั ผลประโยชน์จากนักท่องเทย่ี ว 7. ท างานด้วยความซื่อสัตย์และมคี วามจริงใจ 8. ให้ความช่วยเหลอื นักท่องเทยี่ ว 9. ให้คาปรึกษาต่าง ๆ แก่นักท่องเทยี่ ว 10. ให้ความรู้ความเข้าใจกบั นักท่องเทย่ี วในเรื่องทเี่ ป็ นความจริง

14ด้านบุคลกิ ภาพดี 1. แต่งกายสะอาด เรียบร้อยดี 2. ท่าทางดี พดู จาสุภาพดี 3. มีนา้ ใจ ยมิ้ แย้มแจ่มใส 4. รู้จกั การเคารพนับถอื 5. มคี ุณธรรม 6. หน้าตาดี 7. มคี วามจริงใจ 8. มคี วามน่าเช่ือถอื น่าไว้วางใจ

15มีความรู้ดี 1. รู้จักแหล่งท่องเทย่ี วอย่างถูกต้อง ชัดเจน สามารถพดู หรือแนะนาคนอน่ื ได้ 2. มคี วามรู้เกยี่ วกบั สถานทน่ี ้ัน ๆ เป็ นอย่างดี 3. เชี่ยวชาญด้านการเดนิ ทาง 4. มคี วามรู้ด้านการปฐมพยาบาล และด้านความปลอดภยั ในป่ ามสี มุนไพรท่ีสามารถบรรเทาอาการบางอย่างได้ 5. มีความรู้ในด้านการซ่อม บารุงเบอื้ งต้น 6. มีความรู้ในเร่ืองทเี่ กยี่ วกบั สภาพภูมอิ ากาศ 7. ทนั ต่อเหตุการณ์ และข้อมูลข่าวสาร 8. สามารถรู้ถงึ ความต้องการของนักท่องเทยี่ ว 9. รู้จกั วธิ ีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 10. เป็ นนักฟังทดี่ ี ท้งั ฟังข่าวสารและนักท่องเทยี่ ว

16มวี าทศิลป์ 1. พดู มเี หตุมีผล 2. พูดจาไพเราะ 3. มศี ิลปะในการเจรจา 4. พดู น่าสนใจ 5. มสี ัมมาคารวะในการพดู 6. พดู มีหนักมเี บา 7. พูดแบบหลกี เลยี่ งการทะเลาะววิ าท 8. พดู ให้เกดิ ผลดมี ากกว่าผลเสีย 9. พูดให้สนุกสนาน เพลดิ เพลนิ เพราะเดนิ ป่ าจะเหน่ือยมาก เราต้องหาวธิ ีผ่อน คลาย อาจจะพูดเรื่องในป่ า ต้นไม้ หรือ เล่าเร่ืองในท้องถนิ่ เพอื่ ให้ผ่อนคลาย นักท่องเทย่ี วจะได้ไม้ รู้สึกเหนื่อยมาก

17มีความรักงาน 1. สนใจงาน 2. รู้จักมคี วามรับผดิ ชอบเกย่ี วกบั งาน 3. ต้อนรับ ทกั ทายนักท่องเทยี่ ว 4. มีความตรงต่อเวลา อนั นีก้ ส็ าคญั มาก 5. รู้จกั พฒั นางานให้ดขี นึ้ เช่น แม่เหาะมีทเ่ี ทยี่ วทไ่ี หนบ้าง หรือมที างเดนิป่ าที่ น่าสนใจจากอยากจะให้นักท่องเทย่ี วได้รู้จักหรือได้ไป มหี มู่บ้านไหนอกี ทม่ี ีศิลปวฒั นธรรมทเ่ี ราอยาก ให้นักท่องเทย่ี วได้เห็น 8 8 6. ช่วยเหลอื หรือดูแลนักท่องเทยี่ วเมอ่ื มปี ัญหา

181. มใี จรักในด้านการให้การบริการ2. มคี วามรู้เกยี่ วกบั สถานทท่ี ่องเทย่ี วต่าง ๆ3. มีจรรยาบรรณของมคั คุเทศก์ และมีความศรัทธาต่ออาชีพ4. มคี วามรู้เกยี่ วกบั สถานทที่ ่องเทยี่ วต่าง ๆ5. มคี วามจริงใจต่อผู้ใช้บริการ มีความเช่ือม่นั ในตวั เอง6. รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณแี ต่ละท้องถนิ่7. มไี หวพริบดี สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็ นอย่างดี8. มศี ิลปะในการพูด และการบริการ9. มมี นุษย์สัมพนั ธ์ดี เข้มแขง็ สุภาพ อ่อนโยน10.มคี วามรู้เร่ืองภาษาต่างประเทศเป็ นอย่างดี

191.ความสามารถทางภาษา ไม่จาเป็ นต้องเป็ นภาษาองั กฤษเท่าน้ัน ภาษาอะไรกไ็ ด้แม้แต่ภาษา ร่างกายภาษามือ แต่ถ้าจะให้ดถี ้าเรามี ภาษาอย่างอนื่ เพม่ิ ขนึ้ กจ็ ะดี2. ความสามารถด้านการนาเทย่ี ว ต้องคิดว่าเราจะนานักท่องเท่ียวเท่ียวอย่างไรไม่ให้เบื่อ ไม่เหน่ือยมากเกนิ ไป กค็ วรทจ่ี ะมคี วามรู้บ้าง หรือว่าต้องรู้ว่านักท่องเทย่ี วกล่มุ นีเ้ ป็ นคนทชี่ อบซือ้ของอย่างเดยี ว หรือว่าเทย่ี วไปด้วย เรากต็ ้องมีความสามารถทจ่ี ะดูแลเขา

203. ความสามารถด้านวชิ าการ ในการนาเที่ยว อาจจะในส่ วนของวัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ินมัคคุเทศก์เองต้องมีข้อมูล ข้อเท็จจริง ท่ีชัดเจนที่จะบอกเล่าเร่ืองราววัฒนธรรมหลกี เลย่ี งการบอก ข้อมูลทไ่ี ม่เป็ นจริง4. ความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เป็ นส่ิงที่สาคัญ ซึ่งอยู่กับว่าใครจะมีปฏิภาณไหว พริบในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยดี เช่น กรณกี ารเกดิ อุบตั เิ หตุ

21โดยทว่ั ไปบทบาทหน้าทข่ี องมคั คุเทศก์ในฐานะผู้นาเทยี่ ว มหี น้าทห่ี ลกั 3 ประการ1. การรับเข้านักท่องเท่ียว (Transfer In) มีดังนี้ ตรวจดูรายชื่อ Job orderตรวจดูแลยานพาหนะ ตรวจดูเอกสาร ใบอนุญาต มีสมุดจดข้อมูลต่าง ๆ ไปรับนักท่องเที่ยว ณ จุดนัดหมาย รับนักท่องเที่ยวจากโรงแรม และจุดนัดพบต่าง ๆตามท่ี นักทอี่ งเทย่ี วได้ระบุไว้

222. การนาเท่ียว (Guide) มีดังนี้ นัดหมายคนขับรถ ตรวจสอบจานวนนักท่องเท่ียว นาเท่ียวสถานท่ีท่องเที่ยวต่าง ๆไปตามโปรแกรมที่ระบุไว้ในการนาเท่ียว อย่างเคร่งครัด บรรยายให้ความรู้เก่ยี วกับสถานที่ อานวยความสะดวก ดูแลเรื่องอาหาร ความปลอดภัย สร้างความบันเทิง และความสุขให้แก่ นักท่องเที่ยวและนานักท่องเทยี่ วเข้าที่พกั3. การส่งออกนักท่องเท่ียว ( Transfer Out) มีดงั นี้ นานักท่องเทีย่ วไปส่งยงัท่าอากาศยาน ท่าเรือ สถานีรถไฟ หรือสถานีขนส่ง เพ่ือเดินทางกลับ หน้าที่หลักและความรับผิดชอบของการเป็ นมัคคุเทศก์ท่ีจาเป็ นต้องทาคือ กล่าวคา ต้อนรับบอกชื่อ อธิบายการเดินทาง รายการ อธิบายสถานท่ี ท้องถิ่น บอกยา้ ให้ รักษาเวลาการปฏิบัติหน้าที่เมื่อสิ้นสุดการเดินทาง เตือนนักท่องเท่ียวมิให้ลมื ส่ิงของ ส่งกลับโรงแรม ตรวจดูยานพาหนะ จัดทารายการส าหรับบริษัทนาเที่ยว หรือข้อเสนอแนะ

231. ความตระหนักในหน้าทแี่ ละความรับผดิ ชดอบ2. ความซื่อสัตย์สุจริต3. ความรู้จกั ประมาณตน4. ความเข้าใจเพอื่ นมนุษย์5. ความเมตตากรุณาปรารถนาให้ผู้อน่ื มคี วามสุข

24 รักษาความสะอาด และสุขนิสัยส่วนตัว แต่งกายสุภาพ เหมาะสมเรียบร้อย มีกริ ิยา มารยาทสุภาพนุ่มนวล แสดงความเอาใจใส่ ต่อนักท่องเที่ยวทุกคนในกลุ่ม ไม่ทะเลาะกับนักท่องเท่ียว กล่าวทักทาย ยิม้ แย้ม แจ่มใสขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ตรงต่อเวลาในทุก ๆ กรณี มารยาทและการวางตวั ของมัคคุเทศก์เป็ นผู้นา

25 ทะเลาะกับนักท่องเที่ยวท่ีเป็ นลูกค้า ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ก็ตาม ไม่ทาตัวเป็ นครู ไม่แสดงความราคาญ ไม่ควรสู บบุหรี่ ไม่พูดจาหยาบคาย ดุว่านักท่องเท่ียว ให้ความเอาใจใส่แก่นักท่องเที่ยว ในความดูแลอย่างไม่ทั่วถึง ไม่สม่าเสมอ เอาเรื่องส่วนตวั มาเล่าให้นักท่องเทย่ี วฟัง หวงั ผลประโยชน์จากร้านค้าทีน่ านักท่องเที่ยวไปซื้อของจนทาให้นักท่องเที่ยวต้องเสียผลประโยชน์จากการซื้อของแพง หรือของทมี่ คี ุณภาพท่ี

https://bloggerkrusaisuda.files.wordpress.com/2015/05/e0b980e0b8ade0b881e0b8aae0b8b2e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b0e0b881e0b8ade0b89a-e0b980e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8ade0b887e0b8abe0b8a5e0b8b1e0b881.pdf

นางสาว นภสั สร ธนสมบูรณ์ นาย รุ่งภพ บุญวงค์ นาย นนทวฒั น์ โสดเสียว ช้ันปวช.3 แผนกวชิ า การท่องเทยี่ ววทิ ยาลยั บริหารธุรกจิ และการท่องเทยี่ วกรุงเทพ