Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ซะกาต

ซะกาต

Published by cismael.10, 2021-04-22 08:11:58

Description: ซะกาต

Search

Read the Text Version

อรรถาธิบายอลั หะดษี อ.อสิ มาแอล เจะเลง็ สาขาสหวทิ ยาการอิสลามเพื่อการพฒั นา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวอทยาลยั ราชภฎั พระนครศรีอยธุ ยา

เนอื ้ หา/กิจกรรมการเรียนการสอน  ความหมายของซะกาต  ซะกาตในอสิ ลาม  หลกั การอิสลามขอ้ ท่ีสาม  ทรพั ยส์ นิ ที่จาเป็นตอ้ งจา่ ยซะกาต  ผมู้ ีสิทธ์ิไดร้ บั ซะกาต  แบบฝึกหัดทา้ ยบท

ความหมายของซะกาต คาวา่ “ซะกาต” เป็นคาภาษาอาหรับทม่ี คี วามหมายว่า “การ ขดั เกลาใหส้ ะอาดบริสุทธิ” “การเพม่ิ พูล” และ “การเจริญงอกงาม”

ซะกาตในอสิ ลาม ในคาสอนของอิสลาม เราจะพบว่ามีรายละเอียดต่างๆ เกีย่ วกบั หลักพื้นฐานอนั เป็นปัจจัยในการดารงอยู่ของมนุษย์ไว้อย่าง ครบถ้วน ครอบคลุมทกุ อริ ยิ าบทในการดาเนินชวี ติ ของมนษุ ย์

ซะกาตในอิสลาม เชน่ ด้านความเชอื่ และอิบาดะฮฺซึง่ เป็นภาคความสมั พันธ์ของ มนุษย์กับพระเจา้ ด้านมารยาท ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม ดา้ นการเมือง การปกครอง ดา้ นการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ด้านสถาบันครอบครัว ดา้ นงานสาธารณกศุ ล ดา้ นสิทธิมนุษยชน ด้านการอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อม ดา้ นบทบาทสตรี ด้านภารกจิ ของเยาวชน และอ่ืนๆ

ซะกาตในอสิ ลาม จากหลักการอิสลามท้ังห้าประการ ก็จะพบว่าอิสลามไม่ได้ เน้นหรอื ให้ความสาคัญเฉพาะแคใ่ นด้านความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับพระเจ้าเพยี งอย่างเดียวเท่านั้น แต่อิสลามได้มุ่งหมายเพ่ือสร้าง ความสมดุลใหก้ ับมนุษย์ในดา้ นอน่ื ๆ ด้วย ทา่ นนบไี ด้กล่าวถงึ หลักการ อิสลามทง้ั ห้าน้ีไว้วา่

ซะกาตในอิสลาม ‫ َوِاقَا ِم‬،‫ا ََدو ِةَصَأ ْ ْونِم ََْلرَم ِا َََ َضلا ِاَناْل»اللُه َوَأ ان ُم َح ام ًدا َر ُسو ُل اللِه‬،َ‫َح َِّجشه‬،ْ‫خ ٍَوالس‬،ْ ََ‫ل ْ َسوِاََي َتلاُمِءعَالََازلََك ِة‬،ِ ْْ‫ال«بُاِِص َََنلاِة‬ “ ศาสนาอิสลามนัน้ ถกู สถาปนาบนหลกั หา้ ประการ นั่นคอื การปฏิญาณวา่ ไมม่ ีพระเจ้าอ่ืนใดนอกจากอัลลอฮฺและมหุ มั มดั น้ันเปน็ ศาสนทตู ของอัลลอฮฺ การดารงไว้ซงึ่ การละหมาด การจ่ายซะกาต การทาหัจญ์ และการถือศีลอดใน เดือนเราะมะฎอน” (บนั ทกึ โดยอัลบคุ อรีย์ และมสุ ลิม)

ซะกาตในอสิ ลาม หลักการอิสลามข้อทสี่ าม การจา่ ยซะกาต เป็นสัญลกั ษณ์ดา้ น เศรษฐกิจ ซงึ่ มีนัยรวมถึงระบบการจัดการทรัพย์สินในรูปแบบอ่ืนๆ ดว้ ย อาทิ การค้าขาย การกสกิ รรม การจัดการมรดก การบริจาค การ วะกฟั และอื่นๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง

ซะกาต เสาหลกั ตน้ ที่สามของศาสนาอิสลาม ซะกาตคือหน่งึ ในเสาหลักที่สาคัญของศาสนาอิสลาม เป็นรุ ก่นหนงึ่ ในจานวนรุก่นอิสลามท้ังห้าประการ สถานะของซะกาตจึง ไม่ไดน้ ้อยไปกว่าสถานะของรกุ ่นข้ออน่ื ๆ เลย ประหนง่ึ ว่าหากไมม่ ีการ จ่ายซะกาตรวมอยใู่ นหลกั การท้ังหา้ ประการน้ี อสิ ลามกไ็ มใ่ ช่ศาสนาที่ สมบรู ณอ์ กี ตอ่ ไป

ซะกาต เสาหลกั ต้นทสี่ ามของศาสนาอสิ ลาม ด้วยเหตนุ ี้เอง ท่านอบู บกั รฺ เราะฎิยัลลอฮุอนั ฮุ เคาะลฟี ะฮฺคน แรกของอิสลามจงึ ไดย้ ืนกรานทีจ่ ะทาสงครามตอ่ สูก้ ับบรรดาผทู้ ่ี ปฏิเสธการจ่ายซะกาต หลังจากการเสียชวี ติ ของทา่ นนบี

ซะกาต เสาหลักตน้ ที่สามของศาสนาอิสลาม นอกเหนือไปจากการกาหนดให้ซะกาตเป็นหน่ึงในหลักการ อิสลามทั้งห้าประการ อิสลามยังได้สร้างกระบวนการส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการจา่ ยซะกาตอย่างครบถ้วน ด้วยการกาหนดผลบุญ ความประเสรฐิ และคุณคา่ อันย่งิ ใหญ่ ให้กับบรรดาผทู้ ่ที าหนา้ ท่ใี นการ จา่ ยซะกาตได้อย่างเต็มความสามารถ

ซะกาต เสาหลักตน้ ทสี่ ามของศาสนาอิสลาม แท้จริงแล้วการเสียสละทรัพย์สินเพ่ืออัลลอฮ์น้ัน เป็น สัญลกั ษณข์ องอีหม่าน เป็นสัญลักษร์แห่งความสัจจริงต่อกฏเกณฑ์ ต่างๆและเช่ือม่ันในสัญญาของอัลลอฮ์ และหวังในการตอบแทน เพอื่ ใหต้ ราช่ังของเขานั้นหนักอ้ึงจากความดงี าม และเป็นสาเหตุแห่ง ชัยชนะและการตอบแทนท่ียง่ิ ใหญจ่ ากผทู้ รงมงั่ มีและเมตตาเสมอ

ซะกาต เสาหลกั ตน้ ท่ีสามของศาสนาอิสลาม การจ่ายซะกาตนั้นคือส่ิงที่จะมาซักฟอกจิตใจของผู้จ่ายมัน จากความผิดบาป ชาระลา้ งจิตใจของเขาจากความตระหนี่ถี่เหนียว จากมารยาททีไ่ ม่ดีงามทั้งหลาย และจะทาให้เขาน้ันเป็นผู้ใจบุญศุล ทาน ไดพ้ านกั อยูใ่ นสรวงสวรรค์ใกลช้ ดิ กับอลั ลอฮ์

ซะกาต เสาหลักตน้ ที่สามของศาสนาอสิ ลาม การแจกจา่ ยซะกาต เปน็ การซกั ฟอกทรพั ย์สนิ ให้บริสุทธ์ิจาก ความตระหนี่ เป็นการรักษาทรัพย์สินมิให้สูญหายและลดน้อยลง ดังกล่าวน้ันยงั ถือวา่ เปน็ การเพมิ่ พนู ความจาเรญิ ให้แก่ทรัพย์สิน และ ยังทาให้มีการงอกเงยขึ้นจากความจาเริญในการบริจาคสู่หนทาง ของอลั ลอฮ์ ดังทม่ี บี นั ทกึ ในฮะดษิ ซอ่ เฮยี ะห์จากท่านนบี กล่าวว่า

ซะกาต เสาหลกั ต้นที่สามของศาสนาอสิ ลาม ‫ما هقصت صدقة من مال‬ “การซอ่ ดาเกาะห์ (บรจิ าคทาน) นั้นไม่ได้ทาให้ทรัพยส์ ิน พรอ่ งลงเลย” (บนั ทึกโดยมุสลิม)

ทรพั ยส์ ินท่ีจาเป็นต้องจ่ายซะกาต  โลหะเงนิ และทองคา เงินสด เงนิ ในบัญชี หุน้ สินค้า (ของตนเองไม่ ว่าจะเปน็ ทด่ี นิ หรอื อญั มณี) ที่มไี วข้ ายทง้ั หมดไมใ่ ช่ส่ิงที่คนอ่ืนนามา ฝากขายหากมีมูลค่าเท่าราคาทองคา หนัก 85 กรัม หรือ ประมาณ 5.66 บาท (ทองคาหนึ่งบาทหนกั 15 กรมั ) เม่ือครบรอบ ปีก็จะตอ้ งจ่ายซะกาต 2.5% จากทรัพย์สนิ เหลา่ น้ี

ทรัพย์สินทจี่ าเป็นต้องจ่ายซะกาต  ผลผลิตจากการเกษตร หากเป็นผลผลิตท่ีเกิดจากการใช้ ชลประทาน ท่ีต้องลงทุนอัตราซะกาต คือ5% หากไม่ใช้การ ชลประทานและอาศัยนา้ ฝนอยา่ งเด่ียว อัตราซะกาต คอื 10%

ทรัพยส์ นิ ทจี่ าเป็นต้องจ่ายซะกาต  ปศุสตั วเ์ ช่น แพะ แกะ วัว ความ อูฐ เปน็ ตน้  ขมุ ทรพั ยท์ ่ีพบไดใ้ นแผ่นดิน

ผมู้ สี ทิ ธิ์ได้รบั ซะกาต คัมภีรอ์ ัลกรุ อานกล่าวไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ ซะกาตไม่ใชส่ ทิ ธิของ เราหากเปน็ สิทธิทอ่ี ลั ลฮฺ ได้กาหนดไวเ้ พ่ือ 1. คนยากจน 2.จนอนาถา 3.คนท่ีทาหนา้ ที่ในเรือ่ งจดั การซะกาต 4.คนที่มีหวั ใจโน้มมาส่อู ิสลาม

ผ้มู ีสทิ ธ์ิไดร้ ับซะกาต 5.ทาสและ เชลย 6.คนมีหนสี้ นิ 7.คนทอ่ี ยใู่ นหนทางของอัลลอฮฺ 8.คนทตี่ ดิ ขัดในระหว่างเดนิ ทาง

แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท  สรปุ ส่งิ ท่ไี ดเ้ รียนรู้จากหะดษี บทน้ี ‫ َوِاقَا ِم‬،‫ا ََدو ِةَصَأ ْ ْونِم ََْلرَم ِا َََ َضلا ِاَناْل»اللُه َوأَ ان ُم َح ام ًدا َر ُسو ُل اللِه‬،َ‫َح َِّجشه‬،ْ‫خ ٍَوالس‬،ْ ََ‫ل ْ َسوِاََي َتلاُمِءعَالََازلََك ِة‬،ِ ْْ‫ال«بُاِِص َََنلاِة‬  ให้ศกึ ษาคน้ คว้าและเขยี นหะดีษทเ่ี ก่ียวข้องกับซะกาตทั้งหมดทม่ี ี กลา่ วในบทบญั ญตั ขิ องศาสนาอสิ ลาม อธิบาย พรอ้ มระบสุ ง่ิ ท่ีได้ เรยี นรู้จากหะดษี น้นั ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook