อารยธรรมอสิ ลาม อ.อิสมาแอล เจะเล็ง สาขาสหวิทยาการอิสลามเพอ่ื การพฒั นา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา
เนอื ้ หาทีจ่ ะศกึ ษาแลกเปลย่ี น การฟื น้ ฟูอารยธรรม อทิ ธิพลทางความคิดของกรีกที่มีตอ่ อสิ ลาม มรดกตกทอดในภมู ิปัญญาตะวนั ตก
การฟืน้ ฟอู ารยธรรม ช่วงเวลาสาคญั มากชว่ งหนงึ่ ในประวตั ิศาสตร์ยุโรป คือ ยุค ฟื น้ ฟูศลิ ปวทิ ยาการ (Renaissance) เหตทุ ีย่ คุ นสี ้ าคญั เพราะ เป็นเวลาที่ภมู ิปัญญาของยโุ รปเบ่งบาน มีทงั้ การรือ้ ฟื ้นองค์ความรู้ ยคุ โบราณและการสงั เคราะหอ์ งค์ความรู้ใหม่ ทาให้ศิลปวิทยการ ตงั้ แต่สมัยคลาสสกิ ของยโุ รปหลายสานกั คิดซึง่ เคยขาดช่วงหรือถกู บดบงั ภายใต้อทิ ธพิ ลของศาสนาคริสต์กลับมามีพืน้ ท่ีสังคมอีกครัง้ โดยหลกั ฐานมากมายทงั้ ในรูปของศิลปวตั ถุ สถาปัตยกรรม หรือ วรรณกรรม
การฟืน้ ฟอู ารยธรรม การท่ีมรดกทางวฒั นธรรมเหล่านนั้ หวนกลบั มาเป็ นส่วน หนงึ่ ในความเคลอ่ื นไหวทางความคิดในยุโรป นบั เป็ นจุดเปลี่ยนท่ี ทาให้สังคมยุโรปเหมือนตื่นจากการหลับไหลอนั ยาวนานในภูมิ ปัญญา การฟื ้นฟนู ถี ้ ือเป็ นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ที่ช่วยให้ อารย ธรรมตะวนั ตกเป็นอารยธรรมตะวนั ตกในทกุ วนั นี ้
การฟืน้ ฟอู ารยธรรม อย่างไรก็ตาม มีข้ อเท็จจริงท่ีน่าสนใจอีกประการหน่ึง เก่ียวกบั การฟื ้นฟูศิลปวิทยาการ คอื กระบวนการฟื ้นฟูศิลปวิทยา การจะไม่มีทางเกิดขนึ้ ได้อย่างสมบรู ณ์ หากไม่ได้รับอานิสงส์จาก โลกอิสลาม เนื่องจากองค์ความรู้โบราณของยโุ รปเกือบจะหาย สาบสญู ไปจากทวีปยโุ รปด้วยเหตปุ ัจจยั ทางประวตั ศิ าสตร์ แต่ฝ่ าย ทีเ่ ก็บรักษาสง่ิ เหล่านนั้ ไว้ยาวนานหลลายศตวรรษ คือ โลกอสิ ลาม
การฟืน้ ฟอู ารยธรรม หลกั ฐานที่ดีที่สดุ ชิน้ หนึ่งท่ียืนยนั ถึงการถ่ายทอดและหยิบ ยืมทางปัญญาระหว่างสังคมยุโรปกับอิสลาม คือ ผลงานทาง คณติ ศาสตร์ของ มฮุ มั มัด อิบน์ มซู า อคั ควาริซมี (Muhammad ibn al-khwarizmi ค.ศ. 780-850) นกั คณิตศาสตร์อิสลามที่ มีชอ่ื เสยี งเป็นทรี่ ู้จกั มากท่สี ดุ
อทิ ธิพลทางความคดิ ของกรีกทมี่ ตี ่ออสิ ลาม คา สอ นขอ งอิ สลา ม กับอ งค์ คว า ม ร้ ู ในแบบ กรี กเ ข้ า ม า มี ปฎิสมั พนั ธก์ นั เน่อื งจากเหตปุ ัจจยั ทางประวัติศาสตร์ท่ีอาณาจักร อิสลามขยายอานาจเหนือดินแดนอันกว้างใหญ่ครอบคลุมแหล่ง มรดกอารยธรรมกรีก ประเด็นท่ีน่าสนใจคือ โลกอิสลามต้อง พยายามจดั วางภมู อปัญญากรีกไว้ภายใต้กรอบปรัชญาของศาสนา อสิ ลาม ซงึ่ กระบวนการนถี ้ อื เป็นบริบทสาคญั ในการทาความเข้าใจ การสงั เคราะหอ์ งค์ความรู้ใหม่ในหม่นู กั ปราชญ์อิสลามสมยั กลาง
อทิ ธิพลทางความคิดของกรีกทมี่ ีต่ออสิ ลาม พอสรุปได้ว่า ชาวอาหรับไม่ได้เอาอิทธพิ ลความคิดของกรีก ไปเสียทงั้ หมด แตม่ ีการกลนั่ กรองให้เข้ากบั เป้ าหมายเชงิ ปรัชญาใน วฒั นธรรมของตน
มรกดตกทอดในภมู ิปัญญาตะวนั ตก ภายหลังจากท่ีอัลควาริ ซมีบุกเบิกแนวทางการศึกษา พชี คณติ แล้ว มีนกั ปราญช์ในโลกมสุ ลิมอีกไม่น้อยทศ่ี กึ ษาพีชคณิต เช่นกนั และทาให้มีส่วนทาให้องคค์ วามรู้ด้านนีข้ ยายตวั ไปมาก แต่ วาระสาคญั ท่ีสดุ ทที่ าให้ผลงานคณิตศาสตร์ของอลั ควาริซมีเป็ นที่ รู้จกั ในวงกว้างเกิดจากการแปลและถา่ ยทอดไปส่ยู โุ รป
กิจกรรม ให้นกั ศกึ ษาค้นคว้าประวตั ิ ผลงาน หนงั สอื ที่เขยี น ข้อมลู ทงั้ หมด ท่เี กีย่ วข้องอลั ควาริซมี (สง่ เป็น power point)
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: