รายงานการวจิ ัย เรอื่ ง การแกป้ ัญหาไม่สง่ งานวชิ าคอมพิวเตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกดว้ ย คปู องสะสมแตม้ ผ่าน Bot Line ของผเู้ รียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 โดย นางสาวปยิ ะพร ลม้ิ ขจรเดช ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเฉลิมพระเกยี รติ ๖๐ พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ พิ์ ระบรมราชนิ ีนาถ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2
บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รต๖ิ ๐พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์พระบรมราชนิ นี าถ ท่ี ........................... วันท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2566 เร่ือง รายงานวจิ ยั ในชน้ั เรียน เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ์ิพระบรมราชินนี าถ ด้วยขา้ พเจ้า นางสาวปิยะพร ล้มิ ขจรเดช ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รติ ๖๐ พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิต์ิพระบรมราชนิ ีนาถ ไดจ้ ดั ทำรายงานวจิ ัยในชน้ั เรียน เร่ือง การแก้ปัญหาไมส่ ่งงาน วชิ าคอมพวิ เตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผูเ้ รยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ซ่งึ เป็นการแก้ไขปัญหาและพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น รายละเอียดตามเอกสารแนบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงช่อื ................................................... ( นางสาวปิยะพร ล้ิมขจรเดช ) 1. ความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 4. คำสง่ั ผู้อำนวยการโรงเรียน ................................................................................................ อนุมตั ิ ลงชอ่ื ................................................... ส่งั การ ( นางทองเพียร หงษ์สลี า ) ลงชื่อ.......................................... ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ (นายศุภกฤษ ไชยศร) 2. ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิจัย ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ............................................................................................... ลงชอ่ื ................................................. (นางทองเพยี ร หงษส์ ลี า) ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ 3. ความคิดเห็นของรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ เรยี น รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ เพื่อโปรดพิจารณา ลงช่ือ......................................... (นายสำเริง ยมิ้ ดี) รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
คำนำ เอกสารงานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ในงานวิจัยชั้นเรียนของการเรียนการสอนในรายวิชาของ ผเู้ รียน ซึ่งงานวิจยั ช้ินน้ีไดถ้ ูกพัฒนาขึน้ เพอ่ื พัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนในโรงเรยี นให้ดียิ่งข้ึน จากปัญหาการเรียนการสอนในห้องเรียนที่ครูผู้สอนได้พบเจอพบว่า ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนเนื่องด้วย ความไม่รับผิดชอบของผู้เรียนและวุฒิภาวะ ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ และผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายในการ เรียนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ครูผู้สอนจึงได้ใช้เทคนิคการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) โดยการเสริมแรง ทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาดังกล่าวหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะ เป็นเอกสารทกี่ อ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ผู้อา่ นทกุ ทา่ น นางสาวปยิ ะพร ล้ิมขจรเดช ผู้วิจยั
ก ช่ือผู้วจิ ัย : นางสาวปยิ ะพร ล้ิมขจรเดช ชื่อเรื่อง : การแก้ปัญหาไมส่ ง่ งานวชิ าคอมพิวเตอร์ โดยการเสรมิ แรงทางบวกดว้ ย คูปองสะสมแต้ม ผา่ น Bot Line ของผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา : 2565 บทคัดยอ่ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำการเสริมแรงมาแก้ปัญหาไม่ส่งงานและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เป็นรายบุคคล รวมทั้งนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ได้ ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่พึงประสงค์และมีความสุขในการเรียนรู้ร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้เรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ รายวิชา คอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ว15201 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมีอที่ใชใ้ นการวิจัย ได้แก่ การบันทึกสถติ ิการ ส่งงาน ผลคะแนนกลางภภาคและปลายภาคเรียน วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใชส้ ถิติ รอ้ ยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อการส่งงานและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน 2) ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติการส่งงานหลังการเสริมแรงเชิงบวกแล้ว(ก่อนสอบปลายภาค) ผู้เรียน สถิติการส่งงานมากขึ้นร้อยละ 100 3) หลังจากการนำการเสริมแรงทางบวกใช้กับการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธท์ างการเรียน ผู้เรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อการเสรมิ แรงทางบวกดว้ ยการสะสมแต้มจนครบจะได้รับ รางวัล มากทส่ี ุด ด้านคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลงั การเสรมิ แรงทางบวกแลว้ (หลงั สอบปลายภาค) มีคะแนน วัดผลมากกว่ากอ่ นการเสริมแรง รอ้ ยละ 100 การศึกษาวจิ ยั คร้ังนี้มีประโยชนต์ ่อผู้วิจยั สามารถนำการเสรมิ แรงทางบวกมาช่วยให้คำปรึกษาช้ีแนะแนวทาง และแกไ้ ขปัญหาใหก้ ับผูเ้ รยี นสามารถมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทด่ี ีมากขน้ึ ได้ ทัง้ ยังนำผลจากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ กับการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ให้ได้ทั้งส่งงานครบ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่พึงประสงค์ และมี ความสขุ ในการเรียนรรู้ ว่ มกัน สุดทา้ ยสามารถเผยแพรผ่ ลการศึกษาใหผ้ ทู้ ี่สนใจนำไปใชป้ ระโยชนต์ ่อได้อกี ดว้ ย
สารบญั ข บทคัดย่อ หนา้ สารบัญ ก บทที่ 1 บทนำ ข 1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 2 1.3 ขอบเขตงานวจิ ยั 2 1.4 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 2 1.5 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง 2.1 แนวคิดและทฤษฏกี ารพฒั นา 4 2.2 แนวคิด และทฤษฎีการเสรมิ แรง 12 2.3 งานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 17 บทที่ 3 วิธดี ำเนินการวิจยั 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 19 3.3 เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย 19 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 19 3.5 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล 19 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 4.1 ผลการศกึ ษาขอ้ มลู ทว่ั ไป 20 4.2 ผลการศกึ ษาสถติ กิ ารสง่ งาน 22 4.3 ผลการศึกษาความพงึ พอใจตอ่ การเสรมิ แรงเชิงบวก 25 4.4 ผลการศึกษาคะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 27 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการวจิ ยั 30 5.2 อภปิ รายผล 31 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 31 บรรณานกุ รม 33 ภาคผนวก 34
1 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ให้ความหมายของการศึกษาคือ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความงอกงามของบุคคลโดยถ่ายทอดความรู้การอบรมการสืบสานทางวัฒนธรรมสร้างองค์ ความรทู้ ่เี กิด จากสภาพแวดลอ้ ม สังคม การเรยี นรูใ้ ห้บุคคลเรยี นรู้ตลอดชีวิตการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพฒั นาคนไทยให้ สมบูรณท์ ั้งร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา ความรู้ คณุ ธรรม จริยธรรมวฒั นธรรมการดำรงชีวติ สามารถอยกู่ บั ผู้อน่ื ได้อย่างมี ความสขุ มงุ่ พัฒนาบุคคลให้มีคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนคิดเป็น เน้นปฏิบัติ จัดการได้โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้สติปัญญาในการคิดพินิจ พิเคราะห์ในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสมผล เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันที่ผู้เรียนได้ ศึกษาและให้ผู้เรียนสามารถจัดการเรื่องต่างๆ ในชีวิตได้โดยการเรียนมิใช่จะเรียนเฉพาะอยู่ในตำราเท่านั้น ผู้เรียนยัง จำเป็นต้องฝึกความรับผิดชอบเพื่อตนเองจะสามารถออกไปอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เข้าศึกษาต่อระดับ มัธยมศึกษาได้ทุกคน แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถมงุ่ เน้นในการเรียนให้ผู้เรียนมีคุณภาพที่ดอี ยู่รว่ มกบั ผู้อื่นในสงั คมอย่างมีความสขุ การเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ว15201 ของผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 แบง่ คะแนนออกเป็น 2 สว่ น คือ คะแนนท่ีได้จากกระบวนการเรียนการสอน ซงึ่ คดิ เปน็ ร้อยละ 80 ของคะแนน ทั้งหมด โดยในร้อยละ 80 ได้จากการเก็บคะแนนโดยการทดสอบเป็นรายหน่วยการเรียน และงานที่มอบหมายให้ ผู้เรียนทำส่งเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและทบทวนบทเรียนที่ผ่านมา ครูผู้สอนได้กำหนดงาน ให้ผู้เรียนทำใน ชั่วโมงเรียนหรือฝึกทำหลังจากที่เรียนเนื้อหานั้นๆ เสร็จแล้ว ซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญมากใน กระบวนการเรียนการสอน เพราะนอกจากจะมีคะแนนในส่วนงานท่ีมอบหมายแลว้ ยังมีผลตอ่ การเรียนการสอนในช่วั โมงถดั ไปด้วย เน่อื งจากงาน ทีม่ อบหมายให้ทำจะเปน็ การประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียนของผเู้ รียนว่า มีมากน้อยเพียงใด อีกทั้งยังเป็นการ วัดพฤติกรรมความรับผิดชอบของผู้เรียนได้อีกทางหนึ่ง ถ้าหากผู้เรียนไม่ได้ทำใบงานที่ครูผู้สอนประจำวิชาแจกให้ ผู้เรียนก็จะขาดคะแนนเก็บในส่วนนั้นและครูก็ ไม่สามารถประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนได้ ซึ่งครูผู้สอนได้ สังเกตพบว่า มีผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ทไ่ี มส่ ง่ งานทม่ี อบหมายหรือส่งงานแตไ่ ม่ตรงตามเวลาท่กี ำหนด ดังนน้ั ผู้วิจัยในฐานะท่เี ปน็ ครูผู้สอน ไดเ้ ลง็ เหน็ ถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เหน็ วา่ ควรมีการชว่ ยเหลือผูเ้ รียนท่ีไมส่ ่งงานเป็นประจำ จึงได้ทำการวิจัย เพื่อแก้ปญั หาการไมส่ ง่ งานของผเู้ รียนและพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5/2
2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองดา้ นอนื่ ๆ ไดด้ ยี ่งิ ขน้ึ ตอ่ ไป จากความเป็นมาและความสำคัญดังกล่าวมาแล้วนั้น ผู้วิจัยจึงทำการศึกษา การแก้ปัญหาไม่ส่งงานวิชา คอมพิวเตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เพื่อใช้วิธีการเสริมแรงทางบวกด้วยการสะสมแต้ม เป็นการจูงใจให้ผู้เรียนส่งงาน และ มอบรางวัลให้กับผู้เรียนที่ส่งงานครบ ทำให้ผู้เรียนมีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากขึ้น โดยสามารถนำไป ประยุกต์ใช้กับการเรยี นการสอนในอนาคตได้ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพอ่ื แกป้ ัญหาผเู้ รียนไม่ส่งงานวชิ าคอมพวิ เตอร์ 2. เพื่อนำการเสริมแรงมาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน วิชาคอมพิวเตอร์เพื่อสามารถช่วยให้ คำปรกึ ษา ชแ้ี นะแนวทางแกไ้ ขปญั หาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเปน็ รายบุคคลได้ 3. เพื่อนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้ได้ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนทพี่ ึงประสงค์และมีความสุขในการเรยี นรู้ร่วมกนั ขอบเขตของการวจิ ยั ประชากร คือ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์พระบรมราชนิ ีนาถ กลุ่มตวั อย่าง คือ ผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/2 จำนวน 40 คน โรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิพระบรมราชินนี าถ ทต่ี อ้ งใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวกมาพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตัวแปรในการวจิ ยั คือ การเสริมแรงทางบวก มผี ลต่อการพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ระยะเวลาการทำวจิ ัย ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 (พ.ย. 2565 – ม.ี ค. 2566) นิยามศัพทเ์ ฉพาะ งาน หมายถงึ ใบงานอ่านคดิ วิเคราะหแ์ ละชิ้นงานปฏบิ ัติทางคอมพวิ เตอร์ท่ีครูผ้สู อนให้ทำในช่ัวโมงเรียนนอก ชว่ั โมงเรยี น พฤติกรรม หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ อาการ แสดงออกต่าง ๆ เหล่าน้ัน อาจเปน็ การเคลื่อนไหวที่สงั เกตไดห้ รอื วัดได้ เช่น การเดิน การพดู การเขียน การคดิ การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อย โดยผ่านลำดับขั้นตอนต่างๆ ไปสู่ระดับที่สามารถ ขยายตัวขึ้น มีการปรับปรุงให้ดีขึ้นและเหมาะสมกว่าเดิมเป็นที่น่าพอใจ เช่น ทำงานที่มอบหมายดีขึ้น มีคะแนนสอบ มากขึ้น
3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสำเร็จที่ได้จากการทำงานท่ีต้องอาศัยความพยายามจำนวนหน่ึง ซึ่ง อาจมีผลมาจากการกระทำที่อาศัยความสามารถทางร่างกายหรือสมอง ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์จากการเรียนที่อาศัยการ พัฒนา เช่น จากการสังเกต การตรวจงานท่มี อบหมายรวมทงั้ คะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคเรยี น เปน็ ตน้ การเสริมแรง หมายถึง การทำให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเป็นผล จากการได้รับสิ่งเสริมแรงที่เหมาะสม การเสริมแรงมี 2 ทาง ได้แก่ การเสริมแรงทางบวก เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่ บุคคลพึงพอใจมีผลทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้นและการเสริมแรงทางลบ เป็นการนำเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึงพอใจ ออกไป มีผลทำใหบ้ ุคคลแสดงพฤตกิ รรมถีข่ ้นึ ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั 1. สามารถนำการเสรมิ แรงเชงิ บวกมาพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผเู้ รยี น วชิ าคอมพิวเตอร์ 2. สามารถใหค้ ำปรึกษา ชีแ้ นะแกไ้ ขปัญหาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเปน็ รายบคุ คลได้ 3. สามารถนำผลจากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้ได้ท้ัง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีพึงประสงค์และความสขุ ในการเรียนรู้รว่ มกัน 4. เผยแพร่ผลการศึกษาใหผ้ ูท้ ส่ี นใจนำไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไปได้ กรอบแนวคดิ ในการทำวิจัย ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม การเสริมแรงทางบวกดว้ ย ผู้เรยี นสง่ งานครบ คปู องสะสมแต้ม ผ่าน Bot ผลสัมฤทธิ์สงู ขน้ึ line ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
4 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาการแก้ปัญหาไม่ส่งงานวิชาคอมพิวเตอร์ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการเสริมแรงทางบวก ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดงั นี้ 1. แนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกบั การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 2. แนวคดิ และทฤษฎีการเสริมแรง 3. งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2.1 แนวคดิ และทฤษฎีเก่ยี วกับการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น แนวคดิ ทฤษฎีการพัฒนา แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนา อธิบายได้ว่า สืบเนื่องจากสภาพธรรมชาติที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม หมายถึง มนุษย์โดยธรรมชาติย่อมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ไม่อยู่อย่างโดยเดี่ยว แต่มีข้อยกเว้นที่มนุษย์อยู่โดดเดี่ยวตามล ำพัง เช่น ฤษี การอยู่รวมกนั เป็นกลุ่มของมนุษย์อาจมีได้หลายลักษณะและเรียกต่างกัน เป็นต้นวา่ ครอบครวั (family) เผ่าพันธ์ุ (tribe) ชุมชน (community) สังคม (society) และประเทศ (country) และเมื่อมนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ย่อมเป็น ธรรมชาติอีกที่ในแต่ละกลุ่มจะต้องมี “ผู้นำกลุ่ม” และ “ผู้ตาม” คือ ประชาชนหรือคนในกลุ่ม รวมทั้งมี “การ ควบคุมดูแลกันภายในกลุ่ม” หรือ “การจัดระเบียบภายในกลุ่ม” ซึ่งอาจเรียกว่า การบริหารหรือการพัฒนาภายใน ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและความสุข และในบางกรณีการควบคุมดูแลอาจเกี่ยวข้องกับภายนอกด้วย เช่น กรณีการติดต่อ ประสานงาน การต่อสู้ หรือการทำสงครามกับกลุ่มอื่น สภาพเช่นนี้ได้มีววิ ัฒนาการตลอดมา โดยผู้นำ กลุ่มขนาดใหญ่ เช่น ในระดับประเทศอาจเรียกว่า “นักบริหาร” หรือ “ผู้บริหาร” ขณะที่การควบคุมดูแลหรือการจัด ระเบียบนัน้ เรียกว่า การบริหาร ที่กล่าวมานี้เป็นมุมมองในแง่ของนักบรหิ าร แต่ถ้าในมุมมองของนักพัฒนา อาจเรียก ผู้บริหารและการบริหารนั้นว่า นักพัฒนาและการพัฒนา ตามลำดับ ด้วยเหตุผลเช่นนี้ มนุษย์จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงจาก การพฒั นาได้ง่าย และทำให้กล่าวได้อยา่ งมั่นใจว่า \"ท่ีใดมีกลมุ่ ท่นี น่ั ย่อมมกี ารพัฒนา” จากสภาพของกลุ่มในยุคเริ่มแรกซึ่งธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์อทิ ธิพลของธรรมชาติจะมี ตอ่ มนษุ ย์ทร่ี วมกันอยใู่ นกลมุ่ มาก โดยการดำรงชวี ิตและการประกอบอาชีพของมนุษย์จะอยใู่ กล้ชดิ กับธรรมชาติ อีกท้ัง ธรรมชาตแิ ละผู้นำเป็นตัวกำหนดแนวทางการพัฒนา ซ่งึ ครอบคลมุ วธิ ีการประกอบอาชีพด้วย ลกั ษณะการพัฒนาและ การประกอบอาชพี ในยคุ น้นั ไม่ซบั ซ้อนและจำนวนประชากรก็มไี ม่มาก ต่อมาเมื่อจำนวนมนุษย์ที่รวมตัวกันอยู่ในกลุ่มมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ทำให้กลุ่มมีขนาดใหญ่ขึ้น เปลี่ยนเป็น ชุมชน และเป็นประเทศ ในเวลาเดียวกัน ทรัพยากรธรรมชาติเริ่มเสื่อมโทรม ผู้นำและผู้ตาม คือ ประชาชนพยายาม เอาชนะธรรมชาติไดใ้ ช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน (folkwisdom) และการลองผดิ ลองถูก (trial and error) เพื่อกำหนดแนว ทางการพัฒนาและการประกอบอาชีพ เมื่อกลุ่มมีขนาดใหญ่และมั่นคงขึ้นเป็นประเทศ ธรรมชาติและ
5 ทรัพยากรธรรมชาติได้ถูกนำมาใช้เป็นจำนวนมาก บางส่วนเสื่อมสลาย ถูกทำลาย และสิ้นสภาพไปเป็นจำนวนมาก ประกอบกับผู้นำและผู้ตามหรือประชาชนมีการศึกษาสูงขึ้น มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และความชำนาญ เขา้ มามีส่วนร่วมในกิจกรรมเพิ่มมากข้นึ นำวชิ าความรูท้ ีเ่ ป็นศาสตร์ (science) หรือความร้ทู ่เี ป็นระบบ ข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น จำนวนประชากรได้เพิ่มมากขึ้นเกิดการแข่งขันกันระหว่างกลุ่ม ระหว่าง ประเทศหรือหลายๆ ประเทศ เพื่อเร่งปริมาณและเวลาในการทำงานและการผลิต เป็นต้น ทำให้ผู้นำประเทศต้อง ค้นหาแนวทางการพัฒนาต่างๆ เพื่อเอาชนะธรรมชาติ พึ่งพาธรรมชาติน้อยลง หรือไม่ต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลของ ธรรมชาติ ตัวอย่างเช่นเดิมมนุษย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของธรรมชาติ ทุกปีจะเกิดน้ำท่วม ต่อมามนุษย์มีวิชาความรู้ มี ความสามารถ และมีเทคโนโลยีสูงขึ้น ได้สร้างเขื่อนป้องกันน้ำท่วม และยังนำธรรมชาติไปใช้ประโยชน์มากขึ้น เช่น มนุษย์นำน้ำจากน้ำตกไปผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า และมีหน่วยงานที่คอยเฝ้าระวังและเตือนภัยเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา เป็นต้น สง่ิ ท่ีมนษุ ย์สรา้ งขนึ้ (human component) ถือว่าเปน็ การประดิษฐ์คดิ ค้นหรอื สรา้ งผลผลิต ใหม่ (innovation) เพอ่ื นำมาใชแ้ ทนสงิ่ ท่ีธรรมชาติสร้างข้ึน (natural component) หรอื ใชแ้ ทนทรัพยากรธรรมชาติ (natural resource) ทนี่ บั วันจะลดน้อยลง ที่กล่าวมานี้ ถือว่าเป็นวิวัฒนาการของแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาของมนุษย์ (ผู้นำและผู้ตาม) ที่ล้วน เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ โดยเริ่มต้นจากหนึ่ง การพัฒนาในสภาพที่มนุษย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของธรรมชาติ และ วิวัฒนาการมาเป็น สอง การพัฒนาที่มนุษย์พยายามเอาชนะธรรมชาติ จากนั้น จึงเป็น สาม การพัฒนาที่มนุษย์ เอาชนะธรรมชาติได้ และนำธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ ทั้งหมดนี้เป็นการพัฒนาเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน ทิศทางทดี่ ขี น้ึ (better change) ชว่ ยเพมิ่ อตั ราเรง่ ในการทำกิจกรรมหรือการผลติ ใหร้ วดเรว็ ขน้ึ (better speed) และ ทำใหส้ ภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ดขี น้ึ (better life) กว่าเดิมทั้งในด้านคณุ ภาพและปริมาณ โปรดดูภาพที่ 2.1
6 สาม ทรพั ยากรธรรมชาตเิ ส่ือมสลาย ถกู ทำลาย และสิ้นสภาพมากขึ้น ผ้นู ำ + ผ้ตู าม (ประชาชน) ใช้การมสี ว่ นรว่ ม วชิ าความรู้ ข้อมูลขา่ วสาร เทคโนโลยี และ การแขง่ ขัน กำหนด แนวทางการพัฒนาท่ี มนุษยเ์ อาชนะธรรมชาตไิ ด้ และ นำธรรมชาตมิ าใช้ประโยชน์ สอง ทรัพยากรธรรมชาตเิ ริ่มเสอ่ื มโทรม ผู้นำ + ผู้ตาม (ประชาชน) ใช้ภูมิปัญญาชาวบา้ น และลองผิดลองถูก กำหนด แนวทางการพฒั นามนุษย์ที่พยายามเอาชนะธรรมชาติ หน่ึง ทรัพยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบรู ณ์ อทิ ธพิ ลของธรรมชาติ + ผู้นำ กำหนด แนวทางการพฒั นาที่มนุษย์อยภู่ ายใต้อิทธพิ ลของธรรมชาติ ภาพที่ 2.1 ววิ ัฒนาการของแนวคดิ พื้นฐานของการพัฒนา คำว่า การพัฒนา ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Development นำมาใช้เปน็ คำเฉพาะและใช้ประกอบคำอืน่ ก็ไดเ้ ช่น การพฒั นาประเทศ การพฒั นาชนบท การพฒั นาเมือง และการพฒั นาข้าราชการ เปน็ ต้น การพัฒนาจึงถูกนำไปใช้กัน โดยทั่วไปและมคี วามหมายแตกตา่ งกันออกไปดงั กล่าวแล้ว เก่ียวกบั ความหมายของการพัฒนานน้ั ได้มีผใู้ ห้ความหมาย ไวห้ ลายความหมายทง้ั ความหมายทค่ี ล้ายคลงึ กนั และแตกตา่ งกนั โดยรูปศัพท์ การพัฒนา มาจากคำภาษาอังกฤษวา่ Development แปลว่าการเปลีย่ นแปลงทีละเล็กละน้อย โดยผ่านลำดับข้ันตอนต่าง ๆ ไปสู่ระดับที่สามารถขยายตวั ข้ึนเติบโตขึ้น มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น และเหมาะสมกว่าเดมิ หรอื อาจกา้ วหน้าไปถึงขน้ั ที่อุดมสมบรู ณ์เป็นที่น่าพอใจ ส่วนความหมายจากรปู ศัพท์ในภาษาไทยนน้ั หมายถึง การทำ ความเจริญ การเปลี่ยนแปลงในทางที่เจริญขึ้น การคลี่คลายไปในทางที่ดี ถ้าเป็นกริยาใช้คำว่า พัฒนา หมายความว่า ทำใหเ้ จริญ คอื ทำใหเ้ ตบิ โตได้ งอกงาม ทำใหง้ อกงามและมากขนึ้ เชน่ เจริญทางไมตรี การพฒั นา โดยความหมายจากรปู ศพั ท์จึงหมายถึง การเปลย่ี นแปลงสิง่ ใดสิ่งหนง่ึ ใหเ้ กิดความเจริญเติบโตงอก งามและดีขึ้นจนเป็นที่พึงพอใจ ความหมายดังกล่าวนี้ เป็นที่มาของความหมายในภาษาไทยและเป็นแนวทางในการ กำหนดความหมายอืน่ ๆ นักพัฒนาบริหารศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา เป็น 2 ระดับ คอื ความหมายอยา่ ง แคบและความหมายอย่างกว้าง ความหมายอย่างแคบ การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการกระทำ การให้ดีขึ้นอันเป็นการเปลี่ยนแปลงในด้านคุณภาพเพียงด้านเดียว ส่วนความหมายอย่างกว้างนั้น การพัฒนา เป็น กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการกระทำทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นไปพร้อม ๆ
7 กัน ไม่ใช่ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว ในทางพุทธศาสนา การพัฒนา มาจากคำภาษาบาลีว่า วัฒนะ แปลว่า เจริญ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ส่วน คือ การพฒั นาคน เรยี กว่า ภาวนากบั การพัฒนาสิ่งอื่นๆ ท่ไี มใ่ ชค่ น เชน่ วตั ถุส่ิงแวดล้อมต่างๆ เรยี กว่า พัฒนา หรอื วัฒนา เช่น การสร้างถนน บอ่ น้ำ อ่างเก็บน้ำ เปน็ ตน้ ซ่ึงเป็นเรือ่ งของการเพ่มิ พนู ขยาย ทำให้มาก หรือทำให้เตบิ โตข้ึนทางวัตถุและได้เสนอข้อคิดไวว้ ่า คำว่า การพัฒนา หรือ คำว่า เจริญ นั้นไม่ได้แปลวา่ ทำให้มากข้ึน เพิ่มพูนขึ้นอย่างเดียวเท่านั้น แต่มีความหมายว่า ตัดหรือทิ้ง เช่น เจริญพระเกศา คือตัดผม มีความหมายว่า รก เช่น นุสิยา โลกวฑฺฒโน แปลว่า อย่าเป็นคนรกโลกอีกด้วย ดังนั้นการพัฒนาจงึ เปน็ สิ่งที่ทำแล้วมีความเจริญจรงิ ๆ คือ ต้อง ไม่เกิดปัญหาติดตามมาหรือไม่เสื่อมลงกว่าเดิม ถ้าเกิดปัญหาหรือเสื่อมลง ไม่ใช่เป็นการพัฒนา แต่เป็นหายนะ ซึ่ง ตรงกนั ขา้ มกบั การพัฒนา ซง่ึ มกี ารเปล่ยี นแปลงที่มีการกำหนดทศิ ทาง (directed change) หรือการเปลีย่ นแปลงท่ีได้ วางแผนไวแ้ นน่ อนลว่ งหนา้ (planned change) มกี ารกระทำใหเ้ กิดข้ึน คือ เปลย่ี นจากสภาพหนึ่งไปสู่อกี สภาพหน่ึงที่ ดีกว่า ดังนั้น การพัฒนาที่แท้จรงิ ควรหมายถงึ การทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนมีความสุข ความสะดวกสบาย ความอยู่ดีกินดี ความเจริญทางศิลปวัฒนธรรม และจิตใจและความสงบสันติ ซึ่งนอกจากจะขึ้นอยู่กับการได้รับปัจจัย ทางวัตถุเพื่อสนองความต้องการของร่างกายแล้ว ประชาชนยังต้องการพัฒนาทางด้านการศึกษาสิ่งแวดล้อมที่ดี การ พกั ผอ่ น หย่อนใจและการพฒั นาทางวัฒนธรรมและจิตใจดา้ นตา่ งๆ ดว้ ยความต้องการทั้งหมดนี้บางครั้ง เราเรียกกันว่า เป็นการพัฒนา “คุณภาพ” เพื่อที่ให้เห็นวา่ การพัฒนาไม่ได้ขึ้นอยูก่ ับการเพิม่ ปริมาณสินค้าหรือการเพ่ิมรายไดเ้ ท่านัน้ หากอย่ทู ก่ี ารเพิ่มความพอใจความสุขของประชาชนมากกวา่ การพฒั นา อาจจดั แบง่ ออกเป็น 3 ดา้ นใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ 1) การพัฒนาทางเศรษฐกิจ หมายถึง การพัฒนาด้านการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจกการแลกเปลี่ยน การ ลงทุนเพื่อทำใหป้ ระชาชนไมย่ ากจน เป็นตน้ 2) การพัฒนาทางสังคม หมายถึง การพัฒนาด้านจิตใจ แบบแผน พฤติกรรม รวมตลอดทั้งความสัมพันธ์ของ คนในสังคมเพือ่ แกป้ ญั หาต่างๆ ในสงั คม เป็นต้น 3) การพัฒนาทางการเมือง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สร้างกระบวนการปกครองให้เป็น ประชาธิปไตย และประชาชนในประเทศมีสิทธิเสรีภาพตามกฎหมาย เป็นต้นพร้อมกันนั้น ยังได้จัดกลุ่มการให้ ความหมายคำวา่ การพัฒนา ออกเป็น 5 กลุ่ม ดังน้ี กลุ่มที่หนึ่ง มีความเห็นว่า การพัฒนา หมายถึง ความเจริญเติบโต (growth) อันเป็นการเพิ่มของผลผลิต (output) ซึ่งกระทำโดยระบบสังคม (social system) ร่วมกับสิ่งแวดล้อม(environment) เช่น การผลิตข้าวเพิ่มข้ึน การสร้างถนน สะพาน เข่อื น หรือบ้านเรอื น ให้ประชาชนได้มีโอกาสใชส้ ิ่งเหลา่ นม้ี ากข้นึ กลุ่มที่สอง มีความเห็นว่า การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบการกระทำ (development is change in the with performs) เช่น มกี ารเปล่ยี นแปลงระบบสังคม ระบบการเมอื งและระบบบรหิ าร เปน็ ต้น กลุ่มที่สาม มีความเห็นว่า การพัฒนา หมายถึง การเน้นที่วัตถุประสงค์เป็นหลัก ถ้าเป็นการบริหารจัดการก็ ต้องบริหารจัดการด้วยวัตถุประสงค์ (management by objectives) คือ การปฏิบัติงานมุ่งไปที่วัตถุประสงค์นัน่ เอง
8 การพัฒนาตามความเหน็ ของกล่มุ นจ้ี ึงขน้ึ อย่ทู ี่วัตถุประสงค์วา่ ผู้กำหนดวตั ถุประสงค์จะได้ระบไุ ว้อย่างไร มีอะไรบ้างท่ี ตอ้ งการ ปญั หาต่อมาก็คือ วตั ถุประสงค์ท่ีกำหนดขน้ึ นน้ั มีเหตผุ ลหรือไดร้ ับความเห็นชอบและการสนับสนุนจากบุคคล ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด ซึ่งถ้าวัตถุประสงค์ของประเทศประชาชนในประเทศก็น่าจะเป็นผู้มีส่วนรับรู้ สนับสนุน หรือได้รับประโยชน์จากการพัฒนานั้นด้วย อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ของประเทศ กำลังพัฒนาทั้งหลาย จะมีการ กำหนดไว้กวา้ งๆ เชน่ เป็นการสรา้ งความเจริญก้าวหนา้ ในดา้ นเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง เปน็ ต้น กลุ่มที่ส่ี มีความเห็นว่า การพัฒนา หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโดยการวางแผนเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงาน ตามความเห็นของกลุม่ นี้เน้นว่าการพัฒนาอยู่ที่การมีแผน และการนำแผนไปดำเนินการเพ่ือกำหนดหรือก่อให้เกิดการ เปล่ียนแปลงตามความม่งุ หมายหรอื วัตถปุ ระสงค์นนั้ ๆ กลุ่มที่ห้า มีความเห็นว่า การพัฒนา หมายความทั้งในแง่ปริมาณและคุณภาพโดยคุณลักษณะทั้งสองแง่นี้ไม่ อาจแบ่งแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาดคือทั้งปริมาณและคุณภาพต้องควบคู่กันไปเสมอในแง่ของปริมาณ ผลของ การพัฒนาสามารถมองเห็นได้เป็นวัตถุ จับต้องและวัดผลได้ง่าย เช่น เงินเดือนเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น มีถนนหนทาง โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือโรงพยาบาล ส่วนในแง่คุณภาพจับต้องไม่ได้วัดผลได้ยาก เช่น การพัฒนาให้ประชาชนมี ความซอ่ื สัตย์สุจรติ รู้จกั เสียสละเพื่อส่วนรวม มคี วามอดทน ขยันหมั่นเพยี ร รักระเบยี บวินยั และความสะอาด เป็นต้น และเป็นความจริงเสมอว่า การพัฒนาส่วนใหญ่จะเนน้ ในแง่ของปรมิ าณทั้งสิ้นเพราะสามารถที่จะวดั ได้ ยิ่งสังคมเจริญ มากขึ้นเท่าไร การพัฒนาจำต้องใช้ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านที่รู้เฉพาะเร่ืองของสาขาที่ตนชำนาญ โดยขาดความสนใจใน ความเป็นมนุษย์ในวงกว้างออกไป การวัดผลการพัฒนาจึงเน้นไปที่ความสำเร็จในด้านสาขาวิชาชีพของตนเป็นส่วน ใหญ่ เช่น นักเศรษฐศาสตร์จะวัดผลสำเร็จของตนด้วยการเพิ่มผลผลิต รายได้ประชาชาติ เพิ่มการส่งสินค้าออกเพ่ิม การอุตสาหกรรม และเพมิ่ การลงทุน เปน็ ตน้ โดยคำนงึ ถึงมนษุ ยน์ อ้ ยมาก จากความหมาย การพัฒนา ที่ยกมาข้างต้นนี้ ทำให้สรุปได้ว่า การพัฒนา หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีการกระทำให้ เกิดข้นึ หรอื มีการวางแผนกำหนดทศิ ทางไวล้ ว่ งหนา้ โดยการเปลย่ี นแปลงนต้ี ้องเปน็ ไปในทิศทางที่ดีข้ึน ถ้าเปลยี่ นแปลง ไปในทางที่ไม่ดี ก็ไม่เรียกว่าการพัฒนาขณะเดียวกัน การพัฒนามิได้หมายถึงการเพิ่มข้ึนของปริมาณสินค้าหรือรายได้ ของประชาชนเท่าน้นั แตห่ มายความรวมไปถึงการเพ่ิมความพงึ พอใจ และเพิม่ ความสุขของประชาชนด้วย แนวคดิ ทฤษฎผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 1. ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น นกั การศกึ ษากลา่ วถึงความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ดงั น้ี ประภัสสร วงษ์ศรี (254: 42) ได้ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะและ ความสามารถของบุคคล เกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ทีเ่ กิด จากการอบรม หรือจากการสอน การวัดผลสัมฤทธิ์ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถของบุคคลว่าเรียนแล้วมี ความรเู้ ทา่ ใด
9 Eysenck (1972: 16 อ้างถึงใน ชุตินันท์ พุ่มกลิ่น, 2546: 10) ได้ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ขนาดของความสำเร็จที่ได้จากการเรียนที่อาศัยความสามารถเฉพาะตัวบุคคล โดยตัวที่บ่งชี้ถึงผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน อาจจะได้มาจากกระบวนการท่ีไม่ต้องอาศยั การทดสอบ เชน่ การสงั เกต การตรวจการบ้าน หรืออาจได้ ในรูปแบบของระดับคะแนนทีไ่ ด้จากการเรียน ซ่งึ ตอ้ งอาศัยกรรมวธิ ีที่ซับซ้อน และระยะเวลาที่นานพอสมควร หรืออีก วธิ หี นง่ึ อาจวดั ด้วยภาพวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นท่ัวไป ไพศาล หวังพาณิช (2526: 89) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ (Achievement) หรือผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน (Academic Achievement) หมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอน เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกิดจากการฝึกฝนอบรม หรือจากการสอน ซึ่งได้แก่ ความจำ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การนำไปใช้การสังเคราะห์ และการประเมนิ คา่ พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543 : 29) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหมายถึงคุณลักษณะรวมทั้งความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน ทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง จากความหมายดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอนและเป็นผลให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใน ด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมองในการจัดการเรียนมีการกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนสงู 2. การวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นการวัดดูว่า ผู้เรียนมีพฤติกรรมต่างๆ ตามที่กำหนดไว้ในจุดมุ่งหมายของ การเรียนการสอนมากน้อยเพยี งใด เป็นการตรวจสอบการเปลยี่ นแปลงในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซงึ่ เป็น ผลจากการฝึกฝนหรืออบรมในช่วงที่ผ่านมา ไพศาล หวังพานิช (2536 : 89) ได้กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจดุ มงุ่ หมาย และลักษณะวิชาทสี่ อน คือ 1. การวัดดา้ นการปฏบิ ตั ิ เปน็ การตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติ หรือทกั ษะของผ้เู รียน โดยเน้น ใหผ้ ู้เรียนได้แสดงความสามารถดงั กลา่ วในรูปของการกระทำจรงิ ใหอ้ อกเปน็ ผลงาน เช่น วิชาศิลปศึกษา พลศกึ ษา การ ช่าง เป็นต้น การวัดไดโ้ ดยใช้ “ข้อสอบภาคปฏิบัต”ิ (Performance Test) 2. การวัดเนอื้ หา เปน็ การตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกบั เนื้อหา อนั เปน็ ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงพฤตกิ รรมความสามารถในด้านต่างๆ สามารถวัดได้โดยใช้ “ขอ้ สอบวดั ผลสมั ฤทธิ”์ (Achievement Test) 3. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เป็นแบบทดสอบทวี่ ดั ความรู้ของผู้เรียนท่ี ได้เรียนไปแล้ว ซึ่งมักจะเป็นคำถามที่ผู้เรียนตอบด้วยกระดาษและดินสอ (Paper and Pencil Test) กับให้ผู้เรียน ปฏบิ ัติจริง (Performance Test) แบบทดสอบประเภทนี้แบ่งได้เป็น 2 พวก คอื 1) แบบทดสอบของครู หมายถึง ชุด
10 ของข้อคำถามที่ครูเป็นผู้สร้างขึ้น ซึ่งจะเป็นข้อคำถามที่เกี่ยวกับความรู้สึกที่ผู้เรียนได้เรียนในห้องว่า ผู้เรียนมีความรู้ มากแค่ไหน บกพร่องท่ีตรงไหนจะได้สอนเสรมิ หรือวัดความพรอ้ มที่จะข้ึนบทใหม่ ฯลฯ ตามแตท่ ่คี รูปรารถนา 2) แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบประเภทนส้ี ร้างขึน้ จากผเู้ ชยี่ วชาญในแตล่ ะสาขา หรอื ครู ที่สอนวิชานั้น สามารถใช้เป็นหลักเปรียบเทียบเพื่อประเมินค่าของการเรียนการสอนในเรื่องน้ัน ๆ ก็ได้ จะใช้วัดอัตรา ความงอกงามของเด็กแต่ละวัยในแต่ละกลุ่มแตล่ ะภาคก็ได้ จะใช้สำหรับให้ครูวินิจฉัยผลสัมฤทธ์ิระหว่างวิชาต่างๆ ใน เด็กแต่ละคนก็ได้ (ลว้ น สายยศ และ องั คณาสายยศ. 2538 : 146 -147) บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 53) ได้กล่าวว่าแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ในเนื้อหาสาระและตามจุดประสงค์ของวิชา หรือ เนอ้ื หาทส่ี อนน้นั โดยทว่ั ไปจะวัดผลสัมฤทธ์ิในวชิ าตา่ ง ๆ ทโ่ี รงเรยี น วิทยาลยั มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อาจจำแนกออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบอิงเกณฑ์ แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Test) แบบทดสอบที่สร้างขึน้ ตาม จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมื่อน าแบบทดสอบเอาไป Try Out และมีคะแนนจุดตัดหรือคะแนนสำหรับตัดสินว่าผู้สอบ มคี วามรูต้ ามเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้หรอื ไม่การวัดตรงตามจุดประสงค์เปน็ หัวใจสำคญั ของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทนี้ 2. แบบทดสอบอิงกลุ่ม (Norm Referenced Test) หมายถึงแบบทดสอบที่มุ่งสร้างเพื่อวัดให้ครอบคลุม หลักสูตรจึงสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร ความสามารถในการจำแนกผู้สอบตามความเก่งอ่านได้ดี เป็นหัวใจสำคัญ ของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทนี้ การรายงานผลการสอบอาศัยคะแนนมาตรฐาน ซึ่งเป็นคะแนนที่สามารถให้ ความหมายแสดงถึงสถานภาพความสามารถของบุคคลนน้ั เม่ือเปรียบเทยี บกับบุคคลอื่นๆ ทใ่ี ช้เปน็ กลมุ่ เปรยี บเทยี บ สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความสามารถของบุคคล ซึ่ง เป็นผลมาจากการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนนั้น ในการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แนวความคิดใน การวดั ทน่ี ิยม ไดแ้ ก่ การเขยี นขอ้ สอบวัดตามการจัดประเภทจุดมุ่งหมายของการศึกษาดา้ นพทุ ธพสิ ยั ของ วารี ถริ ะจิต (2534 : 220 - 221) ซง่ึ จำแนกจุดมงุ่ หมายทางการศกึ ษาด้านพุทธพิสัยออกเป็น 6 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ความรู้ (Knowledge) เป็นเรอ่ื งที่ตอ้ งการร้วู า่ ผูเ้ รยี นระลกึ ได้จำข้อมลู ทเี่ ปน็ ข้อเท็จจรงิ ได้ เพราะข้อเท็จจริง บางอยา่ งมีคณุ ค่าต่อการเรียนรู้ 2. ความเข้าใจ (Comprehension) แสดงถึงระดบั ความสามารถ การแปลความการตีความและขยายความใน เรื่องราวต่าง ๆ ได้ เชน่ การจบั ใจความได้ อธบิ ายความหมายและขยายเน้อื หาได้ 3. การนำไปใช้ (Application) ต้องอาศัยความเข้าใจเพื่อเป็นพื้นฐานในการช่วยตีความของข้อมูล เมื่อ ต้องการทราบว่าข้อมูลนั้นมีประเด็นสำคญั อะไรบ้าง ต้องอาศัยความรู้จักเปรียบเทียบแยกแยะแตกต่าง พิจารณาการ นำข้อมูลไปใชโ้ ดยการให้เหตุผล 4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นทักษะทางปัญญาในระดับทสี่ งู จะเน้นการแยกแยะขอ้ มลู ออกเปน็ สว่ นย่อย ๆ และพยายามมองหาสว่ นประกอบว่ามีความสัมพันธ์ และการจัดรวบรวมBloom ไดแ้ ยกจุดมงุ่ หมายของการวิเคราะห์
11 ออกเป็น 3 ระดับ คือ การพิจารณาหรือการจัดประเภทองค์ประกอบต่าง ๆ การสร้างความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ระหวา่ งองค์ประกอบเหลา่ นัน้ และควรคำนงึ ถึงหลักการที่ไดจ้ ดั รวบรวมไวแ้ ลว้ 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) การนำเอาองค์ประกอบต่าง ๆ ที่แยกแยะกันอยู่มารวมเข้ากันในรปู แบบใหม่ ถา้ สามารถสงั เคราะหไ์ ด้ ก็สามารถประเมินได้ 6. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึง การใช้เกณฑ์และมาตรฐานเพื่อพิจารณาว่าจุดมุง่ หมายที่ต้องการ นั้นบรรลุหรือไม่ การท่ีผู้เรียนสามารถประเมินค่าได้ต้องอาศัยเกณฑ์หรือมาตรฐานเป็นแนวทางในการตัดสินคุณค่า การตดั สินใด ๆ ทไ่ี มไ่ ด้อาศยั เกณฑท์ ่ีน่าจะเป็นลักษณะความคิดเห็นมากกวา่ การประเมนิ 3. ปจั จัยทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ผลสมั ฤทธิข์ องการเรียน ประภัสสร วงษ์ศรี (2541: 46) กล่าวถึง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ องคป์ ระกอบทีม่ ีความสมั พนั ธก์ บั ความสามารถในการเรยี นรู้ของผเู้ รียน ประกอบด้วย 1) ผู้สอน ควรมีการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ อ่านหนังสือที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ที่สนใจให้มาก เป็น ประสบการณ์ทางการเรียนการสอน ความรู้ของครูผู้สอน การถ่ายทอดความรู้ของคุณภาพของการสอน อุปกรณ์การ สอนท่ที นั สมัย มที ัศนะทดี่ ตี อ่ ผูเ้ รยี น มคี ุณธรรมและมคี วามยุติธรรม การจงู ใจและการกระตุ้นเสรมิ แรงผูเ้ รียน ให้ความ ชว่ ยเหลือ และสามารถแก้ปัญหาใหก้ บั ผู้เรียนไดบ้ รรยากาศในการสอนและสิง่ แวดล้อม 2) ผู้เรียน ได้แก่ พันธุกรรม เชาว์ปัญญา ความถนัด ความสนใจ อารมณ์ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของ ครอบครัว การศึกษาของบิดามารดา การปรับตัว แรงจูงใจ หลักสูตรหรือวิชาที่เรียน วัฒนธรรม ทัศนคติต่อสถาบัน และผูส้ อน บรรยากาศในการเรยี นและส่งิ แวดลอ้ ม อริยา คูหา และบัญญัติ ยงย่วน (2547: 14) กล่าวถึง องค์ประกอบที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประกอบด้วย 5 ดา้ น คอื 1) ความพรอ้ มด้านสติปัญญา หรือความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน 2) บคุ ลิกภาพหรือจติ ลักษณะ เชน่ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ อตั มโนทศั น์ 3) พฤตกิ รรมการเรยี น เช่น วธิ กี ารเรียน การผลดั วนั ประกันพรุ่ง 4) บรรยากาศในการเรียน เช่น ความสมั พันธ์ระหว่างครกู ับผเู้ รยี น วธิ ีการสอนของครู 5) ตวั แปรทางประชากร เช่น อายุ เพศ สถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมการศกึ ษาของบดิ ามารดา เปน็ ตน้ Prescott (1961: 14 - 15 อ้างถึงใน สนธยา เขมวิวัฒน์, 2542: 9) ได้ทำการสรุปองค์ประกอบ ที่เกี่ยวข้อง กับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรียนไว้ 6 ดา้ น ดงั นี้ 1) องค์ประกอบทางด้านร่างกาย ได้แก่ อัตราการเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพข้อบกพร่องและลักษณะ ทา่ ทางของร่างกาย 2) องค์ประกอบทางความรัก ได้แก่ ความสัมพันธ์ของบิดามารดา และความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิ กใน ครอบครวั
12 3) องค์ประกอบด้านวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ได้แก่ ความเป็นอยู่ของสมาชิกในครอบครวั การอบรม และ ฐานะทางบ้าน 4) องค์ประกอบด้านความสัมพันธใ์ นกลมุ่ เพ่ือน ไดแ้ ก่ ความสัมพันธก์ บั เพ่ือนวยั เดยี วกนั 5) องค์ประกอบทางการพัฒนาแห่งตน ไดแ้ ก่ สติปัญญา ความสนใจ 6) องค์ประกอบทางการปรบั ตัว ไดแ้ ก่ ปัญหาการปรบั ตัว การแสดงออก Alexander and Simmons (1975: 3 - 4 อ้างถึงใน กฤษฎา บุญวัฒน์ , 2541: 14) ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเป็นฟังก์ชนั ของปจั จยั ทเี่ กี่ยวกับโรงเรียน ปัจจยั เกย่ี วกับกลุม่ ปัจจยั ของอิทธพิ ลภายนอกอืน่ ๆ เช่น สภาพ ชุมชน ปัจจัยทางด้านเชาว์ปัญญา ปัจจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้เรียนรวมทั้งภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมของ ผ้เู รียน และยังมคี วามแปรปรวนอืน่ ๆ ทไี่ มส่ ามารถอธิบายได้อีก 2.2 แนวคิด และทฤษฎกี ารเสริมแรง ทฤษฎีความตอ้ งการ-แรงขบั -ส่งิ จูงใจ ได้ให้ความสำคัญแก่ความต้องการ และการลดความตึงเครยี ดที่เกิดจาก ความต้องการในการผลักดันพฤติกรรมของมนุษย์ ทฤษฎีดังกล่าวนี้ต้องเผชิญกับปัญหาอย่างน้อยที่สุด 2 ปัญหา คือ ปัญหาความตอ้ งการของมนุษยม์ ีอะไรบ้าง ยังหาคำตอบที่เป็นที่พอใจแก่ทุกฝ่ายไม่ได้ และปัญหาเกี่ยวกบั ความเชื่อวา่ จุดมุ่งหมายของพฤติกรรมคือการลดความตึงเครียด ยังมีตัวอย่างพฤติกรรมที่ขัดแย้งกับความเชื่อเช่นนี้ มีพฤติกรรม บางอย่างทำแล้วเพิ่มความตึงเครียด แต่คนก็อยากทำ เช่นการดูภาพยนตร์ที่หวาดเสียวน่ากลัว การไต่เขาที่เสี่ยงกับ ความตาย ฯลฯ พฤติกรรมบางอย่างก็หาได้เกิดจากความตงึ เครียดไม่ เช่นการร้องเพลง การวาดภาพ การคิด การเล่า และการฟังนทิ าน การละเล่น การทอ่ งเทีย่ ว การหาความรู้ ฯลฯ นกั จติ วิทยาหลายคนจึงได้หันมาให้ความสนใจกับสิ่งจูงใจใหเ้ กิดพฤติกรรมมากกวา่ ความต้องการท่ีเป็นแรงขับ ให้เกิดพฤติกรรม แต่ เนื่องจากคำว่า สิ่งจูงใจ ได้มีความหมายผูกพันกับการสนองความต้องการ จึงน่าจะใช้คำที่มี ความหมายเป็นกลางแทนคำที่มีความหมายเป็นกลางมากกว่า คือ แรงเสริม (Reinforcer) และการเสริมแรง (Reinforcement) ซึ่งหมายถงึ การใหแ้ รงเสรมิ แรงเสริมคือสิ่งท่ีทำให้พฤติกรรมหนึ่งๆ เกิดบ่อยครั้งมากขึ้น อะไรก็ตามท่ีทำให้พฤติกรรมเกิดบ่อยข้ึนก็ถือว่า เป็นแรงเสริม เช่นการชมว่าเก่งเมื่อเด็กไหว้แล้ว พฤติกรรมการไหว้เกิดบ่อยครั้งขึ้น การชมว่าเก่งเป็นแรงเสริม การ ปลดตรวนพันธนาการออกจากนักโทษที่ประพฤติดี แล้วทำให้ประพฤติดีมากขึ้น การปลดตรวนพันธนาการก็เป็นแรง เสริมการเสริมแรง (Reinforcement) คือการทำให้ความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเป็นผลเนื่องจากผล กรรมที่ตามหลังพฤตกิ รรมน้นั สกินเนอร์ นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้วิเคราะห์ความหมายของแรงเสริม และผลของการให้แรงเสริมที่มีต่อ พฤติกรรมอย่างละเอียดและกว้างขวาง การวิเคราะห์ของสกินเนอร์ทำให้มองเห็นอิทธิพลของการเสริมแรงในการ ควบคมุ พฤติกรรมของมนุษย์ในสงั คมไดอ้ ยา่ งชดั เจน (skinner, 1953) ทฤษฎีการเสริมแรงพัฒนาจาก กฎแห่งผลกรรม (Law of Effect) ซ่งึ เปน็ กฎของการเรียนรทู้ ีเ่ สนอโดยนกั จิตวิทยาชาวอเมรกิ า
13 ผู้ทรงอิทธิพลอีกคนหนึ่ง ชื่อ ธอร์นไดก์ (Thorndike, 1874-1949) ตามความคิดของธอร์นไดก์ พฤติกรรม ของมนุษย์เกิดขึ้นตามกฎของผลกรรม พฤติกรรมที่ยังผลเป็นที่พอใจแก่ผู้กระทำ พฤติกรรมนั้นย่อมเกิดขึ้นอีก และ พฤตกิ รรมใดยังผลไม่เป็นที่พอใจแกผ่ ู้กระทำ พฤติกรรมน้นั ยอ่ มหดหายไป เช่น เดก็ เหน็ โจทยเ์ ลข 2 + 2 = ? และตอบ ว่า 4 แล้วครูชมว่าเก่งมาก เด็กก็จะเรียนรู้ว่า 2+2=4 ในทางกลับกัน เด็ก ที่ตีคนอื่นแล้วตนเองถูกแม่ตี ก็จะไม่กล้าตี คนอ่นื อกี (Thorndike, 1911) การกระทำทกุ อย่างของมนุษยย์ ่อมทำให้เกิดผลบางอย่างเสมอ ใชเ้ ทา้ เตะก้อนหนิ ผลก็คือเท้าเจ็บ ใช้มือจิกผม ของแมผ่ ลกค็ ือถูกแมต่ ี นั่งทำการบ้านอยา่ งขะมักเขม้น ผลกค็ อื แมแ่ สดงความรกั และความชน่ื ชม น ากระเช้าดอกไม้ไป อวยพรวันเกิดผู้บังคับบัญชา ผลก็คือได้รับ ความเมตตาเป็นพิเศษ ความสัมพันธ์ที่กล่าวมานี้ ล้วนเป็นความสัมพันธ์ ระหว่างพฤติกรรมและผลกรรมผลกรรมหมายถึงผลที่เกิดจากการกระ ทำและสัมพันธ์กับพฤติกรรมเป็นเงื่อนไข “พฤติกรรมอย่างนี้กระทำในสภาพการณ์เช่นน้ี จะได้รับผลกรรมอยา่ งนี้” เงื่อนไขดังกล่าวน้ี เรียกว่า เงื่อนไขผลกรรม เง่อื นไขผลกรรมบางอยา่ งธรรมชาติเป็นผู้กำหนด เช่นเตะกอ้ นหินแลว้ เท้าเจ็บ บางอย่างก็กำหนด โดยมนุษย์ด้วยกันเอง เช่น ถ้าใช้มือจิกผมของแม่ก็จะถูกแม่ตี เงื่อนไข บางอย่างมนุษย์กำหนดโดยความจงใจและมี ความชัดเจน เช่นระเบียบข้อบังคับต่างๆ ตลอดจนกฎหมายบ้านเมือง บางอย่างก็มิได้กำหนดอย่างชัดเจน แล้วแต่ อารมณ์ เช่น เงือ่ นไขการตีลกู เง่ือนไขการแสดงความรักต่อลกู ฯลฯ มนุษย์เรียนรู้เงื่อนไขผลกรรมทั้งที่กำหนดโดยธรรมชาติ และกำหนดโดยมนุษย์ด้วยกันเอง เงื่อนไขบางอย่าง เรียนรู้ด้วยประสบการณ์ของตนเอง เช่นเตะก้อนหินเอง และรู้สึกเท้าเจ็บ ด้วยตนเอง บางอย่างเรียนรู้จากการสังเกต พฤติกรรมของผู้อื่นและผลกรรมที่เกิดตามมา เช่น เห็นคนเอามือไปจับสายไฟฟ้าแล้วถูกไฟฟ้าช็อตตาย ก็เกิดการ เรียนรู้ว่าการจับสายไฟฟ้าจะถูกไฟฟ้าช็อต และหลายอย่างเกิดจากคำบอกของพ่อแม่พี่น้อง ครูบาอาจารย์ตลอดจน สื่อมวลชนต่างๆ เช่นบอกว่าขยันเรียนหนังสือแล้วภายหน้าจะได้ดี ถ้าสูบเฮโรอีน จะเสพติดและมีผลต่อร่างกายและ จิตใจอย่างมหันต์ ฯลฯ เพือความชัดเจนเราจะแยกเงื่อนไขผลกรรมออกเป็นเงื่อนไขการเสริมแรง( Contin-gency of Reinforcement) ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการให้ผลกรรมที่คนต้องการและ เงื่อนไขการลงโทษ (Contingency of Punishment) ซ่งึ เปน็ เง่ือนไขของการให้ผลกรรมทค่ี นไม่ต้องการ สิ่งที่ใช้เป็นแรงเสริมได้มีมากมาย เราอาจจะถือว่าสิ่งใดก็ตามที่สนองความต้องการของคนไม่ว่าจะเป็นความ ต้องการทางกายหรือทางจติ ใจ ลว้ นเปน็ แรงเสริม อาหาร น้ำ ความสราญใจความรัก คำชม อภสิ ิทธ์ิ ทรพั ย์สินเงินทอง ตลอดจนการเล่อื นตำแหนง่ สูงขนึ้ ฯลฯ ล้วนเปน็ แรงเสรมิ ได้ท้งั นัน้ แรงเสริมเหลา่ น้ีถือเปน็ แรงเสรมิ ทางบวก สิ่งที่ใช้เป็นการลงโทษก็มีได้มากมาย การทำให้เจ็บ การทำให้เหม็น การดุ การประณาม การตัดสิทธิ์ การริบ ทรัพย์ การกักขงั ตลอดจนการประหารชีวิต ฯลฯ เหลา่ น้ลี ว้ นเปน็ การลงโทษ และในการตรงกนั ขา้ ม การระงับหรืองด เว้นการลงโทษกจ็ ะเปน็ แรงเสรมิ แต่ถอื เปน็ แรงเสรมิ ทางลบ
14 สำหรับนักเรียน การสำเรจ็ การศึกษาได้รับประกาศนียบัตร เป็นสิ่งทีท่ ุกคนปรารถนา การให้สำเร็จการศึกษา จึงเป็นการให้แรงเสริมอย่างหนึ่ง สถาบันการศึกษาต่างๆ จึงได้กำหนดเงื่อนไขของการให้สำเร็จการศึกษาเอาไว้ เช่น ต้องสอบให้ได้หน่วยกติ สะสมเทา่ นัน้ เท่านี้หน่วยกติ ชำระเงินเท่านั้นเท่านี้ ได้แต้มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเทา่ น้ันเท่าน้ี จะต้อง เรียนวิชานัน้ วชิ านี้ ถา้ จะเรียนวิชาน้จี ะต้องมาเรียนในวันน้ีเวลาน้ีห้องนี้กบั อาจารย์คนน้ี และต้องมาสอบในวันนั้นวันน้ี ต้องตอบข้อสอบอยา่ งนั้นอย่างนี้ฯลฯ เงื่อนไขต่างๆ เหล่านีม้ ีมากมาย และที่ไม่ได้เขียนเป็นระเบียบชัดเจนแต่อาจารย์ แต่ละคนกำหนดขึ้นเองก็มีอีกมากมาย นักศึกษาที่ประสงค์จะสำเร็จการศึกษา ก็ต้องกระทำตามเงื่อนไขเหล่านี้ มิฉะนั้นก็จะไม่ได้รับปริญญา ซึ่งเป็นแรงเสริม ถ้าหากสถาบันการศึกษาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเหล่านี้ พฤติกรรมของ นักศกึ ษากจ็ ะเปลย่ี นแปลงตามเงื่อนไขท่เี ปล่ียนไป การรับนักศึกษาเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาก็เช่นกัน การให้เข้าศึกษาเป็นสิ่งที่บุคคลจำนวนมากต้องการ ปัจจุบันเงือ่ นไขในการเข้าคือต้องจบการศึกษาชัน้ นั้นชัน้ นี้ ต้องสอบคัดเลือกวิชานั้นวิชาน้ี ผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาก็จะ ปรับพฤติกรรมของตนเองให้เข้ากับ เงอ่ื นไขตา่ งๆ เหลา่ นี้ ลองคิดเอาเองกไ็ ด้ว่าพฤติกรรมของเยาวชน ผ้ปู ระสงค์จะเข้า ศึกษาจะเปน็ อย่างไร หากเรากำหนดว่าผู้ที่จะสมควรไดน้ น้ั ตอ้ งมีหลกั ฐานมาแสดงวา่ (ก) เคยเปน็ ลกู เสอื หรือเนตรนารมี าก่อน (ข) เคยร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมมาก่อน เช่น ทำความสะอาด สาธารณะ สอนหนังสือแก่เด็ก สลัม ร่วมกิจกรรมคา่ ยอาสาพฒั นา ฯลฯ นอกเหนือจากการเรียนจบประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น ตอนปลาย ปวช.และสอบคัดเลือกวิชาเฉพาะได้ผล เป็นที่พอใจ ตวั อย่างการควบคมุ พฤติกรรมด้วยเง่ือนไขการลงโทษก็มีอยู่มากมาย จาระไนไม่รจู้ บสนิ้ กฎหมายบ้านเมืองที่ ใช้ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมก็เป็นเงื่อนไขการลงโทษเกือบทั้งสิ้น เช่นถ้าไม่ข้ามถนนตรงทางม้าลายจะถูก ปรับ ถ้าไม่เสียภาษีให้ครบถ้วนในเวลาที่กำหนดก็จะถูกลงโทษ ถ้าลักทรัพย์ผู้อื่นก็จะถูกลงโทษ ฯลฯ เงื่อนไขการ ลงโทษท่ีมไิ ด้กำหนดเปน็ กฎหมายแตเ่ ปน็ เพียงขนบธรรมเนยี มประเพณีก็มี เชน่ การประพฤตผิ ิดประเพณีทางเพศก็จะ ไดร้ บั การดูถกู เหยียดหยามหรอื ประณามได้ เนอื่ งจากการไม่ถูกลงโทษเปน็ แรงเสริมทางลบ จึงถือวา่ พฤติกรรมข้ามถนนตรงทางม้าลายได้รับแรงเสริมทาง ลบ พฤติกรรมการเสียภาษีได้รับแรงเสริมทางลบ และการไม่ลักทรัพย์ก็ได้รับแรงเสริมทางลบ อย่างไรก็ดีการควบคุม พฤติกรรมด้วยเงื่อนไขการลงโทษมักประสบปัญหาเสมอ ที่สำคัญคือการลักลอบกระทำ การติดสินบน (ให้แรงเสริม) แก่ผลู้ งโทษ ตลอดจนการตอ่ ตา้ นผู้ลงโทษ การควบคุมพฤติกรรมโดยเงื่อนไขผลกรรมนี้ เดิมเชื่อกันว่าใช้ได้ผลเฉพาะพฤติกรรมเจตนาหรือพฤติกรรมมี ผู้กระทำจงใจกระทำเท่านั้น และไม่น่าจะใช้ได้ผลกับพฤติกรรมที่อยู่นอกเหนือการบังคับของจิตใจ เช่นการเต้นของ หัวใจเพื่อสูบฉีดโลหิตไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย การทำงานของต่อมต่างๆ และการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น กระเพาะอาหาร ลำไส้ ไตฯลฯ แต่ในระหว่างทศวรรษ 1960 ก็ได้มีผู้ค้นพบว่าพฤติกรรมเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปตาม
15 เงือ่ นไขของผลกรรมดว้ ย (Miller, 1969) หากการเต้นของหัวใจทีเ่ ร็วกวา่ ปกติไดร้ ับแรงเสริม หวั ใจก็จะเต้นเร็วขึ้น ผู้ที่ รสู้ ึกโกรธแล้วไดร้ ับแรงเสริมความรสู้ ึกโกรธก็จะเกดิ บ่อยคร้ังขึ้น คนทม่ี อี าการหน้าซีดมือเท้าอ่อนเม่ือถูกคนขัดใจ และ อาการหนา้ ซดี นี้ หากทำใหค้ นอ่นื เลิกขดั ใจตนเองได้ พฤตกิ รรมหน้าซดี ก็จะเกิดบ่อยคร้งั ข้ึน เพราะไดร้ บั แรงเสริม และ อาจจะพัฒนารุนแรงมากขนึ้ จนถึงข้นั เปน็ ลมพบั ฐานเมอ่ื ถูกขดั ใจได้ สกินเนอร์ มีความเชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมหนึ่งๆ ถูกกำหนดโดยเงื่อนไข การเสริมแรงในสังคม นั้นๆ เช่นในเมืองไทย พฤติกรรมการเต้นอโกโก ตามบาร์และคลับยังคงมีอยู่ต่อไปเพราะคนดูให้แรงเสริม พฤติกรรม การแข่งม้ายังคงมีอยู่ต่อไปเพราะคนแทงม้าใหแ้ รงเสริม พฤติกรรมผลิตและขายสินค้าฟุ่มเฟือยยังคงมตี ่อไปเพราะคน ซือ้ ให้แรงเสริม การติดสินบนเจ้าหนา้ ทร่ี าชการยังคงมีต่อไปเพราะเจ้าหนา้ ที่และคนติดสินบนให้แรงเสรมิ ซ่ึงกันและกัน ฯลฯ เงื่อนไขการให้แรงเสริมทำนองนี้อาจพัฒนาถึงขั้นเป็นเงื่อนไขเอาเปรียบ ขูดรีด กดขี่ และทารุณซึ่งกันและกันใน ที่สุด สังคมบางแห่งจึงพยายามป้องกนั โดยการมีกฎเกณฑ์ควบคุมให้เงื่อนไขเหล่านี้อยู่ในทำนองคลองธรรม เช่น ห้าม คา้ ประเวณี หา้ มซ้ือขายและใช้ทาส ห้ามรับและตดิ สนิ บน ฯลฯ หากฝา่ ฝืนก็จะถูกลงโทษ ตามทรรศนะของทฤษฎีการเสรมิ แรง พฤติกรรมของมนุษย์ถูกควบคุมโดยเง่ือนไข ผลกรรมทั้งที่เป็นผลกรรม ทางบวกและผลกรรมทางลบ ตามทฤษฎีนี้ผลกรรมเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม ผลกรรมทางบวกเป็นแรงเสริมให้เกิด พฤติกรรม ผลกรรมทางลบเป็นแรงปรามไม่ให้ เกิดพฤติกรรม อย่างไรก็ดีทฤษฎีการเสริมแรงก็ประส บปัญหา เช่นเดียวกันกับความคิดเกี่ยวกับสิ่งจูงใจนั่นคือผลกรรมเกิดทีหลังพฤติกรรม ผลกรรมจะเป็นเหตุของพฤติกรรมได้ อยา่ งไร ทางออกในปญั หานก้ี เ็ ชน่ เดียวกนั กบั ทางออกของความคดิ เกี่ยวกบั สิ่งจูงใจ กล่าวคือ เราสามารถอธิบายวา่ คนเราเรียนรู้ความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤติกรรมกับแรงเสริมต่างๆ ทั้งทางบวกและทางลบ ผลของการเรยี นรู้ทำให้คนเรา สามารถคาดหวงั ว่าพฤติกรรมอะไรจะทำให้ได้รับแรงเสริมอะไร ความคาดหวังที่จะได้รบั แรงเสริมหนึง่ ๆ เกิดก่อนที่จะ กระทำพฤติกรรม จึงเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมท่ีนำไปสู่แรงเสริมนั้น ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุปได้ว่า ตามทฤษฎี การเสรมิ แรง ตวั การทที่ ำใหเ้ กดิ พฤติกรรมคือแรงเสริม และถา้ จะพูดในแง่ของการผลักดันพฤติกรรมกส็ ามารถกล่าวได้ ว่า ความคาดหวังที่จะไดร้ บั แรงเสรมิ เปน็ แรงผลกั ดันพฤตกิ รรม ประเภทของการเสริมแรง 1. การเสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึง สิง่ ของ คำพูด หรอื สภาพการณ์ท่ีจะช่วยให้ พฤตกิ รรมเกดิ ข้ึนอีก หรือส่งิ ทำใหเ้ พ่ิมความน่าจะเปน็ ไปไดข้ องการเกดิ พฤตกิ รรม 2. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง การเปลี่ยนสภาพการณ์หรือเปลี่ยนแปลง บางอย่างกอ็ าจจะทำให้บุคคลแสดงพฤตกิ รรมได้ การเสริมแรงทางลบเก่ียวข้องกับพฤติกรรมใน 2 ลักษณะคอื 1. พฤติกรรมหลกี หนี (Escape Behavior) 2. พฤติกรรมหลีกเลี่ยง (Avoidance Beh.) หลักการและแนวคดิ ท่ีสำคัญของการเสรมิ แรง 1. การเรียนร้จู ะเกดิ ขน้ึ ได้ตอ้ งอาศัยการเสรมิ แรง การเสรมิ แรงทางบวกจะดีกวา่ ทางลบ
16 2. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นไดต้ อ้ งอาศัยความใกล้ชดิ ระหวา่ งส่งิ เรา้ และการตอบสนอง 3. การเสริมแรงมีหลายวิธี อาจใช้วัตถุสิ่งของ หรือถ้อยคำที่แสดงความรู้สึกก็ได้ ที่สามารถสร้างบรรยากาศ กระตุ้นให้ความพึงพอใจให้เกดิ ความสำเร็จหรือเครือ่ งบอกผลการกระทำวา่ ถกู ผดิ และอาจเป็นการส่งเสรมิ ให้เกิดการ เสรมิ แรงตอ่ ๆ ไป 4. การเสรมิ แรงควรจะตอ้ งใหส้ ม่ำเสมอ นอกจากนน้ั หลักการเสรมิ แรงยังทำใหส้ ามารถปรับพฤติกรรมได้ 5. ควรจะให้การเสรมิ แรงทนั ที ทมี่ กี ารตอบสนองได้อยา่ งถกู ต้อง ซงึ่ ควรจะเกดิ ขนึ้ ภายใน ประมาณ 10 วนิ าที ถ้าหากมีการตอบสนองทีต่ ้องการซำ้ หลายครั้งๆ ก็ควรเลือกให้มกี ารเสริมแรงเป็นบางคราว แทนที่จะเสริมแรงทกุ คร้ัง ไป 6. ควรจะจัดกิจกรรมการเรียนให้เป็นไปตามลำดับจากง่ายไปยาก และเป็นตอนสั้นๆ ที่สอดคล้องกับ ความสามารถของผู้เรยี น จากการวิจัยเกย่ี วกบั การเสรมิ แรง สกนิ เนอร์ได้แบ่งการให้แรงเสริมเป็น 2 ชนิดคือ 1. การเสรมิ แรงทกุ ครงั้ คอื การใหแ้ รงเสรมิ แกบ่ ุคคลเป้าหมายทแี่ สดงพฤติกรรมท่ีกำหนดไว้ทุกคร้ัง 2. การเสริมแรงเปน็ ครงั้ คราว คอื ไมต่ อ้ งใหแ้ รงเสริมทกุ คร้ังทบ่ี คุ คลเป้าหมายแสดงพฤติกรรม สรุปแนวคดิ ท่ีสำคัญของนกั จิตวิทยาการศึกษา ดงั น้ี 1. ธอร์นไดค์ (Thorndike) ให้ข้อสรปุ วา่ การเสรมิ แรง จะช่วยให้เกิดความกระหายใคร่รูเ้ กิดความพอใจ และ นำไปสคู่ วามสำเรจ็ 2. สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า \"การเสริมแรง จะเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมซ้ำ และ พฤตกิ รรมของบคุ คลส่วนใหญ่ จะเปน็ พฤติกรรมการเรียนร้แู บบปฏิบตั ิ (Operant Learning) และพยายามเนน้ วา่ การ ตอบสนองต่อส่งิ เร้าใดๆ ของบุคคล สิ่งเรา้ นั้นจะต้องมีสิง่ เสริมแรงอยใู่ นตวั หากลดสิ่งเสริมแรงลงเมือ่ ใด การตอบสนอง จะลดลงเม่อื นน้ั \" 3. กัทธรี (Grthrie) เชือ่ วา่ การเรียนรู้ จะเปน็ ผลมาจากส่ิงเรา้ และการตอบสนองซึ่งเมื่อเกิดข้ึนพร้อมๆ กัน ส่ิง เร้าทุกอย่างย่อมจะมีลักษณะท่ีเร้า และก่อให้เกิดพฤติกรรมได้ทั้งหมดดังน้ันการเสริมแรงไม่จำป็นต้องนำมาใช้สำหรบั การตอบสนอง 4. ฮัล (Hull) เชื่อว่า การเสริมแรงเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความสมั พันธ์ระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนอง ไม่มีการ เรียนใดๆ ที่มีความสมบูรณ์ การเรียนรู้เป็นลักษณะของการกระทำที่ต่อเนื่องกัน จะค่อยๆ สะสมขึ้นเรื่อยๆ การ เสริมแรงทกุ ครงั้ จะทำใหก้ ารเรยี นร้เู พ่มิ ประสทิ ธิภาพย่งิ ขึ้น วิธีการเสริมแรง 1. การเสรมิ แรงแบบทุกครง้ั เชน่ การเสริมแรงเกิดขน้ึ ทกุ ครัง้ ทีเ่ ดก็ ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร 2. การเสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทแ่ี น่นอน เชน่ การเสริมแรงทกุ ๆ 1 ชัว่ โมงหลังจากทำพฤตกิ รรมไปแล้ว 3. การเสริมแรงตามชว่ งเวลาที่ไม่แน่นอน เช่น บางทีก็ให้เสรมิ แรง 1 ช่ัวโมง บางทกี ใ็ ห้เสริมแรง 2 ชวั่ โมง
17 4. ที่แน่นอน เชน่ แสดงพฤติกรรมออกกำลังกาย 3 คร้ัง ใหก้ ารเสริมแรง 1 ครัง้ 5. การเสรมิ แรงตามจำนวนครั้งที่ไมแ่ นน่ อนหรือแบบสุ่ม (Random) คือ บางครง้ั ก็ให้การเสริมแรง บางครั้งก็ ไม่ใหก้ ารเสริมแรง งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง งานวิจัยในประเทศ พรรณี ชุติวัฒนธาดา (2544) ทำวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พฤติกรรมการไม่ส่งงานตามกำหนดของนักเรียนชั้น ม.5/5 ประจำภาคเรียนที่ 1/2544 จำนวน 6 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาสาเหตุที่ทำให้ผู้กเรียนทั้ง 6 คน ไม่ ส่งงานตามกำหนดและเพือ่ หาวิธีการให้นักเรยี นท้ัง 6 คนส่งงานตามกำหนด ซึ่งได้สรุปผลจากการสัมภาษณค์ รู เพื่อน ตัวนักเรียน ผลงานของนักเรยี น และจากการสงั เกตพฤติกรรมในขณะเรียนในหอ้ งเรียน พบว่า สาเหตุที่ทำใหน้ ักเรียน ทั้ง 6 คน ไม่ส่งงานพร้อมเพ่ือนมาจากไมม่ ีแบบเรยี น ไมเ่ ขา้ ใจในบทเรียนและมีพื้นฐานทางภาษา อยู่ในเกณฑต์ ่ำ จึงไม่ สามารถทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนได้ ต้องรอให้เพื่อนทำส่งก่อนแล้วลอกเพื่อนมาส่งครู เพียงเพื่อให้มีงานส่งได้ครบ ตามเกณฑ์ และไม่ติด “ร” และได้นำผลการวิเคราะห์ไปปรึกษาผู้ร่วมงานและถามความคิดเห็นของนักเรียนทั้งห้อง เพื่อหาแนวทางแก้ไข ได้ข้อสรุปว่า ครูควรก าหนดวันที่แน่นอนที่จะต้องใช้แบบเรียนและสามารถให้นักเรียนของยืม แบบเรียนเพือ่ ใช้ในคาบเรียนได้จากศูนยภ์ าษาฯ ควรมีการจดั กลุ่มให้นักเรียน 6 คน กระจายไปอยู่ในกลุ่มเพ่ือนที่ตั้งใจ เรียนและมีผลการเรียนดีเพื่อช่วยเหลือกัน ควรจัดทำเอกสารเสริมการสอนบทเรียนให้นักเรียนทุกคนสามารถนำไป ทบทวนนอกเวลาเรียนได้ ควรเพิ่มคะแนนกลุ่มที่สามารถช่วยให้นักเรยี นทีม่ ีปัญหาทั้ง 6 คน ส่งงานได้ตามกำหนดทุก ครงั้ และควรสอนเสริมนักเรียนท้งั 6 คนนอกเวลาเรียน วริทธิ์พล บุณยเดชาวรรธรน์ (2558) ศึกษาเรื่อง ผลการส่งงานด้วยการเสริมแรงบวกจากการแจกสัญลกั ษณ์ รายวิชาระบบฐานข้อมูลและการออกแบบ ของนักศึกษาแผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทรผลการวจิ ัยพบว่า การเสริมแรงทางบวกด้วยการแจกสัญลักษณ์กับการ ส่งงาน ความรบั ผิดชอบและกระตุ้นให้ส่งงานมากขนึ้ สุธี สุกิจธรรมภาณ (2552) ทำวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านของ นักศึกษา ระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 2 กลุ่ม 2 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษา ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ลำดับที่ 1 คือ การให้งานที่มอบมากเกินไป และแบบฝึกหัดยาก ทำไม่ได้ โดยคิดจากนักศึกษา 38 คน ที่เลือกเป็น สาเหตอุ ันดับท่ี 1 และ 2 จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 65.85 อิชยา จีนะกาญจน์ (2553) ศึกษาเรื่อง ผลของการใช้เทคนิคการเสริมแรงด้วยกิจกรรมต่อพฤติกรรมความไม่ ใส่ใจการเรียน โรงเรียนบ้านกุรุคุ จังหวัดนครพนม ผลการวิจัยกับกลุ่มตัวอย่าง 3 คน พบว่า การทดลองกับกลุ่ม ตัวอย่างแบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรมความไม่ใส่ใจการเรียนแบบช่วงเวลาและการเสริมแรงด้วยกิจกรรม พบว่า
18 พฤติกรรมความไม่ใสใ่ จการเรียนแบบช่วงเวลาและการเสริมแรงดว้ ยกิจกรรม พบว่า พฤติกรรมความไม่ใสใ่ จการเรียน ของผูเ้ รียนกลุม่ เป้าหมายทั้ง 3 คนลดลง โดยมีคา่ เฉลย่ี ความถพ่ี ฤตกิ รรมความไมใ่ สใ่ จการเรียนระยะที่ 2 และระยะท่ี 4 ตำ่ กวา่ ระยะท่ี 1 และระยะที่ 3 อสิ ริยา วฒุ จิ ันทร์ (2553) ทำวจิ ยั ในชัน้ เรียน เร่ือง การแกป้ ญั หานักศึกษาไม่ส่งงานตามกำหนด สำหรับระดับ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันปีที่ 1 หอ้ ง CD101 โรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบรหิ ารธุรกิจ ในการศึกษามวี ัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหานักศึกษาไมส่ ่งงานตามกำหนด ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเปน็ ข้อมลู ที่ได้มาจากการสัมภาษณ์นักศกึ ษาที่ไม่ ส่งชิ้นงานหรือการบ้านตามกำหนด การสังเกตการณ์ส่งชิ้นงานหรือการบ้านจากแบบบันทึกการส่งงานของนักศึกษา ห้อง CD101 จำนวน 6 คน และการใช้แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับนักศึกษาในชั้นเรียนต่อนักศึกษาที่ไม่ส่ง ชิ้นงานหรือการบ้านตามกำหนดของนักศึกษาห้อง CD101 จำนวน 34 คน พบว่า เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง คิด เป็นร้อยละ 5.88 นักศึกษาเคยใช้เคยใช้เครื่องพิมพ์ดีดในด้านการเรียนมาก่อน คิดเป็นร้อยละ 5.88 ไม่เคยใช้ เครื่องพิมพ์ดดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.12 และนักศึกษาทีต่ อบแบบสำรวจได้ส่งงานตรงตามเวลาทกุ ครง้ั เป็นอันดับหนึ่ง คิด เป็นร้อยละ 70.59 อันดับสอง ยังมีนักศึกษาที่ส่งไม่ตรงเวลาเป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ 11.76 สำหรับสาขาท่ี นักศึกษาสนใจเลือกเรยี นตอ่ ในระดับ ปวช. ปีที่ 2 อันดับหน่ึง คือ สาขาคอมพิวเตอร์ คิดเป็นร้อยละ 79.41 รองลงมา คือ สาขาการตลาด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.65 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ Bloom (1976 : 175 อา้ งถงึ ใน ปญั จา ชชู ่วย , 2551 : 12) ได้ศึกษาตวั แปรทมี่ ผี ลต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน พบวา่ มตี ัวแปรอยู่ 3 ประการทีเ่ ก่ยี วข้อง คือ 1) พฤติกรรมด้านความรู้และความคิด ( Cognitive Entry Behaviors) หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ความถนดั และพ้ืนฐานของผเู้ รยี นทมี่ ีมากอ่ น 2) คุณลักษณะทางจิตใจ (Affective Entry Characteristics) หมายถึง แรงจูงใจท่ีทำให้ผู้เรียนเกิดความ อยากเรียน อยากรูส้ ่ิงใหม่ ไดแ้ ก่ ความสนใจในวชิ าเรยี น เจตคตติ อ่ เนื้อหาวชิ าระบบการเรียนและสถาบัน การยอมรับ ความสามารถของตนเอง เป็นต้น 3) คุณภาพทางการเรียนการสอน ( Quality of Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนหรือประสิทธิผลที่ ผู้เรียนจะได้รับผลสำเร็จในการเรียน ได้แก่ การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติ และแรงเสริมของผู้สอนที่มีต่อผู้เรียน เป็น ตน้ องค์ประกอบดา้ นจิตใจมีส่วนอยู่ในความแปรปรวนของผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตอนปลายเทอม รอ้ ยละ 25.0 คุณภาพการสอนมีส่วนร่วมอยู่ในความแปรปรวนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ร้อยละ 25.0 และตัวแปร 3 ตัวแปรรวมกัน คือ ความรู้พื้นฐานในการเรียนองค์ประกอบทางด้านจิตใจและคุณภาพการสอน มีส่วนอยู่ในความ แปรปรวนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตอนสนิ้ เทอมรอ้ ยละ 90.021
19 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นผเู้ รยี นระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 จำนวน 203 คน กล่มุ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 40 คน มวี ธิ ีการเลอื กกลมุ่ ตัวอย่างแบบเจาะจง เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การสังเกต สถิติการส่งงาน การสัมภาษณ์ รวมทั้งคะแนนวัดผลกลางภาคและ ปลายภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 เกย่ี วกับการแกป้ ัญหาไมส่ ง่ งานวิชาคอมพวิ เตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มีขั้นตอนและ วิธกี าร ดังนี้ 1. ส่มุ เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งจากพฤติกรรมการเรียน และการสง่ งาน 2. สงั เกตพฤติกรรม การเรียน สถติ กิ ารส่งงาน และผลคะแนนกลางภาค 3. เสรมิ แรงทางบวกและทางลบ โดยการชมเชย ใหร้ างวัล และมอบเกยี รติบตั ร 4. สมั ภาษณ์โดยการถาม – ตอบ และรว่ มแสดงความคดิ เหน็ 5. ตดิ ตามพฤตกิ รรมกอ่ น และหลังจากเสริมแรงทางบวก 6. สรุปและประเมินผล การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ โดยการสังเกต บันทกึ การสง่ งาน สัมภาษณ์และผลคะแนน 2. จดั การเรียนการสอนโดยเสรมิ แรงทางบวก เพื่อรวบรวมข้อมูล 3. วเิ คราะหข์ ้อมลู สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวิจยั / การวิเคราะหข์ อ้ มูล การวเิ คราะห์ข้อมลู การแกป้ ัญหาไม่ส่งงานวชิ าคอมพวิ เตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยการสังเกต การบันทึกการส่ง งาน คะแนนเก็บ คะแนนสอบ รวบรวมหาค่าเฉลีย่ ร้อยละ ทั้งก่อนและหลงั การเสริมแรงทางบวก รวมท้ังการสัมภาษณ์ ร่วมดว้ ย
20 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิจัยเรื่อง การแก้ปัญหาไม่ส่งงานวิชาคอมพิวเตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จากการเก็บรวบข้อมูลด้วยการสังเกต บนั ทกึ การส่งงาน การสัมภาษณ์ และคะแนนสอบของกล่มุ ตัวอย่างจำนวน 40 คน มผี ลการศกึ ษาดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของกลุ่มตัวอย่าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างแน่นอน (Structured Interview) เปน็ การสัมภาษณ์ทก่ี ำหนดคำถามไวเ้ รยี บรอ้ ยแล้ว ตารางท่ี 4.1 ขอ้ มลู ส่วนตัว จำแนกตามกลุ่มตวั อย่างเปน็ รายบุคคล สถานภาพครอบครัว เกรดเฉลยี่ สะสม ปัจจบุ ันอาศยั (GPA) อยู่กบั คำถาม พอ่ แม่อยู่ หย่า พอ่ /แม่ 2.50- 3.01- 3.51- ครอบครวั ญาติ กล่มุ ตวั อยา่ ง ด้วยกัน รา้ ง เสียชีวติ 3.00 3.50 4.00 1. เดก็ ชายชีวานนท์ สุขชยั พงศ์ 2. เดก็ ชายทฤษฎี วรรณพรม / // 3. เด็กชายชยกร ไทรนนทรี 4. เด็กชายอนิรทุ ธิ์ ไวยสุตรา / // 5. เดก็ ชายภรู ชิ วิศษิ ฐ์ พงึ่ สวุ รรณ 6. เดก็ ชายศุภวชิ ญ์ นาคขำ / // 7. เด็กชายพนธกร อ่อนพลดั 8. เดก็ ชายจันฐกรณ์ พรหมะวีระ / // 9. เด็กชายณัฏฐพชั ร์ อำนาจธนากุล 10. เดก็ ชายศรณั ยพงศ์ ภาวสุทธิ / // 11.เด็กชายธนโชติ มณโี ชติ 12. เด็กชายศรณั ยช์ ัย โชติรตั นมณี / // 13. เดก็ ชายอนิ ทชา เทย่ี งแท้ 14. เดก็ ชายภาธรธฤต พลคำมาก // / // / // / // / // / // / // / //
21 คำถาม สถานภาพครอบครัว เกรดเฉลี่ยสะสม ปัจจุบันอาศัย (GPA) อยู่กบั กลมุ่ ตวั อย่าง พอ่ แม่อยู่ หยา่ พอ่ /แม่ 15. เด็กชายธนดล กรมิ่ กราย ด้วยกนั รา้ ง เสยี ชวี ติ 2.50- 3.01- 3.51- ครอบครัว ญาติ 16. เด็กหญงิ ณัฐวรา ศรอี ่วม 3.00 3.50 4.00 17. เดก็ หญงิ เบญญาภา เสนกองแก้ว / / 18. เดก็ หญิงอริศรา ศรสี งคราม / / / 19. เด็กหญงิ กวิสรา อนิ ทรแ์ จ้ง / 20. เด็กหญิงธรพร ทองคุ้ม / / 21. เดก็ หญิงรศั ม์เิ กลา้ สาเกตุ / / / 22. เดก็ หญิงอชริ ญา มโนหาญ / 23. เดก็ หญิงกติ ติกานต์ ชตุ ิวัตรพงศธร / / / 24. เด็กหญิงบญุ ญาพร ทวะชาลี / / / 25. เดก็ หญิงวรดา จำรญู / / / 26. เดก็ หญงิ สชุ านนั ท์ วรรณโท / / / 27. เด็กหญงิ เมษา แซล่ ม้ิ / / / 28. เด็กหญิงปนิตา แสงจันทร์ / 29. เดก็ หญิงกัญญาพชั ร์ บนุ นาค / / / 30. เด็กหญงิ พรสวรรค์ ละมง่ั ทอง / / / 31. เด็กหญงิ ศิรินภสั ธญั ญะวัน / / / 32. เด็กหญิงรตั ติกาล เกียรตเิ พม่ิ ทรพั ย์ / / / 33. เด็กหญงิ นนั ท์นภัส สมปอง / / / 34. เดก็ หญิงรชั วิน ลืน่ ภูเขียว / / / 35. เดก็ หญิงกัญญาภคั ปตู่ าล / / / 36. เดก็ หญงิ เกณิกา เจือจันทร์ / / / / / / / / / / / / / / / / /
22 สถานภาพครอบครัว เกรดเฉล่ยี สะสม ปัจจบุ ันอาศยั (GPA) อยกู่ บั คำถาม พอ่ แม่อยู่ หย่า พอ่ /แม่ 2.50- 3.01- 3.51- ครอบครัว ญาติ กล่มุ ตวั อยา่ ง ด้วยกัน รา้ ง เสียชวี ติ 3.00 3.50 4.00 37. เด็กหญงิ กัญญกร ชีวโมกข์ 38. เด็กหญงิ ลลิตา แซ่บญุ / // 39. เด็กหญิงปุณณภ์ าพนั ธ์ อารยสุข 40. เดก็ หญงิ กุลพชั ร บุษบงกช / // รวม / // รอ้ ยละ / // 26 13 1 3 37 26 14 65 32.5 2.50 7.50 92.50 65 35 จากตารางที่ 4.1 พบวา่ สถานภาพครอบครัวพ่อแมอ่ ยรู่ ว่ มกนั รอ้ ยละ 65 หย่าร้าง รอ้ ยละ 32.50 และพ่อ/แม่ เสียชีวิต ร้อยละ 2.50 เกรดเฉลี่ยสะสมระหว่าง 3.01 – 3.50 ร้อยละ 7.50 และ 3.51-4.00 ร้อยละ 92.50 สุดท้าย ปจั จุบันอาศยั อยกู่ ับครอบครวั คิดเป็นร้อยละ 65 และอยกู่ ับญาติคิดเปน็ รอ้ ยละ 35 ตอนที่ 2 ข้อมลู เกี่ยวกบั การส่งงาน วชิ าคอมพวิ เตอร์ ตารางที่ 4.2 สถิติการสง่ งานก่อน และหลังการเสริมแรงทางบวก (จำนวนคร้งั ในการสง่ งาน) คำถาม ก่อนสอบกลาง รอ้ ยละ กอ่ นสอบปลายภาค ร้อยละ สง่ งาน ภาค เพ่ิมขนึ้ กลุ่มตวั อยา่ ง ส่ง ไมส่ ่ง ส่ง ไม่สง่ ส่ง ไมส่ ่ง สง่ ไมส่ ่ง เพิม่ ขึน้ เพม่ิ ขึ้น 1. เด็กชายชวี านนท์ สขุ ชยั พงศ์ 6 2 75 25 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น เพม่ิ ขึ้น 2. เดก็ ชายทฤษฎี วรรณพรม 5 3 62.5 37.5 8 - 100 เพมิ่ ขนึ้ เพิ่มขน้ึ 3. เด็กชายชยกร ไทรนนทรี 5 3 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขึ้น 4. เดก็ ชายอนิรุทธ์ิ ไวยสตุ รา 6 2 75 25 8 - 100 5. เดก็ ชายภรู ชิ วิศษิ ฐ์ พง่ึ สวุ รรณ 6 2 75 25 8 - 100 6. เด็กชายศุภวชิ ญ์ นาคขำ 5 3 62.5 37.5 8 - 100 7. เดก็ ชายพนธกร อ่อนพลดั 4 4 50 50 8 - 100 8. เดก็ ชายจนั ฐกรณ์ พรหมะวีระ 3 5 37.5 62.5 8 - 100
23 คำถาม กอ่ นสอบกลาง ร้อยละ กอ่ นสอบปลายภาค ร้อยละ ส่งงาน ภาค กลุ่มตวั อย่าง ส่ง ไมส่ ง่ ส่ง ไม่สง่ สง่ ไมส่ ง่ เพิ่มขน้ึ ส่ง ไม่ส่ง 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 9. เด็กชายณัฏฐพชั ร์ อำนาจธนากลุ 53 75 25 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 62 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 10. เดก็ ชายศรัณยพงศ์ ภาวสุทธิ 53 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 11.เดก็ ชายธนโชติ มณีโชติ 53 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 53 75 25 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 12. เดก็ ชายศรณั ยช์ ัย โชติรตั นมณี 62 75 25 8 - 100 เพิ่มขึ้น 62 50 50 8 - 100 เพิ่มขึ้น 13. เด็กชายอนิ ทชา เทีย่ งแท้ 44 37.5 62.5 8 - 100 เพิ่มขึ้น 14. เดก็ ชายภาธรธฤต พลคำมาก 35 50 50 8 - 100 เพิ่มขนึ้ 15. เดก็ ชายธนดล กร่มิ กราย 44 50 50 8 - 100 เพม่ิ ข้ึน 16. เดก็ หญงิ ณัฐวรา ศรีอว่ ม 44 50 50 8 - 100 เพม่ิ ข้นึ 44 62.5 37.5 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น 17. เด็กหญงิ เบญญาภา เสนกองแก้ว 53 75 25 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น 62 62.5 37.5 8 - 100 เพม่ิ ข้นึ 18. เดก็ หญงิ อริศรา ศรสี งคราม 53 75 25 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น 19. เดก็ หญิงกวิสรา อนิ ทรแ์ จ้ง 62 62.5 37.5 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น 20. เด็กหญิงธรพร ทองคุ้ม 53 37.5 62.5 8 - 100 เพม่ิ ขนึ้ 21. เด็กหญงิ รัศมเ์ิ กลา้ สาเกตุ 35 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 22. เด็กหญิงอชริ ญา มโนหาญ 53 50 50 8 - 100 เพิ่มขึ้น 44 50 50 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น 23. เด็กหญิงกิตติกานต์ ชตุ ิวัตรพงศธร 44 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขึ้น 53 62.5 37.5 8 - 100 24. เด็กหญงิ บญุ ญาพร ทวะชาลี 53 25. เดก็ หญงิ วรดา จำรญู 26. เดก็ หญิงสชุ านนั ท์ วรรณโท 27. เดก็ หญงิ เมษา แซ่ล้ิม 28. เด็กหญิงปนิตา แสงจนั ทร์ 29. เดก็ หญิงกัญญาพัชร์ บุนนาค 30. เดก็ หญงิ พรสวรรค์ ละมัง่ ทอง 31. เดก็ หญิงศิรนิ ภัส ธัญญะวัน
24 คำถาม ก่อนสอบกลาง รอ้ ยละ กอ่ นสอบปลายภาค ร้อยละ ส่งงาน ภาค สง่ ไม่ส่ง สง่ ไม่สง่ สง่ ไม่สง่ เพ่ิมขึ้น กลุ่มตวั อยา่ ง ส่ง ไม่ส่ง 62.5 37.5 8 - 100 เพิม่ ขึ้น 75 25 8 - 100 เพิ่มขึ้น 32. เดก็ หญิงรตั ตกิ าล เกียรติเพม่ิ ทรัพย์ 5 3 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขึ้น 62.5 37.5 8 - 100 เพิ่มขน้ึ 33. เด็กหญิงนนั ท์นภัส สมปอง 6 2 50 50 8 - 100 เพม่ิ ขน้ึ 62.5 37.5 8 - 100 เพม่ิ ขึ้น 34. เด็กหญิงรชั วนิ ล่ืนภเู ขียว 53 75 25 8 - 100 เพิ่มขึ้น 75 25 8 - 100 เพ่มิ ขน้ึ 35. เด็กหญิงกัญญาภัค ปู่ตาล 53 75 25 8 - 100 36. เดก็ หญงิ เกณิกา เจอื จันทร์ 44 320 100 37. เด็กหญิงกัญญกร ชวี โมกข์ 53 38. เด็กหญงิ ลลติ า แซ่บุญ 62 39. เดก็ หญงิ ปุณณ์ภาพนั ธ์ อารยสุข 62 40. เด็กหญิงกุลพัชร บุษบงกช 62 รวม 198 122 ร้อยละ 61.88 38.12 จากตาราง 4.2 พบว่า ก่อนสอบกลางภาค ก่อนการเสริมแรงเชิงบวก สถิติการส่งงานของกลุ่มตัวอย่าง มี ตั้งแต่ร้อยละ 30 – 70 แต่ก่อนสอบปลายภาค หลังจากเสริมแรงทั้งทางบวกแล้ว กลุ่มตัวอย่างมีสถิติการส่งงานเพิ่ม และสง่ งานครบทุกชนิ้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตอนที่ 3 การนำการเสริมแรงทั้งทางบวกมาใช้กับการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพ่ือแก้ปัญหาไม่ส่งงาน ของผเู้ รียน
25 ตารางที่ 4.3 ความพึงพอใจต่อการเสรมิ แรงเชิงบวก ระดับความพึงพอใจ การช่ืนชม การให้ราง ัวลคูปอง การให้กำลังใจ การให้คำแนะนำ คำถาม ข้อเสนอแนะ กลมุ่ ตัวอย่าง 4534 5 5 5 5 อยากให้ครทู ำคลิปสอนเพิ่ม 1. เด็กชายชวี านนท์ สุขชัยพงศ์ 5544 4435 2. เดก็ ชายทฤษฎี วรรณพรม 4534 4555 3. เด็กชายชยกร ไทรนนทรี 3333 3333 4. เด็กชายอนริ ุทธ์ิ ไวยสุตรา 4435 4534 5. เดก็ ชายภูรชิ วศิ ษิ ฐ์ พึ่งสวุ รรณ 4555 3333 6. เดก็ ชายศภุ วิชญ์ นาคขำ 5554 4455 7. เด็กชายพนธกร อ่อนพลัด 4555 4453 8. เดก็ ชายจนั ฐกรณ์ พรหมะวรี ะ 3434 3 3 3 4 ทำกจิ กรรมกลมุ่ ทุกงาน 9. เดก็ ชายณฏั ฐพชั ร์ อำนาจธนากลุ 4553 4435 10. เด็กชายศรณั ยพงศ์ ภาวสุทธิ 5544 11.เดก็ ชายธนโชติ มณีโชติ 12. เด็กชายศรณั ยช์ ยั โชตริ ตั นมณี 13. เด็กชายอินทชา เท่ียงแท้ 14. เด็กชายภาธรธฤต พลคำมาก 15. เด็กชายธนดล กร่มิ กราย 16. เด็กหญงิ ณัฐวรา ศรอี ่วม 17. เด็กหญิงเบญญาภา เสนกองแกว้ 18. เดก็ หญิงอริศรา ศรีสงคราม 19. เดก็ หญิงกวสิ รา อนิ ทร์แจ้ง 20. เดก็ หญงิ ธรพร ทองคุ้ม 21. เด็กหญิงรศั มเิ์ กล้า สาเกตุ
ระดบั ความพึงพอใจ 26 ขอ้ เสนอแนะ คำถาม การช่ืนชม กล่มุ ตวั อยา่ ง การให้ราง ัวลคูปอง 22. เดก็ หญงิ อชริ ญา มโนหาญ การให้กำลังใจ 23. เด็กหญิงกติ ตกิ านต์ ชตุ วิ ัตรพงศธร การให้คำแนะนำ 24. เด็กหญงิ บุญญาพร ทวะชาลี 5555 25. เดก็ หญิงวรดา จำรูญ 5553 26. เดก็ หญงิ สชุ านนั ท์ วรรณโท 5 5 5 5 อยากให้สอนชา้ ๆ 27. เด็กหญิงเมษา แซล่ ิ้ม 4445 28. เด็กหญงิ ปนติ า แสงจันทร์ 4433 29. เด็กหญิงกัญญาพชั ร์ บนุ นาค 5554 30. เด็กหญิงพรสวรรค์ ละมงั่ ทอง 4445 31. เดก็ หญิงศริ ินภสั ธัญญะวัน 4433 32. เด็กหญิงรตั ตกิ าล เกียรติเพม่ิ ทรพั ย์ 5 5 5 5 ช่วงเวลาว่างอยากใชค้ อมพวิ เตอร์ 33. เด็กหญงิ นนั ท์นภสั สมปอง 4555 34. เด็กหญิงรชั วนิ ลน่ื ภเู ขยี ว 4445 35. เดก็ หญิงกัญญาภคั ปูต่ าล 5555 36. เด็กหญิงเกณกิ า เจือจนั ทร์ 5555 37. เดก็ หญงิ กัญญกร ชวี โมกข์ 5555 38. เด็กหญงิ ลลิตา แซ่บญุ 4445 4553 39. เดก็ หญิงปุณณ์ภาพันธ์ อารยสขุ 5 5 5 5 เพ่ิมรางวลั สง่ งานเร็ว 5 5 5 5 รางวัลประเภททุนการศึกษา 40. เด็กหญิงกุลพัชร บษุ บงกช 5 5 5 5 อยากให้มีเวลาเรียนนานๆ รวม 170 180 168 173 4.25 4.5 4.2 4.33 รวมคา่ เฉล่ยี
27 ตารางท่ี 4.4 การแปลผล ชว่ งคา่ เฉลยี่ ความหมาย 4.50-5.00 พอใจมากทสี่ ุด 3.50-4.49 พอใจมาก 2.50-3.49 พอใจปานกลาง 1.50-2.49 พอใจน้อย 1.00-1.49 พอใจน้อยทส่ี ุด จากตารางที่ 4.3 พบว่า การเสริมแรงทางบวก ของกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในภาพรวมรายด้านทุกด้าน อยู่ในระดับ มากที่สุด โดยเรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ การให้รางวัลคูปอง การให้คำแนะนำ การชื่นชม และ การให้ กำลงั ใจ ตามลำดบั ตารางที่ 4.4 คะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2/2565 ที่ ช่ือ-สกุล ก ข ค ง จ ช ซ ฉ รวม เกรด 10 20 10 10 20 10 80 20 100 1 ด.ช.ชวี านนท์ สุขชยั พงค์ 10 20 10 10 20 10 80 17 97 4 2 ด.ช.ทฤษฎี วรรณพรหม 10 20 10 10 17 10 77 20 97 4 3 ด.ช.ชยกร ไทรนนทรี 9 20 10 10 15 10 74 16 90 4 4 ด.ช.อนิรทุ ธ์ ไวยสุตรา 5 19 10 10 17 9 71 20 91 4 5 ด.ช.ภูรชิ วิศิษฐ์ พง่ึ สวุ รรณ 9 20 10 10 20 10 79 20 99 4 6 ด.ช.ศุภวชิ ญ์ นาคขำ 10 20 10 10 20 10 80 19 99 4 7 ด.ช.พนธกร อ่อนพลัด 6 16 7 10 15 10 62 17 79 3.5 8 ด.ช.จันฐกรณ์ พรหมะวีระ 9 16 7 5 10 10 57 14 71 3 9 ด.ช.ณฏั ฐพชั ร์ อำนาจธนากลุ 6 18 7 10 12 6 59 16 75 3.5 10 ด.ช.ศรัณยพงศ์ ภาวสุทธิ 10 20 7 10 12 10 69 17 86 4 11 ด.ช.ธนโชติ มณโี ชติ 9 16 7 10 12 10 64 20 84 4 12 ด.ช.ศรัณยช์ ัย โชติรตั นมณี 10 16 10 10 15 10 71 20 91 4 13 ด.ช.อินทชา เทยี่ งแท้ 10 20 10 10 14 10 62 19 81 4 14 ด.ช.ภาธรธฤต พลคำมาก 10 20 10 10 20 10 70 20 90 4 15 ด.ช.ธนดล กรมิ่ กราย 6 14 10 10 13 8 55 20 75 3.5 16 ด.ญ.ณัฐวรา ศรีอ่วม 10 20 7 10 12 10 59 16 75 3.5
28 ท่ี ชื่อ-สกุล ก ข ค ง จ ช ซ ฉ รวม เกรด 10 20 10 10 20 10 80 20 100 17 ด.ญ.เบญญาภา เสนกองแกว้ 10 16 10 10 10 10 66 20 86 4 18 ด.ญ.อริศรา ศรสี งคราม 10 20 10 10 20 10 80 18 98 4 19 ด.ญ.กวสิ รา อินทร์แจ้ง 10 16 10 10 12 10 68 19 87 4 20 ด.ญ.ธรพร ทองคุ้ม 10 20 10 10 14 10 74 17 91 4 21 ด.ญ.รศั มเ์ิ กล้า สาเกตุ 10 20 10 10 17 10 77 20 97 4 22 ด.ญ.อชริ ญา มโนหาญ 10 20 10 10 17 10 77 15 92 4 23 ด.ญ.กิตตกิ านต์ ชุตวิ ัตรพงศธร 10 20 7 10 13 10 70 17 87 4 24 ด.ญ.บุญญาพร ทวะชาลี 10 20 10 10 20 10 80 16 96 4 25 ด.ญ.วรดา จำรูญ 6 14 7 10 13 6 56 16 72 3 26 ด.ญ.สชุ านันท์ วรรณโท 6 14 7 10 13 6 56 19 75 3.5 27 ด.ญ.เมษา แซล่ ิ้ม 9 20 10 10 18 10 77 16 93 4 28 ด.ญ.ปนิตา แสงจนั ทร์ 8 15 10 10 12 9 65 12 77 3.5 29 ด.ญ.กัญญาพชั ร์ บุนนาค 10 20 10 10 14 10 74 19 93 4 30 ด.ญ.พรสวรรค์ ละม่งั ทอง 10 20 10 10 14 10 74 18 92 4 31 ด.ญ.ศิรินภสั ธญั ญะวนั 6 17 7 10 12 6 58 14 72 3 32 ด.ญ.รัตติกาล เกยี รติเพิ่มทรัพย์ 10 19 10 10 20 10 79 16 95 4 33 ด.ญ.นนั ทน์ ภสั สมปอง 10 20 10 10 20 10 80 20 100 4 34 ด.ญ.รชั วิน ลน่ื ภูเขียว 10 20 10 10 14 10 74 19 93 4 35 ด.ญ.กัญญาภคั ปู่ตาล 9 16 7 10 14 10 66 20 86 4 36 ด.ญ.เกณกิ า เจือจันทร์ 6 20 7 10 14 10 67 19 86 4 37 ด.ญ.กัญญกร ชวี โมกข์ 10 20 10 10 20 10 80 18 98 4 38 ด.ญ.ลลิตา แซบ่ ุญ 10 20 10 10 20 10 80 20 100 4 39 ด.ญ.ปณุ ณ์ภาพนั ธ์ อารยสขุ 10 20 10 10 17 10 67 19 86 4 40 ด.ญ.กลุ พชั ร บษุ บงกช 10 20 10 10 15 10 75 20 95 4 จากตารางท่ี 4.4 พบว่าคะแนน (ก) ก่อนวดั ผลกลางภาค และ (ง) คะแนนหลงั วัดผลกลางภาค ได้มาจากสถิติ การส่งงานก่อนและ หลังการเสริมแรง ส่วนคะแนน (ข) และ (ค) ได้มาจากการสอบทฤษฎีและปฏิบัติกลางภาค ซึ่ง
29 กลุม่ ตัวอย่างมคี ะแนนท่ีแตกต่างกนั แต่เมอ่ื เปรยี บเทียบกบั หลงั จากการเสรมิ แรงทางบวก แล้วคะแนนวดั ผลปลายภาค (ฉ) และ (ช) รวมกันจากกลางภาคเพมิ่ มากขึ้น คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ส่วน (จ) คะแนนจิตพิสัยทแ่ี ตกต่างกนั ได้มาจาก 12 ปัจจัย ดังนี้ 1. รับผิดชอบ 7. มีวนิ ัย 2. ขยัน 8. สะอาด 3. ประหยดั 9. สุภาพ 4. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต 10. เว้นอบายมขุ 5. จิตอาสา 11. กตญั ญู 6. สามัคคี 12. เชอื่ มั่นในตนเอง สรุปได้ว่า การเสริมแรงทางบวก ทำให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการส่งงานเพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 100 และมีผลสัมฤทธิ์ที่ บรรลคุ ่าเป้าหมายของสถานศกึ ษาทตี่ ัง้ ไว้ ร้อยละ 77.5 ของผู้เรยี นทม่ี ีเกรด 4
30 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเรื่องการแก้ปัญหาไม่ส่งงานวิชาคอมพิวเตอร์ โดยการเสริมแรงทางบวกด้วย คูปองสะสมแต้ม ผ่าน Bot Line ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อแก้ปัญหา ผู้เรียนไม่ส่งงานวิชาคอมพิวเตอร์ 2) เพื่อนำการเสริมแรงมาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน วิชา คอมพวิ เตอร์เพือ่ สามารถช่วยให้คำปรกึ ษา ช้ีแนะแนวทางแกไ้ ขปญั หาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเป็นรายบคุ คลได้ 3) เพื่อนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ให้ไดท้ ัง้ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนท่พี ึง ประสงค์และมีความสขุ ในการเรียนรรู้ ่วมกัน ประชากร คือ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนาง เจ้าสริ กิ ิต์ิพระบรมราชินนี าถ กลุ่มตัวอย่าง คอื ผ้เู รียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 40 คน โรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รติ ๖๐ พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ์พิ ระบรมราชนิ นี าถ ทตี่ อ้ งใช้การเสรมิ แรงทางบวกมาพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เครื่องมือทใี่ ช้ในการเกบ็ รวมรวบข้อมลู คอื การสังเกต บนั ทกึ สถติ ิการสง่ งาน การสมั ภาษณ์และคะแนนวัดผล วิชา การจดั การตน้ ทุนโลจิสติกส์ ซึ่งแบง่ เป็น 3 ตอน คอื ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลสว่ นตวั ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ตอนที่ 2 ขอ้ มูลเกีย่ วกบั การส่งงานวิชาคอมพวิ เตอร์ ตอนที่ 3 การนำการเสริมแรงมาใช้กับการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนกั ศกึ ษา การเก็บรวมรวบข้อมูล ผู้วิจัยได้สังเกตพฤติกรรม จดบันทึกสถิติการส่งงาน สัมภาษณ์รวมทั้งบันทึกคะแนน กอ่ น และหลงั การเสรมิ แรงดว้ ยตนเอง การวิเคราะหข์ ้อมูล ผวู้ ิจยั ใช้สถติ วิ เิ คราะห์ คอื ค่าร้อยละ สรุปผลการวิจัย จากการศกึ ษาคน้ ควา้ และวิเคราะหข์ อ้ มลู จากกลุ่มตวั อยา่ ง 7 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. ข้อมลู ส่วนตัวของกล่มุ ตวั อย่าง (สถานภาพครอบครวั เกรดเฉลีย่ สะสม และการพกั อาศัยในปจั จุบนั ) 1.1 สถานภาพครอบครวั พอ่ แมอ่ ยู่ร่วมกันมีค่ารอ้ ยละสูงสดุ ตำ่ สุด คอื พ่อ/แมเ่ สียชวี ติ 1.2 เกรดเฉล่ียสะสม 3.51-4.00 มากทสี่ ุด และ 3.01 – 3.50 น้อยท่ีสดุ 1.3 การพักอาศยั ปัจจบุ ัน อยรู่ ว่ มกันกับครอบครัวมากทส่ี ดุ และอยู่กับญาตินอ้ ยทส่ี ดุ 2. ข้อมลู เกีย่ วกับการสง่ งาน วิชาคอมพวิ เตอร์(สถติ กิ ารส่งงานก่อนและหลังการเสรมิ แรงเชงิ บวก) 2.1 กอ่ นการเสรมิ แรง (กอ่ นสอบกลางภาค) ส่งงานรอ้ ยละ 61.88 2.2 หลังการเสริมแรง (ก่อนสอบปลายภาค) ส่งงานเพม่ิ ขน้ึ ทกุ คน คิดเป็นร้อยละ 100
31 3. การนำการเสริมแรงทั้งทางบวก มาใช้กับการเรียนการสอน วิชาคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนไม่ส่งงานวิชา คอมพวิ เตอร์ พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (ความพึงพอใจตอ่ การเสริมแรง และคะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน) 3.1 ความพึงพอใจต่อการเสริมแรง - การเสรมิ แรงทางบวก ภาพรวมรายดา้ นทกุ ดา้ น อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด โดยเรยี งจากมากไปนอ้ ย ดังน้ี การให้ รางวลั คปู อง การให้คำแนะนำ การช่ืนชม และ การใหก้ ำลังใจ ตามลำดบั 3.2 คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วชิ าคอมพวิ เตอร์ จากผลการศกึ ษาพบว่า หลังจากการเสริมแรง ทางบวกแลว้ กลุ่มตัวอย่างมคี ะแนนสอบวัดผลปลายภาค (ฉ) และ (ช) เพมิ่ มากข้ึน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 อภปิ รายผล 1. จากผลการศึกษาข้อมูลส่วนตัวของกลุ่มตัวอย่าง (ด้านสถานภาพครอบครัว เกรดเฉลี่ยสะสม และการพัก อาศัยในปัจจุบัน) อภิปรายผลได้ดังนี้ คือ สถานภาพครอบครัว อายุ เกรดเฉลี่ยสะสม และการพักอาศัยในปัจจุบันที่ แตกตา่ งกัน ไมม่ ีผลตอ่ การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทาง การเรยี นของนักศึกษา 2. จากผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการส่งงาน วิชาคอมพิวเตอร์ (สถิติการส่งงานก่อนและหลังการเสริมแรง) อภปิ รายผลได้ดังนี้ กอ่ นการเสรมิ แรง (ก่อนสอบกลางภาค) มีสถิตกิ ารสง่ งาน รอ้ ยละ 61.88 เสรมิ แรง (กอ่ นสอบปลาย ภาค) มีสถิติการส่งงานมากขึ้น ร้อยละ 100 สอดคล้องกับงานวิจัยของ อิชยา จีนะกาญจน์ และสุวรี ศิวะแพทย์ (2554) ศกึ ษาเรื่องการใช้เทคนิคการเสริมแรงด้วยกิจกรรมต่อพฤติกรรมความไม่ใส่ใจการเรยี นของผู้เรียนประถมศึกษา ปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรยี นบา้ นกุรคุ ุ จงั หวดั นครพนม 3. จากผลการศึกษาการนำการเสริมแรงทั้งทางบวกมาใช้กับการเรียน การสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ความพึงพอใจต่อ การเสริมแรง และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน) อภิปรายผลได้ดังน้ี ความพึงพอใจต่อการเสรมิ แรงทางบวกดว้ ยการใหร้ างวลั คูปอง พึงพอใจมากทีส่ ุด คะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์(คะแนนวัดผลกลางภาคและปลายภาคเรียนที่ 2/2565) อภิปรายผลได้ดังนี้ ก่อนการเสริมแรงทางบวก (คะแนนวัดผลกลางภาค) มีคะแนนต่ำหรือน้อยกว่าหลังการเสริมแรงทางบวก (คะแนนวัดผลปลายภาค) หรือคะแนน หลังวัดผลกลางภาค ร้อยละ 100 สอดคล้องกับงานวิจัยของคงกฤช พิมพา (2557) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาความสนใจ ในการเรียนวชิ าการสรา้ งภาพสามมิติโดยการใชเ้ ทคนิคการเสริมแรงสำหรบั นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั ปที ี่ 1 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีพฒั นเวช ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช้ 1. ผู้วิจัยสามารถนำผลวิจัยไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกวิชาที่สอน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนไม่ส่ง งาน และพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นใหก้ ับผเู้ รยี นทกุ คน
32 2. ผู้สอนทุกท่านสามารถนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับรายวิชา และ ผเู้ รียนได้ 3. สถานศึกษา สามารถนำผลการวิจยั ไปพัฒนาเผยแพร่ ส่งเสริมกิจกรรมการเสรมิ แรงให้กับทุกหน่วยงานใน องค์กร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน เช่น การสนับสนุนรางวัลให้ผู้สอน การให้รางวัลทั้งในรูปของ เกียรติบัตร และเงินรางวัลให้กับบุคลากร หรือ อาจารย์ที่ใช้การเสริมแรงกับการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนา ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นใหก้ ับผ้เู รยี นอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธผิ ลได้ 4. นอกจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแล้ว การเรียนการสอนควรเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญก่อนมอบหมายงานควร สอบถาม ฟังความคิดเห็น และประเมินความพร้อมของผู้เรยี น ก่อนผลงานท่ีออกมาจะมคี ณุ ภาพ 5. จากการทำวิจัยครั้งนี้ การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคลได้รู้ถึงปัญหาของกลุ่มตัวอย่าง และสามารถช่วยให้ คำปรึกษา ช้แี นะแนวทางแกไ้ ขปญั หา ทำให้ทงั้ ผเู้ รียนและผู้สอนเกดิ ความพึงพอใจในการเรียนการสอนร่วมกันมากขึน้ ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครงั้ ต่อไป 1. ควรศกึ ษาประชากร และกลุ่มตัวอย่างสายชนั้ อ่ืนด้วย 2. ควรสร้างระบบให้รางวลั ทส่ี ะดวกและงา่ ยกว่านี้ เพราะผสู้ อนบางทา่ นไมเ่ คยใช้ Bot line
33 บรรณานกุ รม คงกฤช พิมพา. (2557). การพัฒนาความสนใจในการเรียนวิชาการสร้างภาพสามมิติโดยการใช้เทคนิคการ เสรมิ แรง สำหรับผเู้ รียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั ปีท่ี 1. วิจัยในชั้นเรียน วิทยาลยั เทคโนโลยพี ฒั นเวช. ดวงฤดี โปรติบุตร. (2559). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาโครงการ รหัส 2202 - 8501ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้กิจกรรมการให้คำปรึกษา. วิจัยในชั้นเรียน วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษายะลา. ธวัชัย ศุภดิษฐ์. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในระดับปริญญาโทของสถาบัน บัณฑิตพัฒ นบรหิ ารศาสตร์. งานวิจยั การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาสถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร.์ พิรุณโปรย ส าโรงทอง. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนภาษาไทย ของ ผู้เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ไดร้ บั การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์กบั การเรียนรู้ตามคู่มือครู. ปริญญา นิพนธ์มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. มูฮ าหมัดอัศฮาร์ โตะตันหยง. (2559). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาโครงการรหัส 3201 – 8501 ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ช้นั ปที ี่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้กจิ กรรมการให้คำปรึกษา. วิจัย ในช้ันเรยี น วทิ ยาลัยอาชีวศึกษายะลา. ละออ อุบลแย้ม. (2560). การปรับพฤติกรรมการส่งงานในรายวิชาการจัดการต้นทุน โ ล จิ ส ติ ก ส์โดย วิธีการให้รางวัลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2/9 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์. วิจัยในชั้น เรยี น วิทยาลยั เทคโนโลยีอรรถวทิ ย์พณิชยการ. วิวัฒน์ เจริญสุข. (2555). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาปฏิบัติการระบบควบคุมโดยใบงาน (Job sheet) ของนกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา วศิ วกรรมไฟฟ้า. งานวจิ ัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร.ี สมฤดี พิพิธกุล. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับสื่อประสม. วิทยานพิ นธ์มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. สุทธญาณ์ โอบอ้อม. (2557). การพัฒนาศักยภาพบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามแนว พระพทุ ธศาสนา. วทิ ยานพิ นธ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. อิชยา จีนะกาญจน์ และสุวรี ศิวะแพทย์. (2554). ผลของการใช้เทคนิคการเสริมแรงด้วยกิจกรรมต่อ พฤตกิ รรมความไม่ใส่ใจการเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ , 5 (2) , 195-197. บทความการดูแลสุขภาพ และเคล็ดลับเพื่อสุขภาพดี. ทฤษฏีการเสริมแรงพฤติกรรม.ค้นข้อมูล 19 มีนาคม 2562, จาก http : www.healthcarsthai.com วกิ ิพเี ดีย สารนกุ รมเสร.ี การเสรมิ แรง. ค้นข้อมลู 19 มีนาคม 2562 ,จาก th.wikipedia.org/wiki/33
34 ภาคผนวก
35 Open Chat เพ่อื แจ้งประชาสมั พนั ธ์กบั นกั เรยี น ป.5 ทุกคน เมนู Bot line เพ่ือให้ผู้เรียนและผปู้ กครองสามารถเขา้ ใช้หัวข้อผ่านริชเมนู
36 Bot line เพ่ือใหค้ ำแนะนำกบั นกั เรียน ป.5 เปน็ รายบุคคล
37 เมอื่ นักเรยี นส่งงานจะได้รับคูปองสะสมแตม้ เป็นแรงจูงใจ สะสมแต้มครบ 5 แต้ม จะได้รบั รางวลั ตวั อย่างคูปอง ตัวอย่างเกียรตบิ ตั รรางวัล
38 ประวัติผ้วู ิจัย ชื่อ – สกลุ นางสาวปยิ ะพร ล้มิ ขจรเดช วนั เดอื น ปีเกิด วนั ที่ ๗ พ.ย. ๒๕๒๘ วุฒิการศกึ ษา ปริญญาตรี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (วศ.บ) ปรญิ ญาโท ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต การบรหิ ารการศกึ ษา (ศษ.ม) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ สถานท่ีทำงานปัจจุบัน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: